(รา่ ง) แนวทางการการแจง้ เตอื นภัย ด้านการแพทย์และสาธารณสุข กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข งานเฝ้าระวังระบบประเมินสถานการณ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ ปีงบประมาณ 2564
แนวทางการแจ้งเตือนภัยดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2564 ท่ปี รึกษา ผ้อู านวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ รองผู้อานวยการกองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ 1.นายแพทย์วทิ ูรย์ อนันกลุ 2.นายแพทย์ประกิจ สาระเทพ คณะผจู้ ัดทา/บรรณาธกิ าร นกั วชิ าการสาธารณสขุ ปฏิบัติการ นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏิบตั ิการ 1.นายสบุ รรณ สงิ ห์โต นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัติการ 2.นายพงศ์พัทธ์ ชยั ชุมพล นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ัตกิ าร 3.นางสาวธนั ยานาถ อปุ ปัญญาคา 4.นางสาวณฏั ฐน์ รี คาดี พมิ พค์ รัง้ ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2564 จดั พมิ พโ์ ดย งานเฝ้าระวงั ระบบประเมนิ สถานการณ์ กองสาธารณสุขฉุกเฉนิ สานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ศนู ยป์ ฏิบัติการฉกุ เฉนิ ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ อาคาร 5 ชั้น อาคาร 7 สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ตาบลตลาดขวัญ อาเภอเมืองนนทบรุ ี จังหวัดนนทบุรี
คำนำ การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลกอย่างรวดเรว็ ส่งผลกระทบต่อการเกิดสาธารณภัยทั่วทุกมุมโลก มีความรุนแรงและฉับพลันในหลายมิติ ไม่เว้นแม้แต่ประเทศไทยที่ต้องเผชิญกับปัญหาสาธารณภัยหลายครั้ง ซึ่งในรอบทศวรรษท่ีผ่านมาสาธารณภัยที่เกิดข้ึนส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของป ระชาชนท่ีขาดทักษะในการ รบั มือกับภัยพิบัติ ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม และความมน่ั คงของประเทศ การพัฒนาระบบการแจ้งเตือนภัย เป็นขั้นตอนสาคัญของการเตรียมความพร้อมเพื่อลดความเส่ียง จากสาธารณภัย มีความจาเป็นอย่างมากในการนามาใช้เพื่อการติดตามสถานการณ์ การวิเคราะห์แนวโน้ม ของเหตุการณ์ สามารถเตรียมความพร้อมในการบริหารจัดการสาธารณภัยทุกระดับได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบการแจ้งเตือนภัย ยังเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจวางแผนการบริหารจัดการสาธารณภัย เพื่อการป้องกัน เพอ่ื ลดผลกระทบไดอ้ ย่างเหมาะสม สามารถลดความเสยี หายแก่ชีวติ และทรพั ยส์ นิ ทค่ี าดวา่ จะเกดิ ข้นึ ในอนาคต กองสาธารณสุขฉุกเฉิน สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข เป็นหน่วยงานท่ีมีภารกิจหลัก ในการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข เห็นถึงความสาคัญของการเตรียมความพร้อม ต่อการจัดการภาวะฉุกเฉินทุก All Hazards เพ่ือพัฒนาระบบระบบการแจ้งเตือนภัย นามาใช้เพ่ือการติดตาม สถานการณ์ การประเมินวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์ พร้อมทั้งแจ้งเตือนแก่ผู้บริหารและหน่วยงานที่เก่ียวข้อง เพือ่ พิจารณาตอบสนองต่อสถานการณ์ และเตรียมความพรอ้ มดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กองสำธำรณสุขฉกุ เฉิน สำนกั งำนปลัดกระทรวงสำธำรณสุข สิงหำคม พ.ศ. 2564 แนวทางการการแจง้ เตือนภยั ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กองสาธารณสขุ ฉุกเฉนิ สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ก
สำรบัญ หน้ำ ก คำนำ ข สำรบัญ 1 ระบบกำรแจ้งเตอื นภัยของประเทศไทย 1 2 1. การแจ้งเตือนภยั (Warning) 2 2. กรอบการแจง้ เตอื นภัยและการขบั เคลอ่ื น 3 3. กระบวนการเตือนภยั ของประเทศไทย 4 4. ระดบั การแจ้งเตือนภยั 5 5. ปฏิทนิ การเกดิ สาธารณภยั ในประเทศไทย 7 6. บทบาทหน้าท่ขี องหน่วยงานต่าง ๆ ดา้ นการแจง้ เตอื นภัย 7 แนวทำงกำรดำเนนิ งำนกำรแจ้งเตือนภัยด้ำนกำรแพทยแ์ ละสำธำรณสขุ 7 1. การแจ้งเตือนภัยดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 8 2. หน่วยงานรับผดิ ชอบดาเนินงานการแจ้งเตอื นภัย 8 3. กรอบแนวทางดาเนนิ งานการแจ้งเตอื นภยั 16 4. แนวทางการดาเนินงานการแจง้ เตือนภัยดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข 17 ภำคผนวก 17 ตวั อยำ่ งเกณฑก์ ำรประเมนิ ควำมเส่ยี งเพื่อกำรแจง้ เตอื นภยั (Trigger Warning) 17 1. อุทกภัยและดนิ โคลนถลม่ 18 2. ภยั จากภายุหมุนเขตรอ้ น 21 3. ภยั จากอัคคภี ัย 23 4. ภยั จากสารเคมแี ละวัตถุอนั ตราย 25 5. ภัยแลง้ และความร้อน 25 6. ภัยจากอากาศหนาว 26 7 ภยั จากไฟป่าและหมอกควนั 27 8. ภัยจากแผ่นดนิ ไหวและอาคารถลม่ 28 9. ภัยจากคลื่นสึนามิ 28 10. ภัยจากโรคระบาด 31 11 ภยั จากการชมุ นุมประท้วงและก่อการจลาจล หนว่ ยงำนทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับกำรแจง้ เตอื นภยั แนวทางการการแจง้ เตอื นภยั ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน สานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข ข
แนวทางการการแจงเตือนภยั ดานการแพทยและสาธารณสุข กองสาธารณสุขฉกุ เฉนิ สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ระบบการแจงเตอื นภยั ของประเทศไทย 1.การแจงเตอื นภยั (Warning) การแจงเตือนภัย (Warning) เปนการดําเนินการแจงเตือนภัยเพ่ือใหบรรลุวัตถุประสงค*ในการลดความ เสี่ยงจากสาธารณภัยท่ีจะเกิดขึ้น เพ่ือเตรียมความพรอม การป3องกัน และการลดผลกระทบ โดยการใหขอมูล ข7าวสารเก่ียวกับสาธารณภัยและการแจงเตือนภัยที่รวดเร็วไปยังพื้นที่และกลุ7มเป3าหมาย เพื่อใหหน7วยงานและ ประชาชนเตรียมความพรอมรับมือกับสาธารณภัยที่จะเกิดข้ึนไดอย7างทันท7วงที ท้ังนี้ การแจงเตือนภัยจะหมาย รวมถึงการแจงเตือนภัยล7วงหนา (Early Warning) ตั้งแต7การใหขอมูลข7าวสารท่ีเปนประโยชน*และทันเหตุการณ* ผ7านช7องทางต7าง ๆ ไปยังหน7วยงาน องค*กร และประชาชน เพ่ือใหหน7วยงานหรือบุคคลท่ีกําลังเผชิญความเสี่ยง ต7อการเกิดสาธารณภัยสามารถกระทําการอย7างใดอย7างหน่ึง โดยจะมุ7งเนนกระบวนการดําเนินการ ต้ังแต7ตนทาง ในการวิเคราะห* ประเมินความเสี่ยง เพื่อแจงเตือนไปยังหน7วยงานและประชาชน ใหมีความพรอมในการรับมือ กบั สาธารณภัย การดําเนินงานพัฒนาและขับเคล่ือนการดําเนินงานโดยมีคณะกรรมการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติ แหง7 ชาติ (กภช.) อาํ นาจหนาที่ดังนี้ 1) เสนอแนวทาง นโยบาย มาตรการ และแผนการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห7งชาติต7อคณะรัฐมนตรี 2) ใหความเห็นต7อคณะรัฐมนตรีในการพิจารณาอนุมัติเก่ียวกับแผนงานหรือโครงการและใหความเห็น เก่ียวกับวงเงินลงทุนของหน7วยราชการ เพ่ือดําเนินงานตามนโยบายและแผนการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติ แหง7 ชาติ 3) จัดทํามาตรการ แนวทาง แผนงาน และโครงการในการบริหารระบบการเตือนภัยพิบัติแห7งชาติ เพ่อื เปนกรอบในการดําเนนิ งานของหนว7 ยงานราชการท่ีเก่ยี วของ 4) เปนศูนย*กลางประสานงานกับคณะกรรมการอื่นที่แต7งตั้งข้ึนตามกฎหมายหรือตามมติคณะรัฐมนตรี และมีหนาทเี่ ก่ยี วของกับการบรหิ ารระบบการเตือนภัยพบิ ตั ิแหง7 ชาติ 5) เชิญบุคลจากหน7วยงานราชการและหน7วยงานอ่ืนของรัฐใหมาช้ีแจงหรือส7งขอมูลหรือสถิติใดๆ ที่เกยี่ วกับการดําเนนิ การตามระเบยี บน้ี 6) แต7งตงั้ คณะอนุกรรมการหรือคณะทํางานเพื่อปฏิบตั ิการตามที่ กภช. มอบหมาย 7) ออกระเบียบ ประกาศ หรือคําสง่ั เพอ่ื ปฏบิ ัติการตามระเบียบน้ี แนวทางการการแจงเตอื นภยั ดานการแพทยและสาธารณสขุ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉิน สํานกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 1
ขอที่ รายการ ระดับคะแนน ความพอเพยี งของอปุ กรณป* 3องกันและระงับอคั คีภัย (ปุ กรณ*ตรวจจบั ควัน (Smoke Alarm)) - มที กุ หลงั คาเรือนในเขตพืน้ ทป่ี ระเมนิ 0.40 - มมี ากกว7าครึง่ หนึง่ ของพ้ืนที่ประเมนิ 0.26 - มีมากกว7ารอยละ ๑๐ แตไ7 ม7เกนิ ครง่ึ หนงึ่ ของพื้นทป่ี ระเมนิ 0.13 - มนี อยกว7ารอยละ ๑๐ ของพนื้ ทีป่ ระเมนิ 0.00 3 ความเพยี งพอของอุปกรณ*สนับสนนกุ ารดบั เพลงิ ของเจาหนาที่ (ระดบั คะแนน ๑.๒๐ โดยหากมี มากกวา7 หน่งึ ขอ ใหนําคะแนนมารวมกัน) - ถังดบั เพลงิ แบบมอื ถอื สาธารณะ 0.30 - หวั จ7ายน้ําดับเพลงิ สาธารณะบรเิ วณเขตพน้ื ทปี่ ระเมนิ 0.30 - แหลง7 นาํ้ สาธารณะทส่ี ามารถนํามาใชดบั เพลงิ บรเิ วณเขตพน้ื ท่ปี ระเมิน (ภายในรศั มี ๕๐ เมตร) 0.30 - เคร่อื งสูบนํ้าดับเพลิงของชมุ ชน 0.30 4 มกี ารมสี ว7 นร7วมภาคประชาชนที่เก่ียวของกับอคั คีภัยในเขตพืน้ ทป่ี ระเมนิ เชน7 คนในชุมชนไดรบั 0.80 มอบหมาย ใหเปน อาสาสมัคร อปพร. 5 การจดั ใหมีบคลุ ากร อาสาสมคั รเฝ3าระวังภยั , อปพร., ประชาชนเฝา3 ระวงั ภยั มกี ารฝ…กซอมดานอคั คภี ยั 0.40 และสามารถแจงเหตเุ พลิงไหมได 6 อาคารท่กี ฎหมายควบคุมใหมีการตรวจสอบอาคารภายในเขตพน้ื ทปf]ระเมิน (ระดับคะแนน 0 ) - ผา7 นการตรวจสอบทุกอาคาร 0.00 - ผ7านการตรวจสอบมากกว†ารอยละ ๘๐ - 0.33 - ผ7านการตรวจสอบระหว7างรอยละ ๖๐ – ๘๐ - 0.66 - ผ7านการตรวจสอบนอยกว7ารอยละ ๖๐ - 1.00 7 ความสามารถในการลากสายดบั เพลิงยาวประมาณ 100 เมตร - เขาถึงทุกจดุ ในพ้นื ท่ีประเมนิ 0.80 - เขาถงึ ไดมากกวา7 คร่งึ หน่ึงของพน้ื ท่ปี ระเมนิ 0.53 - เขาถงึ ไดนอยกว7าครง่ึ หนึ่งของพน้ื ที่ประเมิน 0.26 ตารางแสดง นา้ํ หนกั คะแนนหลักเกณฑก* ารประเมนิ ศักยภาพดานการโตการเกิดอัคคีภยั (ระดบั คะแนน ๓) ขอที่ รายการ ระดับคะแนน 1 เวลาทรี่ ถดบั เพลิงใชในการเดนิ ทางมาถึงพนื้ ทปี่ ระเมนิ (ระดบั คะแนน ๑.๐) - ภายในเวลา ๘ นาที 1.00 - ระหวา7 ง ๘ – ๑๒ นาที 0.66 - ระหวา7 ง ๑๒ – ๑๕ นาที 0.33 - นานกวา7 ๑๕ นาที 0.00 2 ความถใ่ี นการซอมแผนป3องกนั และระงบั อคั คภี ยั ของประชาชนในเขตพื้นท่ีประเมิน (ระดบั คะแนน ๑.๐) - ป]ละหนึง่ ครัง้ หรอื มากกว7า 1.00 - สองปต] อ7 ครง้ั 0.66 - สามปต] 7อครั้ง 0.33 - มากกวา7 สามป]ต7อครง้ั 0.00 แนวทางการการแจงเตอื นภยั ดานการแพทยและสาธารณสขุ กองสาธารณสขุ ฉกุ เฉนิ สาํ นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ 20
Search