Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวอย่างแบบโครงการที่ 2

ตัวอย่างแบบโครงการที่ 2

Published by วนิดา ป่อยป้าว, 2020-11-29 15:54:19

Description: ตัวอย่างแบบโครงการที่ 2

Search

Read the Text Version

แบบเสนอโครงการ แบบโครงการที่ 2 1. ช่ือโครงการ การสร้างส่ือการเรียนการสอนเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียนระดับชั้น ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 โรงเรียนวดั หนองเขอ่ื นชา้ ง 2. คณะผจู้ ัดทาโครงการ 1. นางสาวฟา้ ใส พรบารงุ ชยั 2. นางสาวสุธดิ า แซ่โง้ว 3. นางสาวณฏั ฐณชิ า ผดงุ พงษ์ 3. ระยะเวลาดาเนินการ 9 พฤศจิกายน 2563 ถึง 5 มนี าคม 2564 4. ความเปน็ มาของโครงการ คณิตศาสตร์มีความสาคัญตอ่ ชวี ติ ความเป็นอยู่ของมนุษย์ท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งในสงั คมปจั จบุ ัน ความรเู้ ก่ียวกบั คณิตศาสตร์ก็ยิ่งเพิ่มความสาคัญมากขึ้น เพราะสภาพทางสังคมใน ปัจจุบันเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการ ส่ือสารข้อมูลต่าง ๆ สามารถทาได้อย่างรวดเร็วและไม่มีข้อจากัด การพัฒนาคุณภาพของมนุษย์และ วิทยาการสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ สังคมศาสตร์ ตลอดจนความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยี ต้องอาศัยความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์เป็นพ้ืนฐาน (เฉลิมฤทธ์ิ สาระกุล, 2555: 13) ความสาคญั ของวิชาคณิตศาสตร์จงึ ถอื ได้วา่ เป็นวิชาพ้ืนฐานในการศึกษาวชิ าตา่ ง ๆ ในหลายสาขา การ สร้างสรรค์ส่ิงต่าง ๆ รวมทั้งการแก้ปัญหาท้ังในชีวิตประจาวันและด้านอื่น ๆ ก็ต้องอาศัยหลักของ คณิตศาสตร์เป็นพ้ืนฐานทั้งสิ้นบทบาทของคณิตศาสตร์มีสองด้าน ด้านแรกคณิตศาสตร์มีฐานะเป็น บทบาทพื้นฐาน กล่าวคือทาให้คนที่มีพ้ืนฐานทางคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ ได้กว้างและ ลกึ ซึง้ คณติ ศาสตร์เปน็ ความรู้ที่สนับสนุนความคิดท่ีเป็นวิทยาศาสตร์คือผลต้องเกิดจากเหตุ ส่วนด้าน ท่ีสอง เป็นด้านท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในแง่การเรียนรู้ การประยุกต์ใช้ คณิตศาสตร์ยังช่วยเสริมสร้างความเจริญงอกงามของจิตใจ และความรู้สึกอันละเอียดอ่อนของมนุษย์ ฝกึ ใหม้ ีระเบียบแบบแผน นอกจากนี้คณติ ศาสตร์ยังเปน็ วชิ าท่ีช่วยสรา้ งคณุ ลักษณะท่ีสาคัญหลายอย่าง ในตัวมนุษย์ เช่น ความมีสมาธิ การสังเกต ความแม่นยา และความมีเหตุผล คุณลักษณะเหล่าน้ี มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ท่ีช่วยพัฒนากระบวนความคิดของคนให้รู้จักคิดเป็น คดิ อยา่ งมีเหตมุ ีผล มรี ะบบข้ันตอนในการคดิ และช่วยสรา้ งเสรมิ คณุ ลักษณะท่สี าคญั มีความจาเป็นใน การดารงชีวติ เช่น ความเปน็ ผู้มเี หตุมีผล มลี กั ษณะนิสัยละเอยี ด สุขุม รอบคอบ ช่างสังเกต มีปฏิภาณ ไหวพริบที่ดี อีกท้ังเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาในสาขาอ่ืนต่อไป (วีรพงษ์ ไชยหงษ์, 2558) วิชา คณิตศาสตร์ถือได้ว่าเป็นเคร่ืองมือท่ีจาเป็นที่สุดสาหรับทุกคนในโลกปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงใน ระบอบประชาธิปไตย จะต้องมีการตัดสินใจอย่างชาญฉลาด สามารถแยกความแตกต่างระหว่าง

ความสมเหตุสมผลกับความไม่สมเหตุสมผลได้ สามารถอภิปรายปัญหาต่าง ๆ และประเมินผลได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนหาได้จากวิชาคณิตศาสตร์ท้ังสิ้น ท้ังนี้เพ่ือให้เยาวชนเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถทาง คณิตศาสตร์ที่พอเพียง สามารถนาความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ที่จาเป็นไปพัฒนา คุณภาพชีวิตให้ดียิ่งข้ึน รวมท้ังนาไปเป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ และเป็นพื้นฐานสาหรับ การศึกษาต่อ ดังน้ันจึงเป็นความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่ต้องจัดสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมแก่ ผู้เรียนแต่ละคน ทั้งนี้เพ่ือให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ ให้ถือเป็นหน้าที่ข อง สถานศึกษาที่จะต้องจัดโปรแกรมการเรียนการสอนให้กับผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้ คณิตศาสตร์เพ่ิมเติมตามความถนัดและความสนใจ ทั้งน้ีเพ่ือให้ผู้เรียนมีความรู้ท่ีทัดเทียมกับนานา อารยประเทศ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีการส่งเสริมการศึกษาและยกระดับ คุณภาพ เดก็ ไทยเพือ่ ให้มีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นทส่ี งู ขึน้ โดยยดึ หลักผเู้ รียนมคี วามสาคัญที่สุด มุ่งเน้น ด้านความรู้และคุณธรรม ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ดี ปฏิบัติได้ แก้ปัญหาได้ เพื่อพัฒนา คณุ ภาพการศึกษาไทยสูม่ าตรฐานสากลบนพื้นฐานของความเปน็ ไทย รวมท้ังส่งเสริมหลักสูตรไปสู่การ ปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของ ชุมชน สังคม และท้องถ่ิน เน้นการใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่หลากหลาย เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ภายในห้องเรียนให้ผู้เรียนมีแรงจูงใจในการเรียนมากยิ่งข้ึน และได้เรียนรู้จาก ประสบการณ์จรงิ โรงเรียนวัดหนองเข่ือนช้าง ได้บรรจุวิชาคณิตศาสตร์ไว้ในหลักสูตร ซึ่งเน้ือหามีลักษณะเป็น นามธรรมยากท่ีจะทาความเข้าใจ และเนื้อหาวิชาในแต่ละบทเรียนจาเป็นท่ีจะต้องเรียนรู้เป็นพื้นฐาน ซ่ึงกันและกัน และสืบเนื่องจากผู้เรียนมีคะแนนจากการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่า โดยเฉพาะ ผูเ้ รียนระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 ปจั จัยทที่ าใหผ้ เู้ รียนมผี ลสมั ฤทธ์ิทางคณิตศาสตร์ค่อนข้างต่า ได้แก่ กระบวนการเรียนการสอนไม่เอื้อต่อการทาให้ผู้เรียนชอบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เช่น การเร่ิมต้นยาก แบบฝึกหัดยาก ครูผู้สอนอธิบายด้วยภาษาที่ค่อนข้างยาก สื่อการเรียนการสอนมีน้อย ครูผู้สอนยึด รูปแบบการสอนแบบบรรยาย โดยมีครูผู้สอนเป็นศูนย์กลาง ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย ขาดความกระตือรือร้น และเป็นการปิดกนั้ ความคิดและสติปญั ญาของผเู้ รียนใหอ้ ยู่ในขอบเขตจากัด จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงเป็นแรงจูงใจให้คณะผู้จัดทาโครงการสนใจสร้างสื่อการเรียน การสอน เรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียนระดับช้ันประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดหนอง เข่ือนช้าง เพราะการใช้สื่อที่เหมาะสมกับการเรียนรู้ของผู้เรียนจะช่วยลดเวลาและภาระในการสอน เพ่ือให้ผู้สอนมีเวลาในการเตรียมการสอนและพัฒนาตนเอง เพ่ือเพ่ิมคุณภาพการสอนให้มีคุณค่า มากข้ึน สง่ ผลให้ผเู้ รยี นมคี วามต้ังใจ ไม่เกดิ ความเบือ่ หน่ายในการเรยี น มคี วามกระตือรือร้น และต้ังใจ ในการแสวงหาความรู้ สามารถบรรลุจุดประสงค์ในการเรียน สามารถเข้าใจเนื้อหาบทเรียนได้ง่าย ย่ิงขึ้น ภายในบทเรียนจะประกอบไปด้วยข้อความ ภาพเคล่ือนไหว และเสียงบรรยายประกอบ โดย เนน้ ภาพการ์ตนู ซง่ึ มีความเหมาะสมกบั ระดบั ของผู้เรยี น ในการท่จี ะดึงดูดความสนใจ ทาให้ผู้เรียนเกิด

ความสนุกไปกับบทเรียน ช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ เกิดองค์ความรู้และมีความเข้าใจในเนื้อหา เพ่ิมมากข้ึน สง่ ผลใหผ้ เู้ รียนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดขี น้ึ 5. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ 5.1 เพื่อสร้างสื่อการเรียนการสอนเร่ือง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปที ่ี 2 โรงเรียนวดั หนองเขื่อนชา้ ง 5.2 เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อสื่อการเรียนการสอนเร่ือง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผเู้ รยี นระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นวดั หนองเข่อื นชา้ ง 6. ขอบเขตของโครงการ 6.1 เน้ือหาท่ีใช้ในการสร้างสื่อการเรียนการสอนเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียน ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2 โรงเรียนวดั หนองเขอื่ นชา้ ง ประกอบดว้ ยเนอื้ หาจานวน 4 บทเรียน ดงั น้ี บทท่ี 1 การบวก บทท่ี 2 การลบ บทที่ 3 การคูณ บทที่ 4 การหาร 6.2 ประชากรที่ใช้ในโครงการ ประชากรทีใ่ ชใ้ นโครงการครั้งน้ี ได้แก่ ผ้เู รยี นระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวัดหนอง เขอื่ นชา้ ง จานวนทง้ั สนิ้ 40 คน 6.3 กลุม่ ตัวอยา่ งทใ่ี ชใ้ นโครงการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในโครงการคร้ังน้ี ได้แก่ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ห้อง 1/1 โรงเรียนวดั หนองเขือ่ นช้าง จานวนท้ังสิ้น 15 คน ได้มาโดยการเลอื กแบบเจาะจง 6.4 ตัวแปรทีใ่ ช้ในโครงการ 6.4.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ ส่ือการเรียนการสอนเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียน ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรยี นวัดหนองเขื่อนชา้ ง 6.4.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจของผู้เรียนท่ีมีต่อสื่อการเรียนการสอน เรื่อง การ บวก ลบ คณู หาร สาหรบั ผเู้ รยี นระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 2 โรงเรียนวดั หนองเข่อื นช้าง 6.5 ระยะเวลาทีใ่ ช้ในการศึกษา ตลอดภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 7. ประโยชน์ที่คาดวา่ จะได้รบั 7.1 ได้ส่ือการเรียนการสอนเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร สาหรับผู้เรียนระดับชั้นประถม ศึกษา ปีท่ี 2 โรงเรยี นวดั หนองเข่ือนชา้ ง

7.2 ช่วยให้ผู้เรียนสนใจในบทเรียนมากข้ึน เพราะสื่อการเรียนการสอนจะเร้าความสนใจ ทาให้ ผเู้ รยี นเกดิ ความกระตือรอื รน้ ในเร่ืองท่เี รยี น และมีส่วนรว่ มในการเรยี น 8. นยิ ามศพั ท์ 8.1 สอื่ การเรยี นการสอน หมายถึง ส่ือการเรียนการสอนท่ีคณะผู้จัดทาโครงการสร้างข้ึน เพ่ือใช้ ในการจัดการเรียนการสอนเรื่อง การบวก ลบ คูณ หาร โดยนาเสนอในรูปแบบของข้อความ ภาพเคล่ือนไหว วิดโี อ และเสยี งบรรยายประกอบ เพ่ือช่วยดงึ ดดู ความสนใจในการเรยี นรู้ 8.2 การบวก ลบ คูณ หาร หมายถึง เน้ือหาที่บรรจุอยู่ในหลักสูตรรายวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับ ผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เน้ือหาประกอบไปด้วย 4 บทเรียน ได้แก่ การบวก การลบ การ คณู และการหาร 8.3 ผู้เรียน หมายถึง ผูเ้ รยี นระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 2 หอ้ ง 1/1 โรงเรียนวัดหนองเขอ่ื นช้าง 8.4 ความพึงพอใจของผู้เรียน หมายถึง ความรู้สึกของผู้เรียนที่มีต่อสื่อการเรียนการสอนเร่ือง การบวก ลบ คณู หาร 9. วธิ ีดาเนินการโครงการ 9.1 ศึกษาคน้ ควา้ ข้อมลู 9.2 เสนอชอื่ เร่อื ง 9.3 จัดหาอุปกรณ์ 9.4 ดาเนินการจัดทาโครงการ 9.5 ทดสอบแก้ไข 9.6 ทาเอกสาร 10. แผนการดาเนนิ การตลอดโครงการ กิจกรรม สปั ดาหท์ ี่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 1. ศกึ ษาข้อมูล 2. เสนอชอื่ เร่ือง 3. จัดหาอุปกรณ์ 4. ดาเนนิ การจดั ทา โครงการ 5. ทดสอบแก้ไข 6. ทาเอกสาร 11. ประมาณการคา่ ใช้จ่ายในโครงการ 2,000 บาท

ผูเ้ สนอโครงการ ลงชื่อ .............................................. (นางสาวสธุ ดิ า แซ่โง้ว) ลงช่อื .................................................. (นางสาวฟ้าใส พรบารงุ ชยั ) ............../............../............. ............../............../............. ลงชือ่ ................................................... (นางสาวณฏั ฐณชิ า ผดงุ พงษ์) ............../............../............. ______________________________________________________________________________ ความคิดเหน็ ประธานกรรมการทป่ี รึกษา ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงช่ือ……........................................ประธานกรรมการที่ปรกึ ษา (นางสาวอญั ชลี เหลอื งศรชี ยั ) ............./............./.............. ความคดิ เห็นหวั หน้าแผนกวชิ า ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ลงชื่อ……........................................ (นายพิศณุ อุทกงั ) หัวหน้าแผนกวชิ า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook