ความหมายของการพฒั นานวัตกรรมการศกึ ษา ความหมายของนวตั กรรม “นวตั กรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบตั ิ หรือส่ิงประดิษฐ์ ใหม่ ๆ ที่ยงั ไม่เคยมีใชม้ าก่อน หรือเป็นการพฒั นาดดั แปลงมาจาก ของเดิมท่ีมีอยแู่ ลว้ ใหท้ นั สมยั และใชไ้ ดผ้ ลดียง่ิ ข้ึน เมื่อนา นวตั กรรมมาใชจ้ ะช่วยใหก้ ารทางานน้นั ไดผ้ ลดีมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงกวา่ เดิม ท้งั ยงั ช่วย ประหยดั เวลาและแรงงาน ไดด้ ว้ ย การพฒั นานวตั กรรมการศึกษา (Educational Innovation) จึงหมายถึง การกระทาใหม่ การสร้างใหม่ หรือการพฒั นา ดดั แปลงจากส่ิงใด ๆ แลว้ ทาใหก้ ารศึกษาหรือการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอนมีประสิทธิภาพดีข้ึนกวา่ เดิม ทาใหผ้ เู้ รียนเกิดการ เรียนเปล่ียนแปลงในการเรียนรู้ เกิดการเรียนรู้อยา่ งรวดเร็ว มี แรงจูงใจในการเรียน ทาใหเ้ กิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุดกบั ผเู้ รียน
คุณลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา คุณลกั ษณะของนวตั กรรมทางการศึกษาสามารถสรุปได้ ดงั น้ี 1. เป็นสิ่งใหม่เกี่ยวกบั การแกป้ ัญหาการศึกษาท้งั หมด เช่น วธิ ีการสอน หรือส่ือการสอนใหม่ๆ 2. เป็นสิ่งที่เคยมีมาแลว้ แต่มีการพฒั นาปรับปรุงให้ เหมาะสมและดีข้ึนเพื่อใชใ้ นกระบวนการศึกษาใหม้ ี ประสิทธิภาพมากข้ึน 3. ร้ือฟ้ื นของเก่ามาใชใ้ หม่ 4. เป็นนวตั กรรมทางการศึกษาเก่าจากท่ีอื่นแต่เพิง่ นามาใช้ 5. ผา่ นการศึกษาคน้ ควา้ และยนื ยนั ดว้ ยขอ้ มูลมหาศาล
ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา นวตั กรรมที่นามาใชใ้ นทางการศึกษา ท้งั การกระทาใหม่ใด ๆ การสร้างส่ิงใหม่ ๆ รวมท้งั การ พฒั นาดดั แปลงจากสิ่งใด ๆ เพ่อื ใชใ้ นการเรียนการสอน แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ 1. นวตั กรรมดา้ นสื่อการสอน ยกตวั อยา่ งเช่น บทเรียน คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน หนงั สืออิเลคทรอนิคส์ บทเรียนการ์ตนู บทเรียนCD/VCD หนงั สือเล่มเลก็ บทเรียนเครือข่าย ชุด เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ชุดสื่อผสม หนงั สืออ่านเพิ่มเติม ชุดการ เรียนรู้ทางไกล ชุดฝึกอบรม ชุดครูช่วยสอน ฯลฯ 2. นวตั กรรมดา้ นวธิ ีการจดั การเรียนการสอน ยกตวั อยา่ งเช่น การ สอนแบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) การสอน แบบโครงสร้างความรู้(Graphic Organizer) การสอนแบบศูนย์ การเรียน (Learning Center) การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Based) การสอนแบบบรู ณาการ (Integrate Teaching) ฯลฯ
ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา 3. นวตั กรรมทางดา้ นหลกั สูตร ยกตวั อยา่ งเช่น หลกั สูตรสาระ เพม่ิ เติม หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน หลกั สูตรการฝึกอบรม หลกั สูตร กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน ฯลฯ 4. นวตั กรรมดา้ นการวดั และการประเมินผล ยกตวั อยา่ งเช่น การ สร้างแบบวดั ต่าง การสร้างเครื่องมือ การประยกุ ตใ์ ช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ฯลฯ 5. นวตั กรรมดา้ นการบริหารจดั การ ยกตวั อยา่ งเช่น การบริหาร เชิงระบบ การบริหารเชิงกลยทุ ธ์ การบริหารแบบหลอมรวม การบริหารเชิงบรู ณการ การบริหารเชิงวจิ ยั ปฏิบตั ิการ การ บริหารแบบภาคีเครือขา่ ย การบริหารโดยใชอ้ งคก์ รเครือขา่ ย แบบร่วมร่วมทา การบริหารโดยใชโ้ รงเรียน บา้ น วดั ชุมชน และสถานประกอบการ เป็นฐาน ฯลฯ
ข้นั ตอนการพฒั นานวตั กรรม ข้นั ตอนการพฒั นานวตั กรรม ข้นั ตอนการวจิ ยั เชิงการพฒั นา (Research and Development) โดยทวั่ ไปมกั กาหนดเป็น 3 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ท่ี 1 การสร้างและหาประสิทธิภาพ โดยดาเนินการในข้นั ตอนยอ่ ย ๆ ดงั น้ี ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ยกร่างนวตั กรรม (สื่อ วธิ ีการสอน หลกั สูตร การวดั และการประเมิน และกระบวนการบริหาร) เสนอผเู้ ชี่ยวชาญ ทดลองใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง/เป้ าหมาย 1, 2,……. (อาจจะหาประสิทธิภาพ E1/E2 ) ข้นั ที่ 2 ศึกษาผลการนาไปใช้ นาไปใชก้ บั กลุ่มตวั อยา่ ง/กลุ่มเป้ าหมาย ทาการทดสอบผลและประเมินผลการใช้ โดยอาจจะ - เปรียบเทียบก่อนใชแ้ ละหลงั ใช้ ( ใช้ t-test แบบ t-pair) - เปรียบเทียบกบั เกณฑท์ ี่กาหนด ( ใช้ t-test แบบ one-sample) ข้นั ท่ี 3 ประเมนิ ผล ใชแ้ บบวดั ความพงึ พอใจ แบบวดั ทศั นคติแบบวดั ความคิดเห็น หรือใชร้ ูปแบบประเมินใดๆ เพื่อการประเมินผลการใชน้ วตั กรรมน้นั
กล่าวโดยสรุปข้นั ตอนการพฒั นานวตั กรรมคือ เร่ิมตน้ ดว้ ย การ สร้างหรือการพฒั นา ซ่ึง หมายถึงการยกร่างนวตั กรรม ข้ึนมาใหม่ หรือการพฒั นาวตั กรรมที่มีอยแู่ ลว้ ใหด้ ีข้นึ จากน้นั สู่ข้นั ตอน การนานวตั กรรมไปใช้ หมายถึง การนา นวตั กรรมไปใชก้ บั กล่มุ เป้ าหมาย เพือ่ รับรองผลวา่ มีผลการใช้ อยู่ ในระดบั ดี โดยยนื ยนั จากผลการทดสอบ และในข้ันตอนสุดท้ายคอื การประเมนิ ผลการใช้นวตั กรรม หมายถึงการสอบถามความคิดเห็น หรือความพงึ พอใจที่มีตอ่ วตั กรรมน้นั ๆ วา่ ดีมี ประโยชน์ มีคุณค่า สามารถนาไปใชไ้ ดเ้ ป็นอยา่ ง ดี โดยยนื ยนั จากเคร่ืองมือการวดั และประเมินผล นวตั กรรมน้นั
การเขยี นรายงานการพฒั นานวตั กรรม โดยทวั่ ไปการเขียนรายงานการพฒั นานวตั กรรมเตม็ รูปแบบ จะแบ่งส่วนสาคญั ออกได้ 3 ส่วนคือ (1) ส่วนนา (2) ส่วน เน้ือความ และ (3) ส่วนอา้ งอิง ดงั แผนภาพ
ความสาคญั ของนวตั กรรมทางการศึกษา 1. เพือ่ นานวตั กรรมมาใชแ้ กป้ ัญหาในเรื่องการเรียนการสอน เช่น ปัญหาเร่ืองวธิ ีการสอน ปัญหาที่พบเช่น วธิ ีการสอนปิ ดก้นั ความคิด สร้างสรรคข์ องผเู้ รียน วธิ ีการสอนที่น่าเบื่อทาใหผ้ เู้ รียนขาดความ สนใจ ปัญหาดา้ นเน้ือหาวชิ า บางวชิ าเน้ือหามาก และบางวชิ ามีเน้ือหาเป็น นามธรรมยากแก่การเขา้ ใจ จึงจาเป็นจะตอ้ งนาเทคนิคการสอนและ สื่อมาช่วย ปัญหาเร่ืองอุปกรณ์การสอน บางเน้ือหาไม่มีสื่อการสอนที่ช่วยให้ เกิดความรู้ ความเขา้ ใจไดด้ ีพอ 2. เพ่ือนานวตั กรรมไปใชใ้ นการพฒั นาการเรียนการสอน ใหม้ ี ประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึนและเป็นประโยชนต์ ่อการศึกษา โดยการนา ส่ิงประดิษฐห์ รือแนวความคิดใหม่ๆในการเรียนการสอนน้นั เผยแพร่ ไปสู่ครู-อาจารย์ ท่านอ่ืน ๆ หรือเพื่อเป็นตวั อยา่ งอีกรูปแบบหน่ึง ใหก้ บั ครู-อาจารยท์ ี่สอนในวชิ าเดียวกนั ไดน้ าแนวความคิดไป ปรับปรุงใชห้ รือผลิตสื่อการสอนใหม่ๆ เพือ่ นามาใชใ้ นการ พฒั นาการเรียนการสอนต่อไป 3. เพ่ือนาไปใชใ้ นการบริหารการศึกษา ใหเ้ ป็นไปดว้ ยความสะดวกและ มีประสิทธิภาพซ่ึงสุดทา้ ยผลประโยชนท์ ่ีไดร้ ับกจ็ ะนาไปผลสมั ฤทธ์ิ ทางการศึกษาที่สูงข้ึนต่อไป
บรรณานกุ รม มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2549) ระเบียบวธิ ีวจิ ยั . คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2549) ชุดฝึกปฏิบตั ิการเหนือตารา: การทาวจิ ยั ในช้นั เรียน. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. มนสิช สิทธิสมบูรณ์, (2550) ชุดฝึกอบรมเหนือตารา : การทาวจิ ยั เพื่อ เลื่อนวทิ ฐานะ. คณะศึกษาศาสตร์. มหาวทิ ยาลยั นเรศวร. Grundy,S. and Kemmis, S. (1982) Educational action research in Australia: In S. Kemmis(ed) The Action Research Reader. Victoria: Deakin University Press. Henry , C. and McTaggart, R. (1997). EAE 717 Action Research and Critical Social Science. EAE 430/632, Unit Guide, The Faculty of Education, Victoria: Deakin University Press. Kemmis,S. and McTaggart, R.(1988), The Action Research Planner. Third substantially revised edition, Victoria: Deakin University Press. Aldershot.
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: