Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมุดเล่มเล็ก (2)

สมุดเล่มเล็ก (2)

Published by taugtawchanin, 2021-09-12 17:35:07

Description: สมุดเล่มเล็ก (2)

Search

Read the Text Version

¹ Ò Â ª Ô¹ ¹ · Ã à ×· Í ¡ á ¶ Ç 6 1 0 2 1 0 0 0 4 แ ห ล่ ง เ รี ย น รู้ ภ า ย ใ น จั ง ห วั ด น่ า น ONCE UPON A TIME AT NAN

ʶҹ·èÕ ÊÊÒÒÃúºÑ­Ñ­ ˹ŒÒ ÊÒúѭ ก 1.Ç´Ñ ÀÁÙ ¹Ô ·Ã 1 2.ÇÑ´¾ÃиҵÔ᪋áˌ§ 4 6 3.¾¾Ô Ô¸Àѳ±Ê¶Ò¹áˋ§ªÒµ¹Ô ‹Ò¹ 9 4.ºÍ‹ à¡ÅÍ× âºÃÒ³ 11 5.àÊÒ´Ô¹¹Ò¹ÍŒ  (΋ÍÁ¨Í Á) 13 áÅФ͡àÊ×Í 6.âΧà¨ÒŒ ¿Í§¤Òí 15 17 (The Noble House) 7.Ç´Ñ Ë¹Í§ºÇÑ 8.ÇÑ´ÈÃÕ¾¹Ñ µ¹Œ -¡-

วั ด ภู มิ น ท ร์ -1-

วดั ภมู นิ ทร์ แหลงเรียนรูประเภท: ศาสนา-ความเชอ่ื ,สถาปตยกรรม ที่ต้งั : ถนนสรุ ิยพงษ อําเภอเมืองนาน จงั หวัดนา น เบอรโ ทรศพั ทตดิ ตอ 054-521127, 054-771-897 วันเวลาทําการ 6.00 – 18.00 ทุกวัน ประวัติความเปนมา: เดมิ ช่อื “วัดพรหมมินทร” เปน วดั หลวงต้ังอยู ในเขตพระนคร ตาํ บลในเวียงในปจ จบุ ัน เจาเจตบุตรพรหมมนิ ทร ๏สรา งเมอื่ ป พ.ศ. 2139  ตอมาอีกประมาณ 300 ป มีการบูรณะ คร้งั ใหญในสมัยเจาอนนั ตวรฤทธ์เิ ดช เมื่อ พ.ศ.2410 (ปลายสมยั รชั กาลท่ี4)  ใชเวลาซอมแซมนานถงึ   7 ป จติ รกรรมฝาผนงั ใน วิหาร หลวงเขยี นขึ้นในชวงนี้ ภาพจติ รกรรมหรอื “ฮูบแตม” ในวดั ภมู ินทรเปน ชาดกในพทุ ธศาสนา แตถ าพิจารณารายละเอยี ดของวิถี ชีวิตของคนเมืองในสมยั นน้ั มีภาพท่ีนา สนใจอยหู ลายภาพที่เดน ชดั คอื ภาพปมู า นยามาน ซึ่งเปน คําเรียกผูช ายผูหญิงชาวไทล้อื ในสมยั โบราณกระซบิ สนทนากนั ผูชายสักหมึก ผหู ญิงแตงกายไทล้ืออยา ง เตม็ ยศ ภาพวาดของหนุม สาวคูน ี้มคี วามประณตี มาก ภาพนีไ้ ดรบั การยกยอ งวา เปนภาพท่ีงามเปนเยย่ี มของวัดภมู นิ ทร จุดเดนของวัด ภูมินทรท เ่ี ปนหน่ึงเดยี ว คอื   เปน วัดทส่ี รางทรงจตั ุรมขุ หนง่ึ เดียวใน ประเทศไทยท่ีดคู ลายตั้งอยบู นหลังพญานาคขนาดใหญ  2 ตวั แหน พระอโุ บสถเทินไวก ลางลาํ ตวั ตรงใจกลางพระอุโบสถจัตรุ มุข ประดษิ ฐานพระพทุ ธรปู ขนาดใหญ  4 องคห ันพระพกั ตรออกดาน ประตทู ง้ั ส่ีทศิ หันเบอ้ื งปฤษฏาคชนกนั ประดับนั่งบนฐานซกุ ชี เปนพระพุทธรปู ปางมารวิชยั \"คาํ ฮกั นอ้ ง กูปจักเอาไวใ้ นนาํ ก็กลวั หนาวจกั เอาไวพ้ ืนอากาศกลางหาว กก็ ลัวหมอกเหมยซอน ดาวลงมาคะลุมจกั เอาไปใส่ในวงั ขว่ งคุ้ม ก็กลวั เจ้าปะใสแ่ ลว้ ลู่เอาไปกเ็ ลยเอาไวใ้ นอกในใจตัวชาย ปนี จกั หอื มันไหอ้ ะฮิอะฮยี ามปนอนสะดุ้งตนื เววา…\" -2-

ประโยชน 1.เปน แหลง เรยี นรวู ถิ ีชวี ิต วฒั นธรรมสมยั กอ นผา นจิตรกรรมฝาผนงั 2.เปน แหลงเรียนรเู ก่ยี วกับความเชื่อ ความศรทั ธาทางศาสนาของคนในพืน้ ที่ 3.เปน แหลง เรียนรพู ิธกี รรมทางศาสนา การบรู ณาการในการจัดการเรียนการสอน 1.กลุมสาระการเรยี นรสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม -สาระพระพทุ ธศาสนา ในสวนของพิธีกรรมทางศาสนา -สาระประวตั ศิ าสตร ในสวนของการเรียนรวู ิถีชวี ิตผูคนในอดตี 2.กลุม สาระการเรยี นรูศ ลิ ปะ ในเรือ่ งของการฝก วาดรปู จิตรกรรมและลาย เสน ในแบบลา นนา -3-

่ีท ้ัต ง 8 9 ม ห า พ ร ห ม ํตา บ ล ผ า ิส ง ห ํอา เ ภ อวั ด พ ร ะ ธ า ตุ แ ช่ แ ห้ ง เ ืม อ ง น า น น า น 5 5 0 0 0 แหลง เรียนรูป ระเภท: ศาสนา-ความเช่ือ,สถาปตยกรรม ชนียสถานที่สําคัญของเมืองนานมีอายุกวา 600 ปตามพงศาวดารเมืองนาน กลาววา พญาการเมืองโปรดเกลาใหสรางข้ึนเพ่ือบรรจุพระบรมสารีริกธาตุท่ีไดมา จากเมืองสุโขทัยระหวางปพ.ศ.1891-1901 สถาปตยกรรมดานโบสถของวัดพระ ธาตุแชแหงที่สาํ คัญและแสดงใหเห็นถึงแบบอยางสถาปตยกรรมและศิลปกรรมสกุล -4-ชางนาน แยกออกเปน 2 แหง ไดแก

2. เจดียว ัดพระธาตุแชแ หง พระธาตแุ ชแหง ตง้ั อยู ทางฝงตะวนั ออกของแมนา้ํ นาน เปนพระธาตทุ ่บี รรจุ พระบรมสารีรกิ ธาตุ ตามประวตั ิสรา งเม่อื พ.ศ. 1896 อายุราว 600 ปเ ศษ องคพ ระธาตุแชแ หง เปนพระธาตุ ที่มีขนาดสงู ถึง 55.5 เมตร ตง้ั อยูบนฐานส่เี หลี่ยมจัตุรสั กวา งดา นละ 22.5 เมตร มีสีเหลืองอราม เนอ่ื งจากบุ ดว ย แผนทองเหลอื ง พระธาตุน้ี ตั้งอยู บนยอดดอยภู เพียงแชแ หง ลักษณะของเจดยี ทรงระฆงั สว นฐานทาํ เปนฐานหนากระดานส่ีเหลี่ยมขนาดใหญ รองรับฐาน บัวลกู แกวยอเก็จ ถดั ขึน้ ไปเปนฐานหนากระดาน สี่เหลย่ี มและแปดเหลี่ยม ซอ นลดหลั่นกัน 3 ชั้น องค ระฆงั มขี นาดเล็ก บัลลงั กทาํ เปน แทนสีเ่ หลีย่ มยอ เกจ็ ฐานหนากระดานกลม เปน กระดานสี่เหลย่ี มและแปด เหลย่ี ม และชั้นบวั ควํ่าเหนอื ฐานแปดเหล่ียมตกแตง คลา ยกลบี บัว หรอื ลายใบไม แทนลายดังกลาวนีค้ งได รับอทิ ธิพลจากศลิ ปะพมา ซงึ่ นํามาตอ เติมขึ้นภายหลงั 1. วหิ ารหลวง อยูทางดานทศิ ใตข ององคพระ เมื่อลวงเขา พทุ ธศตวรรษที่ 24 แลว ปชู นียสถาน ธาตุเปน วิหารขนาดใหญ 6 หอง หองกลางมีขนาด ศักด์สิ ทิ ธคิ์ บู านคูเมืองนา นมาชา นาน ทุกปเ ม่อื ถงึ วนั 3 หอ ง และตอชัน้ ลดออกไป ทางดา นหนา 2 หอ ง ข้นึ 11-15 ค่ํา เดอื น 6 เหนือ (เดือน 4 ใต) หรอื และดานหลงั 1 หอง ดงั น้ันหากดจู ากภายนอก จะ ในราวเดอื น มี.ค. จะมีประเพณนี มัสการพระธาตุแช มองเห็นเปนอาคารขนาดใหญ หลังคาลาดต่ําลง แหง ท่ีชาวนานเรียกวา งานหกเปง นมสั การพระธาตแุ ช มาเปนชั้นซอน ดานละ 3 ชั้น และมชี ั้นลดดา น แหง ที่สาํ คัญ เปน พระธาตปุ ระจําปเถาะ ตามคติการ ไวพ ระธาตุตามปนกั ษตั รของชาวลา นนา หนา 2 ชัน้ ดา นหลัง 1 ชั้น มีประตทู างดา นหนา ประโยชน และดา นขางตรงกลาง ท่นี าสนใจคือ ตรงกลางสัน หลงั คา ทําเปนสวนหางของนาคสองตัว เก่ยี วกระ 1.เปนแหลง การเรียนรูวฒั นธรรม หวัดกันขึน้ ไปเปนสามชั้น เปน ศิลปกรรมที่งดงาม 2.เปนแหลงเรียนรูพิธกี รรมทางศาสนา และหาดไู ดย ากวหิ ารพระนอน อยทู างดานหนา การบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอน นอกกําแพงแกว ขององคพ ระธาตุ วหิ ารกอสรา ง 1.กลมุ สาระการเรยี นรูสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ในเรือ่ งของการเรยี นรพู ธิ กี รรมทางศาสนา ตามแนวยางขององคพ ระ มปี ระตทู างเขา ดา น 2.กลุม สาระการเรียนรศู ลิ ปะเก่ยี วกับสถาปต ยกรรมไทย หลัง คอื ทศิ ใต -5-3.กลมุ สาระภาษาไทย เร่อื งคาํ ศพั ทเกย่ี วกบั ศาสนา

 ที ตั ง อ ยู่ ใ น บ ริ เ ว ณ คุ้ ม ข อ ง อ ดี ต เ จ้ า ผู้ ค ร อ ง น ค ร น่ า น ถ น น ผ า ก อ ง ตํา บ ล ใ น เ วี ย ง อํา เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด น่ า น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ น่ า น -6-

แหลง เรียนรูประเภท: สถาปตยกรรม พิพิธภณั ฑสถานแหงชาตินา นเปนพิพิธภณั ฑสถานแหงชาติ ประจําจงั หวดั นานเม่ือเจามหาพรหมสรุ ธาดาเจา ผคู รองนครนาน องคสุดทายถึงพิราลยั เจา นายบตุ รหลานของเจา ผคู รองนครนา น จึงไมมอบหอคาํ หลังนีพ้ รอ มที่ดนิ ทั้งหมดใหแ กร ฐั บาลเพื่อใชเ ปน ศาลากลางจังหวดั นาน ปพทุ ธศกั ราช 2475 ตอ มาเม่ือกระทรวง มหาดไทยไดก อ สรา งศาลากลางจังหวัดขึน้ ใหมกรมศลิ ปากรจงึ ได ขอรับมอบอาคารหอคาํ เพ่ือใหเปน สถานทจี่ ัดตงั้ พิพิธภณั ฑสถาน แหง ชาตนิ านขนึ้ ในปพทุ ธศกั ราช2517 และประกาศจัดต้งั เปน พพิ ิธภณั ฑสถานแหงชาตนิ านขนึ้ ในปพ ทุ ธศกั ราช2528อยางเปน ทางการ ภายหลังการจดั แสดงเสร็จสมบูรณแ ลวสมเดจ็ พระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ไดท รงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ เปนองคป ระธานประกอบพิธีเปด และให ประชาชนเขา ชมอยา งเปน ทางการเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม 2530 ภายในแบงสวนการจดั แสดงเปน 2 ชน้ั คอื ชัน้ บน จัดแสดง เกย่ี วกับเร่ืองโบราณคดีและประวัตศิ าสตรท องถ่ิน แบงเปน 3 สวน ไดแก  1.หองโถงใหญ  เคยเปน ทอ งพระโรงสําหรับเสด็จออกวา ราชการ ของเจาผคู รองนครจัดแสดงขอ มลู ทางภูมริ ฐั ศาสตรของจังหวัด นา น การสรางบา นแปงเมืองหลักฐานศลิ าจารกึ ลําดับเชอ้ื สาย ของเจา ผูครองนคร เคร่ืองใชสวนพระองค ภาพถา ยโบราณ เงินตราและอาวุธ  -7-

2. หองปก อาคารและเฉลยี ง จัดแสดงเรอ่ื งราวดา นโบราณคดแี ละประวัติศาสตรศลิ ปะ ตั้งแตส มยั กอ น ประวัติศาสตร ท่ีปรากฎรองรอยหลกั ฐานการอยอู าศัยของมนุษยใ นพ้นื ที่จังหวัดนาน แหลง โบราณคดี และโบราณวตั ถุจากการขดุ คนในพื้นที่เก็บกักนํ้าบริเวณเหนอื เข่อื นสิรกิ ิต์ิ เครือ่ งถวยจากแหลง เตาเผา ในจังหวัดนาน ศิลปะสโุ ขทยั และศิลปะลานนาที่กอ ใหเ กิดแนวคดิ งานศลิ ปกรรมสกุลชา งเมืองนา น 3. หองจดั แสดงงาชางดาํ ซง่ึ เปน สมบตั ลิ ้ําคาคบู านคเู มอื งนา นมาแตโบราณ ช้นั ลา ง แบง เปน 2สว น ไดแ ก 1.หองโถง จัดแสดงเร่อื งราวดา นชาติพันธุวิทยาเกี่ยวกบั วิถชี วี ิตความเปน อยูข องภาคเหนอื มกี ารจําลองลกั ษณะ บา นเรอื น รา นนํ้า หองนอน ครวั ไฟ เคร่อื งใชชวี ิตใน ประจําวนั การทอผา และตัวอยางผา พืน้ เมอื งแบบตางๆ รวมถึงเร่อื งประเพณีความเช่ือการแขงเรอื ยาว และงานสงกรานต เปน ตน   2.เฉลียงดา นหลังและปก อาคารจัดแสดงเร่ือง ราวชวี ิตความเปน อยูของเผาชนตางๆ ใน จังหวดั นาน อาทิ ไทลื้อ แมว เยา ชนเผา ตอง เหลอื ง สุดทา ยเปนหองทร่ี ะลกึ และหอ งเชดิ ชู เกียรตศิ ิลปนแหงชาติชาวจังหวัดนาน ประโยชน 1.เปน แหลงการเรยี นรูวัฒนธรรม 2.เปนแหลง โบราณคดีทม่ี ีคณุ คาทาง ประวัตศิ าสตรอยา งมากเน่ืองจากเปน แหลง รวมโบราณวัตถุของเมืองนานไว 3.เปนแหลง เรียนรูวถิ ชี ีวิตของชาวนา นใน อดีต การบรู ณาการในการจดั การเรียนการสอน 1.สาระการเรียนรสู ังคมศึกษาหวั ขอ ประวัติศาสตร เกยี่ วกบั ประวัติศาสตรทอ งถน่ิ 2.สาระการเรยี นรูการงานอาชพี และ เทคโนโลยี ในเร่ืองของเครือ่ งมอื เครื่องใชจ าก -8- ภมู ิปญ ญาบรรพบรุ ุษ

บ่ อ เ ก ลื อ โ บ ร า ณ ที ตั ง : บ้ า น บ่ อ ห ล ว ง ห มู่ 1 ต . บ่ อ เ ก ลื อ ใ ต้ อ . บ่ อ เ ก ลื อ จ . น่ า น ห่ า ง จ า ก ที ว่ า ก า ร อํา เ ภ อ บ่ อ เ ก ลื อ อ ยู่ ร า ว 6 0 0 เ ม ต ร แหล่งเรยี นรูป้ ระเภท: ธรรมชาติ -9-

ท่รี ะบุวา พระเจาสรุ ิยพงษผรติ เดช(เจาผคู รองนคร นาน องคท ่ี 63 แหงราชวงศหลวงติ๋นมหาวงศและ เปนตน ราชสกลุ ณ นาน)ไดแ ตงรวบรวมขึ้นไว มขี อความกลาวถงึ แหลง ผลิตเกลือทสี่ ําคญั แหงน้ี เปนสาเหตทุ าํ ใหพระเจาตโิ ลกราชแหง เมอื ง เชียงใหม( กษัตริยล า นนาแหงราชวงศม งั ราย องคท ี่ 6 พระนามเดิมคือเจา ลก ซงึ่ คําวา ลก ใน ภาษาไทเดมิ หมายความวา อนั ดบั ท่6ี ) ยกทัพเขา มาตยี ดึ เมอื งนา นเม่อื พ.ศ.1993 สําหรบั การผลติ เกลือท่ีบานบอหลวงน้นั ยังไมแ นช ัดวามกี ารผลติ กัน มาต้ังแตสมัยใด แตมีหลกั ฐานทางโบราณคดีตางๆ เชน เครือ่ งถวย, ศลิ าจารึก, พระพุทธรูป ท่ยี ืนยันวาชุมชนทผี่ ลิตเกลอื ทบี่ า นบอ หลวงมคี วาม เจรญิ รงุ เรอื งคาดวานาจะเปนชวงพุทธศตวรรษท่ี 21 เปน ตน มา บอ เกลอื โบราณบานบอ หลวง มีหลักฐานทาง ประโยชน ธรณวี ิทยาและมีการสันนษิ ฐานเอาไววา บริเวณแหง 1.เปน แหลงผลิตเกลือท่ีสาํ คัญของชุมชน นมี้ กี ารตกตะกอนของน้ําทะเลในยุคเพอรเนยี น 2.เปนแหลง ทองเท่ยี วทยี่ อดนยิ มของนกั ทองเทยี่ ว (PERMIAN) โดยเปนยคุ สุดทายในมหายคุ พาลีโอโซ 3.เปนแหลงเรียนรูการกําเนิดเกลือโดยธรรมชาติ อกิ (PALEOZOICERA) (ระหวา ง 250-299 ลา นป 4.เปนแหลงเรียนรวู ถิ ีชีวิตคนในพ้นื ที่ การบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน มาแลว ) มีชน้ั เกลอื หนิ ใตด นิ หรอื เปนโดมเกลอื หินอยู ในบรเิ วณนจ้ี นขดุ ไปเจอบอนํ้าทมี่ ีรสชาติเค็มผุดออก 1.กลมุ สาระการเรียนรูว ิทยาศาสตรในเรอื่ งการผลติ มาจากใตดนิ จนทําใหเกิดการผลติ เกลอื จากบอน้ํา เกลือจากบอ เกลอื ธรรมชาตซิ ึ่งถอื เปนปรากฎการณ เค็มบริเวณนี้ ซงึ่ ปจจบุ นั เหลอื อยเู พยี งไมกีบ่ อเทา น้นั ธรรมชาตทิ ห่ี าชมไดย าก และบอ นาํ้ เคม็ นยี้ ังคงมนี ํ้าผุดขน้ึ มาอยูตลอดเวลา ซงึ่ 2.กลุมสาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพในสวนของ ไมเคยเหือดแหง เลย อําเภอบอเกลอื เดมิ น้นั มชี ื่อวา อาชพี ในชมุ ชน “เมืองบอ”หมายถงึ บอ นํ้าเกลือสินเธาวท ี่เดิมมีอยู 9 บอแตเ ดิมเปนชมุ ชนขนาดใหญแ ละมีหลักฐานทาง ประวตั ศิ าสตรพ งศาวดารเมอื งนา น -10-

เ ส า ดิ น น า น้ อ ย ( ฮ่ อ ม จ๊ อ ม ) แ ล ะ ค อ ก เ สื อ ที ตั ง : ตํา บ ล เ ชี ย ง ข อ ง ห่ า ง จ า ก ตั ว เ มื อ ง น่ า น 6 0 กิ โ ล เ ม ต ร จ า ก อํา เ ภ อ น า น้ อ ย มี ท า ง แ ย ก ไ ป ต า ม เ ส้ น ท า ง ห ม า ย เ ล ข 1 0 8 3 ป ร ะ ม า ณ 6 กิ โ ล เ ม ต ร -11-

แหลงเรยี นรปู ระเภท: ธรรมชาติ เสาดนิ นานอ ย (ฮอ มจอม) และคอกเสอื  เปน เสาดินทม่ี ีลกั ษณะ แปลกตาคลา ย “แพะเมืองผ”ี  ทจี่ ังหวดั แพร จากหลกั ฐานทาง ธรณวี ทิ ยา พบวาเสาดนิ นานอ ยเกดิ จากการเคลื่อนตัวของ เปลือกโลกในยคุ เทอรเชียรตี อนปลาย (latetertian) ประกอบ กบั การกัดเซาะของนํ้าและลมตามธรรมชาต ิ นักธรณวี ิทยา สนั นษิ ฐานวามีอายุประมาณ 30,000-10,000 ปมาแลว เคยเปน กน ทะเลมากอนและจากหลักฐานการคน พบกําไลหนิ และขวาน โบราณท่นี  ี่ (ปจจุบนั เกบ็ รักษาอยูท่ีพิพธิ ภณั ฑสถานแหงชาติ นา น) แสดงใหเ หน็ วา บริเวณนอี้ าจเคยเปนแหลง อาศยั ของมนษุ ย ยคุ หนิ เกา จากเสาดินนานอ ยประมาณ 300 ม. จะพบกบั คอก เสอื ซึ่งมีลกั ษณะเปนแอง ลกึ จากเนนิ ดนิ ดา นบนประมาณ10 ม.มี ทางลงไปชมปฎมิ ากรรมดนิ ทีอ่ ยดู านลา ง เมอ่ื ลงไปจะพบวา บริเวณรอบ ๆ มีลักษณะเปนหุบผาเปนฉากมา นขนาดใหญม รี ว้ิ ลายเปน รองยาว รวมถงึ มแี ทงดินรูปรางตางๆ กระจดั กระจายอยู ภายในเหมือนกับท่ีเสาดินนานอย ในสมยั กอ นนั้นมีการกลาววา บรเิ วณนี้มีเสืออาศัยอยเู ปนจาํ นวนมาก ซ่ึงมาขโมยเอาววั ควาย และหมขู องชาวบา นที่เลี้ยงไวก นิ เปนอาหารชาวบา นจงึ รวม กาํ ลังไลต อ นเสอื ใหตกลงไปในบอ ดินดังกลา ว แลว ใชก อ นหินและ ไมแหลมขวา งและทิม่ แทงเสือจนตาย จงึ เรียกบริเวณนวี้ า “คอกเสอื ”แมวาจะมพี ้นื ท่นี อ ยกวา ประมาณ 10 ไร แตมีความ งดงามเฉพาะตวั แตกตางไปจากที่เสาดนิ นานอ ย ประโยชน 1.เปนแหลง เรียนรทู างวิทยาศาสตรในสว นของธรณีวทิ ยา 2.เปนแหลงเรียนรูป ระวตั ิศาสตรข องพ้นื ที่ การบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน 1.กลุมสาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร เร่อื งของปรากฎการณ ทางธรรมชาตทิ ่ีมีผลตอสภาพแวดลอมในพื้นท่ี และศึกษาการกาํ เนิดดินและหนิ -12-

โ ฮ ง เ จ้ า ฟ อ ง คํา (THE NOBLE HOUSE) ีท ัต ง ถ น น สุ ม น เ ท ว ร า ช ซ อ ย 2 เ มื อ ง น่ า น ํอา เ ภ อ เ มื อ ง น่ า น น่ า น 5 5 0 0 0 แหลง เรยี นรูป ระเภท: สถาปต ยกรรม ต้งั อยใู นพนื้ ท่ซี ่งึ แตเดมิ คอื คุมของเจาศรีตมุ มา (หลานเจา มหาวงศเ จาผูครองนครนา นองคท่ี 6) และอยตู ิดกบั คมุ แกว ซึง่ เปน ทพี่ าํ นกั ของเจาผูครองนครนานในเวยี งเหนอื เมอ่ื เจาอนันตวรฤทธเิ ดชฯ (เจา ผคู รองนครนา น องคท ี่ 12) ยายกลบั มายังเมอื งนานปจ จบุ นั คุมแกวจงึ ถกู ทิ้งรา งไป หลงั จากน้ัน เจา บญุ ยืน (ธดิ าคนสดุ ทายของเจา ศรีตมุ มากบั เจา มะโน (หลานของเจาอนันตวรฤทธเิ ดชฯ) ไดย า ยตัวโฮงลงมาสรางในพนื้ ทคี่ ุม ของเจาศรตี มุ มา หลังจากน้ันบา น หลังนีไ้ ดต กทอดมายงั เจา ฟองคาํ (ธดิ าของเจา บุญยนื กบั เจาอนิ ตะ) นางวสิ ิฐศรี (ธิดาคนสุดทองของเจาฟองคํา) และนายมณฑล คงกระจาง ตามลาํ ดับ -13-

ตวั โฮงน้ี เมือ่ ยา ยมาจากคุม แกว หลังคามงุ ดว ยแปน เกล็ด (หรือไมเ กล็ด) ตอ มาในป พ.ศ. ๒๔๖๗ ไดม ีการร้ือและสรา งข้นึ ใหม โดยใชกระเบ้อื งดนิ ขอแทนแปน เกลด็ และใชว ัสดเุ ดิมเปน สว นใหญ แต เดิมน้ัน ไมทถี่ ูกนํามาเปนวสั ดสุ รา งตวั บานนัน้ เปนไมสกั ทีท่ ําการผาและซอ มถากดว ยขวานและมดี เพราะในสมัยนั้นยังไมมเี ลือ่ ยขนาดใหญ ดงั น้ัน การประกอบตัวเรอื นจึงไมไดใ ชต ะปู แตจะใชว ธิ ีเจาะ ไมแ ละเขา ไม โดยใชส ลักไม ซงึ่ จะสามารถมองเห็นรอ งรอยทมี่ ีเหลอื อยูในสว นตาง ๆ ของตัวบา น พ้นื ท่ชี ั้นบนเปนท่พี ักอาศยั และพิพธิ ภณั ฑทองถน่ิ จัดแสดงวิถชี วี ิตในอดีตและของโบราณทีม่ คี ุณคา เชน เครอ่ื งเงนิ และผาทอ เปนตน โฮงเจาฟองคาํ เปน ตวั อยา งของการอนุรกั ษบ า นไมเ กาดว ยการปรบั เปลีย่ นการใชส อยใหเหมาะ สมกับสภาพสังคมและเศรษฐกจิ ในปจ จุบนั อีกท้งั เปน ทัง้ พพิ ิธภณั ฑทอ งถ่ินท่มี ีชวี ิตซ่งึ มีสวนชวย รักษามรดกวฒั นธรรมของชาวนา นโดยเฉพาะการทอผา พ้ืนเมืองไวไดอ ยางนาชื่นชม จนไดรับ รางวัลอาคารอนรุ ักษสถาปตยกรรมดเี ดน ประเภทบา นพกั อาศัย (คมุ เจา ) ประจําป 2555 จาก สมาคมสถาปนิคสยาม ประโยชน 1.เปนแหลงการเรยี นรูวัฒนธรรม 2.เปน แหลง โบราณคดที ม่ี ีคณุ คาทาง ประวตั ิศาสตรอยา งมากเนอ่ื งจากเปน แหลง รวมโบราณวัตถุของเมอื งนานไว 3.เปน แหลง เรยี นรูว ิถชี วี ติ ของชาวนาน ในอดีต การบรู ณาการในการจัดการเรยี นการสอน 1.กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา -สาระประวัตศิ าสตร ในสว นของการเรยี น รูวถิ ชี วี ติ เมอื งนานในอดตี 2.กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชีพ ในเรอ่ื งของเครื่องมือเครื่องใชจากภมู ปิ ญ ญา บรรพบุรุษ -14-

วั ด ห น อ ง บั ว ีท ัต ง ห ูม่ 5 ต . ป า ค า อ . ่ท า วั ง ผ า จ . น่ า น 5 5 1 4 0 วัดหนองบัวเปน วดั ทีเ่ กาแกประจําหมูบ านหนองบวั ต. ปา คา อ. ทาวังผา จ. นา น จากคําบอกเลาไวเดมิ วัดหนองบัวตั้งอยูท ี่รมิ หนองบวั (หนองนํ้าประจําหมบู า น) ซงึ่ อยูห า งจากที่ตง้ั วดั ปจจุบนั ไปทางทิศตะวนั แห ่ลงเรียน ูร้ประเภท: ศาสนา-ความเชือ,สถาปตยกรรม ตกประมาณ 500 เมตร ปจจบุ นั ไมม ีซากโบราณสถานเหลอื อยเู ลย ตอ มาไดมีการยายวัดมาทป่ี จจุบันนี้ สนั นษิ ฐานวา สรางเมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 2405 โดยการนาํ ของครูบาหลวงสนุ ันตะ รวมกบั ชาวบานหนองบวั สรางข้ึน จึงทําใหว หิ ารหนองบัวแหง นี้ เปนสถาปต ยกรรมไทยลา นนาทีส่ มบูรณท ีส่ ุดแหง หนึ่ง ซึง่ หาดไู ด ยากมากในสมยั นี้ และพระวหิ ารหนองบัวแหงนี้ยังมีจิตรกรรมฝาผนังแบบโบณาณทส่ี วยงามอีกดวย -15-

นอกจากนั้นยงั มนี ายเทพและพระแสนพจิ ติ รเปนผู ชวยเขยี นจนเสร็จ และยังมภี าพของเรอื กลไฟ และดาบปลายปนซ่งึ เริ่มเขามาใน ประเทศไทย ใน สมัยรชั กาลที่ 4 ถงึ รชั กาลที่ 5 ภาพจิตรกรรมที่วัด หนองบวั แหง น้ีไดสะทอ นใหเหน็ สภาพความเปน อยู ของผูคนในสมัยนนั้ ไดเปนอยางดี โดยเฉพาะการ แตง กายของผหู ญิงท่นี ุงผาซน่ิ ลายนาํ้ ไหลหรอื ผาซนิ่ ตีน จกที่สวยงามนับวา มีคณุ คาทางศิลปะและความ สมบูรณข องภาพใกลเคียงกับภาพจติ รกรรมฝาผนงั ของวดั ภูมินทร ในเมอื งนาน นอกจากภาพจติ รกรรม แลวท่ฐี านพระประธานยงั ประดิษฐานพระพุทธรปู ลานนาองคเ ลก็ อยหู ลายองค และยงั มีบษุ บกสมยั ลา นนาอยดู ว ย ประโยชน 1.เปน แหลงการเรยี นรูวฒั นธรรม สงิ่ ท่นี าสนใจในวดั หนองบวั ภาพคอื จติ รกรรม 2.เปน แหลง โบราณคดีทม่ี ีคุณคาทางประวัติศาสตร ฝาผนงั  ที่ไดส ะทอ นใหเหน็ สภาพความเปน อยูของ 3.เปนแหลง เรียนรพู ิธีกรรมทางศาสนา ผคู นในสมยั น้นั ไดเปนอยา งดี โดยเฉพาะการแตง 4.แหลงเรียนรศู ิลปะจติ รกรรมสมยั กอน กายของผหู ญิงทน่ี งุ ผาซ่ินลายนาํ้ ไหลหรอื ผา ซิ่น ตีนจกทสี่ วยงาม นบั วามี คุณคา ทางศลิ ปะและ ความสมบูรณของภาพใกลเคียงกบั ภาพจติ รกรรม การบูรณาการในการจัดการเรยี นการสอน ฝาผนังของวัดภูมนิ ทร ในเมืองนา นเชอื่ กนั วา ภาพ 1.กลุมสาระการเรียนรสู งั คมศึกษา เขยี นฝาผนังใน วัดหนองบวั แหง น้ี เขยี นขน้ึ ดวย -สาระพระพุทธศาสนา ในสวนของพธี ีกรรมทาง ชางสกลุ เมืองนา นผเู ดยี วกันกับผเู ขยี นภาพฝาผนงั ศาสนา ในวัดภูมนิ ทร ภาพจิตรกรรมฝาผนังในโบสถเลา -สาระประวตั ิศาสตร ในสวนของการเรยี นรูวิถี เรอ่ื งหนึ่งในปญญาสชาดกซึง่ เปนพระชาติหนึง่ ของ ชวี ิตเมอื งนา นในอดตี พระพทุ ธเจา สันนษิ ฐาน วา เขียนโดย “ทิดบัวผัน” 2.กลมุ สาระการเรียนรศู ิลปะ ชางเขยี นลาวพวนที่บดิ าของครูบาหลวงสุ ชื่อนาย -ทศั นศิลปใ นแบบลานนา เทพ ซึ่งเปนทหารของเจาอนันตยศ (เจาเมอื งนาน -16-ระหวา งป พ.ศ. 2395-2434)

วั ด ศ รี พั น ต้ น ทต่ี ง้ั : ถนนเจา ฟา ตาํ บลในเวยี ง อําเภอเมอื งนาน จังหวัดนา น ดา นทิศตะวนั ตกเฉยี งใต ของเขตเทศบาลเมอื งนา น แหลงเรียนรูประเภท: ศาสนา-ความเชื่อ,สถาปตยกรรม -17-

วดั ศรพี นั ตนน้นั สรางโดยพญาพนั ตน เจาผคู รองนครนา น แหง ราชวงศภ ูคา (ครองนครนา น ระหวาง พ.ศ. 1960 - 1969 ) ช่ือวัดตรงกบั นามผูส ราง คือพญาพันตน บางสมัยเรียกวา วดั สลีพัน ตน (คําวา สลี หมายถงึ ตนโพธ)์ิ ซึ่งในอดีตมตี นโพธิใ์ หญอ ยดู านทศิ เหนอื และทิศใตข องวดั ปจจบุ ัน ถกู โคน เพอื่ ตดั เปนถนนแลว วดั ศรีพันตน ไดรบั พระราชทานวสิ งุ คามสมี าเมอ่ื พ.ศ. 2505 ภายในวดั มีวหิ ารทส่ี วยงาม ต้งั เดน เปนสงา มสี ีทองระยบิ ระยบั เปน อกี วดั หนึ่งในจงั หวัดนานท่ีมีจติ รกรรมปนู ปน ทส่ี วยงามโดยเฉพาะพญานาคเจ็ดเศยี ร เฝา บนั ได หนาวหิ ารวดั สีทองเหลอื งอรามสวยงาม ตระการตา มีความสวยงามมาก  ดอู อ นโยนมีชีวิตชีวา ซึ่งปนแตง โดยชา ง ชาวนา นช่อื นายอนุรกั ษ สมศักด์ิ หรือ \"สลารง\" และภายในวิหารไดม กี ารเขียนภาพลายเสน ประวัติของพระพทุ ธเจา และ ประวตั ิ การกําเนิด เมอื งนา น โดยชางชาวนา น เปน ภาพ เขียนลายเสน ลงสีธรรมชาติสวยงามและ ทรงคุณคา อยางย่ิง นอกจากน้ีท่วี ัดยงั มีโรงเกบ็ เรอื แขง เมอื งนาน มีเรือพญาฆ(ึ เลิศเกยี รติศักด)์ิ ซงึ่ เปน เรือตอทัง้ ลาํ โดยการนําของ ทา นพระครวู สิ ทุ นันทกิจ เจา อาวาสวดั ศรพี ันตน ไดซื้อไมจ ากปา สุสานบา นศรนี าปานและไดตอเรือเมื่อป พ.ศ. 2546 สาํ หรบั เรือ เลศิ เกยี รตศิ กั ดิ์ (พญาฆ)ึ เปนเรอื ที่ ใหญท ส่ี ดุ ในจังหวดั นาน (และเรอื แขงทีใ่ หญท ่สี ุดของประเทศไทย) สามารถบรรจฝุ พายได 100 คน ประโยชน 1.เปน แหลงการเรียนรวู ัฒนธรรม 2.เปน แหลง เรียนรูพิธีกรรมทางศาสนา 3.แหลงเรียนรศู ลิ ปะการขดุ และสรา งเรอื แขงเมอื งนา น การบรู ณาการในการจัดการเรยี นการสอน 1.กลุมสาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา -สาระพระพุทธศาสนา ในสวนของ พธิ ีกรรมทางศาสนา 2.กลุมสาระการเรียนรูศ ลิ ปะ -ในการศกึ ษาลวดลายไทยในวัด และลวดลายบนเรอื แขง 3.กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชพี -งานไมใ นการสรางเรือ -14-

ONCE UPON A TIME AT NAN


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook