Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การงานอาชีพ

การงานอาชีพ

Published by svprakan1, 2022-05-05 08:06:53

Description: สาระการงานอาชีพ
ชื่อเรื่อง : การบริหารจัดการเรียนรู้ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ สื่อการสอนดูแลรักษาของใช้ในบ้าน นระดับชั้น ป.6
โดย นางสมพร พรหมมายนต์
โรงเรียนวัดแค

Search

Read the Text Version

๑ก คานา รายงานผลงานการพฒั นาทักษะการเรยี นรู้เรอื่ ง การดแู ลของใชภ้ ายในบ้าน โดยผ่านส่ือนวัตกรรมการ สอน On-Demand ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี ๖ รหัสวิชา ง ๑๖๑๐๑ ฉบับน้ีได้จัดทาขึ้นเพื่อรายงานผลงาน นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๔ ซ่ึงเป็นการขับเคล่ือนนโยบายการส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ ของสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต ๑ โดยรายงานนี้ประกอบด้วยความสาคัญของผลงานที่นาเสนอ จดุ ประสงค์และเป้าหมายหรือขั้นตอนในการดาเนินงาน กระบวนการผลิตหรือขั้นตอนในการดาเนินงาน ผล การดาเนินงาน ผลสัมฤทธ์ิ ประโยชน์ท่ีได้รับ ปัจจัยความสาเร็จ บทเรียนที่ได้รับและการเผยแพร่ผลงาน ซงึ่ รายงานฉบบั นสี้ ามารถนาไปเป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนแก่ครูผู้สอนรายวิชาการงานอาชีพ หรือ บูรณาการกับวิชาอ่ืนๆ ตามความเหมาะสมตามบริบทของเนื้อหาและระดับชั้นของผู้เรียนได้ สุดท้ายน้ี ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครู นักเรียน ที่ได้ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน และการผลิตส่ือ นวตั กรรมสาหรบั การจดั การเรยี นการสอนใหป้ ระสบผลสาเรจ็ ไปได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานน้ีจะ เปน็ ประโยชน์กบั ผทู้ ่ีเกยี่ วข้องตลอดจนผูส้ นใจได้นาไปใชแ้ นวทางในการดาเนินงานตอ่ ไป (นางสมพร พรหมมายนต์) ตาแหน่ง ครูอตั ราจ้าง โรงเรยี นวัดแค

สารบญั ๒ข เรอ่ื ง หนา้ คานา ก สารบญั ข ๑. ความสาคัญของผลงานและนวัตกรรมทน่ี าเสนอ ๓ ๓ ๑.๑ ความเป็นมาและสภาพของปญั หา 4 ๑.๒ แนวทางการแกป้ ญั หาและพัฒนา 4 ๒. จุดประสงค์และเป้าหมายของการดาเนินงาน 4 ๓. กระบวนการการผลิตผลงาน หรือขัน้ ตอนการดาเนินงาน 5 ๓.๑ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม 8 ๓.๒ การดาเนินงานตามกจิ กรรม 11 ๓.๓ ประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน 14 ๓.๔ การใช้ทรพั ยากร 14 ๔. ผลการดาเนนิ การ/ผลสัมฤทธ/์ิ ประโยชน์ทีไ่ ด้รับ 14 ๔.๑ ผลที่เกิดตามจุดประสงค์ 15 ๔.๒ ผลสมั ฤทธขิ์ องงาน 17 ๔.๓ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับ 17 ๕. ปจั จยั ความสาเร็จ 18 ๖. บทเรียนทไ่ี ด้รับ 18 ๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรบั /รางวัลท่ไี ดร้ ับ ภาคผนวก - แผนแพร่ผลงานผ่าน QR Code - แผนการสอน - ใบงาน

๓ กรอบการนาเสนอนวัตกรรมการบรหิ ารการจัดการเรียนรภู้ ายใตว้ ถิ ชี ีวิตใหม่ .......................................................................................... ช่ือผลงาน สอื่ การสอน การดแู ลรักษาของใช้ภายในบา้ น ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภายใต้วถิ ีชีวิตใหม่ ประเภท  ครูผู้สอน  ผู้บริหารสถานศกึ ษา  บุคลากรทางการศกึ ษา ด้านการบริหาร (เฉพาะผบู้ รหิ าร)  บรหิ ารงานวชิ าการ  บริหารการเงิน  บริหารงานบุคคล  บริหารทั่วไป กลุม่ สาระการเรียนรู้ การงานอาชพี ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ ชอ่ งทางการใชน้ วัตกรรม  On-Air  On-Hand  On-Demand  Online ผเู้ สนอผลงาน นางสมพร พรหมมายนต์ โรงเรยี น วัดแค โทรศัพท์ ๐๒-๔๒๕-๘๔๑๒ Line ID pormmayon โทรศพั ท์มือถอื ๐๖๑๗๔๒๓๑๘๘ อีเมล [email protected] ๑. ความสาคญั ของผลงานท่นี าเสนอ ๑.๑ ความเป็นมาและสภาพปัญหา การดารงชีวติ ในปจั จบุ ันทุกครอบครัวจาเป็นจาเปน็ ต้องใช้สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ เช่น หม้อหุงข้าวไฟฟ้า เตารดี ไฟฟ้า พดั ลมไฟฟ้า เปน็ ตน้ ซ่ึงการใช้เคร่ืองอานวยความสะดวกต่างๆเหล่านี้ในระยะยาวน้ันจาเป็นต้อง รู้จักวิธีการบารุงรักษาหรือดัดแปลงเครื่องอานวยความสะดวกเหล่าน้ันเพ่ือช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย รวมท้ัง เพื่อให้มีรูปแบบหรือวิธีการใช้ที่แปลกใหม่อีกด้วย ดังน้ันงานช่างจึงเข้ามามีบทบาทในการซ่อมแซมและ ดดั แปลงเคร่อื งอานวยความสะดวกตา่ งๆ ซึ่งงานชา่ ง หมายถงึ การเปลี่ยนแปลงวัสดุต่างๆให้เกิดประโยชน์ นา ความรู้หรือประสบการณ์ท่ีได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในการปฏิบัติจริง จะทาให้เครื่องอานวยความสะดวกหรือ เครอ่ื งใช้ในบ้าน มีความคงทนและสามารถใช้งานได้นานและทาให้มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินมาก ยิ่งขึ้นงานช่างในบ้านเป็นงานท่ีเกี่ยวข้องกับของใช้ในบ้านเป็นส่วนใหญ่และการท่ีจะเลือกบารุงรักษาและ ซ่อมแซมหรือดัดแปลง ควรมีทักษะความรู้และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อให้ของใช้ในบ้านไม่เสียหายหรือเกิด อุบัตเิ หตใุ นระหว่างปฏิบัตงิ าน ดังนั้นควรมกี ารศึกษาหาความรู้อย่างชดั เจนและถกู ต้องเพ่อื นาไปปฏิบัติได้อย่าง ปลอดภัยการบารุงรักษาเคร่ืองมือช่างในบ้าน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษาวิธีการบารุงรักษาเคร่ืองมือช่างในบ้าน และเพื่อศึกษาเครื่องมือช่างในบ้านเคร่ืองมืออุปกรณ์ต่างๆท่ีใช้ในห้องปฏิบัติการมีความหลากหลายท้ังในแง่ ชนดิ ขนาดและวตั ถุ-ประสงคข์ องการใชง้ านเครอ่ื งมือประเภทเดยี วกัน แต่เม่ือผู้ใช้มีวัตถุประสงค์ในการใช้งาน ทีแ่ ตกต่างกัน กอ็ าจเลอื กใช้เคร่อื งที่มีคุณลักษณะไม่เทา่ กนั ได้ รวมท้ังคุณภาพของการใช้งานที่อาจแตกต่างกัน ได้ แต่อยา่ งไรก็ตาม เม่ือคานงึ ถงึ มาตรฐานเบอื้ งตน้ ทั้งการจัดหา การเลือกใช้ การใช้งานใหถ้ ูกต้อง รวมทั้งการ บารงุ รกั ษาเคร่ืองมอื เหลา่ นี้ ใหม้ ีความพรอ้ มและคงสภาพในการใช้งาน ก็ไมม่ คี วามแตกต่างกันมากน้ัน ในบทน้ี จะกล่าวถงึ หลกั การเบือ้ งต้นในการจัดหา เลือกใช้ การบารุงรักษา รวมท้ังการจัดการแผนการบารุงรักษาเพื่อ เป็นแนวทางในการใช้งานต่อไป

๔ แต่เน่ืองจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ระลอกใหม่ ทาให้ โรงเรียนไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ On-Site ได้ ครูผู้สอนจึงได้ดาเนินการจัดการเรียนการสอนใน รูปแบบ On - Demand เพ่ือให้นักเรียนมีความเข้าใจเก่ียวกับการท่ีจะเลือกบารุงรักษาและซ่อมแซมหรือ ดัดแปลง ควรมีทกั ษะความร้แู ละวิธีปฏิบตั ทิ ถี่ กู ต้องเพอื่ ให้ของใช้ในบา้ นไม่เสียหายหรือเกิดอุบัติเหตุในระหว่าง ปฏิบตั งิ าน ดงั นั้นควรมกี ารศกึ ษาหาความร้อู ย่างชดั เจนและถกู ต้องเพอื่ นาไปปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างปลอดภยั การบารุงรักษาเคร่ืองมือช่างในบ้าน มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาวิธีการบารุงรักษาเครื่องมือช่างในบ้านและเพื่อ ศกึ ษาเครื่องมือช่างในบา้ นเครื่องมอื อุปกรณต์ ่างๆท่ีใช้ในห้องปฏบิ ตั ิการมีความหลากหลายทั้งในแง่ชนิด ขนาด และวัตถุ-ประสงคข์ องการใชง้ านเคร่ืองมือประเภทเดียวกัน แต่เม่ือผู้ใช้มีวัตถุประสงค์ในการใช้งานท่ีแตกต่าง กัน ก็อาจเลือกใช้เคร่ืองท่ีมีคุณลักษณะไม่เท่ากันได้ รวมทั้งคุณภาพของการใช้งานท่ีอาจแตกต่างกันได้ แต่ อย่างไรก็ตาม เม่ือคานึงถึงมาตรฐานเบ้ืองต้น ท้ังการจัดหา การเลือกใช้ การใช้งานให้ถูกต้อง รวมท้ังการ บารุงรักษาเคร่ืองมือเหล่าน้ี ให้มีความพร้อมและคงสภาพในการใช้งาน โดยใช้สื่อการสอน เป็นสื่อท่ีสรุป เน้อื หาสาคญั ๆ หรือความรมู้ าสรุปเปน็ ในลกั ษณะของข้อมูล ให้อยู่ในลักษณะของภาพคลิปวีดีโอ ดูแล้วเข้าใจ ง่ายในเวลารวดเร็วและชัดเจน สามารถสื่อให้ผู้ชมเข้าใจความหมายของข้อมูลทั้งหมดได้โดยไม่จาเป็นต้องมี ผนู้ า อีกทง้ั ยังมีการบรรยายประกอบภาพเพ่ือทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ สามารถดึงดูด ความสนใจ และกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยปราศจาก ข้อจากัดด้านเวลา และสถานท่ใี นการเรยี นรู้ ๑.๒ แนวทางการแกป้ ญั หาและพัฒนา ครูผสู้ อนจงึ มคี วามสนใจท่ีจะศกึ ษาและพฒั นาสอ่ื การเรยี นรู้ เรื่อง สือ่ การสอน ส่อื การสอน การดูแล รักษาของใช้ภายในบา้ น ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ภายใตว้ ถิ ชี วี ิตใหม่ เพือ่ ให้นักเรียนมคี วามรคู้ วามเข้าใจ หลักการในการหลักการดูแลรกั ษาสมบัติภายในบ้าน ใหส้ ะอาดเรยี บรอ้ ย มหี ลกั การดงั นี้ 1. วางแผนการทางานกอ่ นลงมือทาว่า จะอะไร เพราะอะไรจึงตอ้ งทา จะเริม่ ทา และจะทาเสร็จเมอ่ื ไร 2. เตรียมเคร่ืองมือ และอุปกรณ์ต่างๆ ให้พร้อม ถ้าเป็นเคร่ืองใช้ไฟฟ้า เช่น เคร่ืองดูดฝุ่น ควรสารวจความ เรยี บร้อยกอ่ นนามาใช้งาน 3. ใชเ้ วลาในการทางานให้เกดิ ประโยชน์และคุ้มค่า เช่น ระหว่างรอข้าวสุก ก็อาจทางานงานอย่างอื่นด้วย เช่น กวาดบา้ น ถูบ้าน 4. ทางานตามทีว่ างแผนไว้อยา่ งรอบคอบ และระมัดระวัง 5. ตรวจดคู วามเรยี บรอ้ ยเมือ่ ทางานเสร็จ ถ้าพบข้อบกพร่องควรรบี แกไ้ ข เพ่ือการเรียนทไ่ี ม่ ซับซอ้ นและเป็นสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะสมในยุคปัจจุบัน นอกจากน้ี ยังสอดคล้อง กับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเพ่ือรองรับการเปล่ียนแปลง หลกั สูตรสถานศึกษาของโรงเรียน และประกอบกับทางสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานไดมีการ ปรับปรุงหลกั สูตรการเปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรยี นรูและตัวชี้วดั กลุมสาระการเรยี นรู้ในกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ และตั้งแตป การศึกษา 2563 ใหเปล่ียนชื่อกลุมสาระการเรยี นรูเปน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพจากรายละเอียดดัง กลาวตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) กลุมสาระการ เรียนรูการงานอาชีพไดนามาเปนแนวทางในการจัดทาหลักสูตรของสถานศึกษา ท่ีสนองตอบตอหลักสูตร แกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน และปรับใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของสงั คมและโลกปจจบุ ันเพ่ือพัฒนา เด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานใหมีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จาเปนสาหรับ การดารงชวี ิตในสังคมท่ีมีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรูเพ่อื พัฒนาตนเองอยางตอเนือ่ งตลอดชวี ิต

๕ ๒. จุดประสงค์และเปา้ หมายของการดาเนินงาน ๒.๑ จดุ ประสงค์ ๒.๑.๑ เพอ่ื สรา้ งและพฒั นาส่ือการเรียนรู้เรือ่ ง ส่ือการสอน สอื่ การสอน การดูแลรักษาของ ใชภ้ ายในบา้ น ระดับช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภายใตว้ ิถีชีวติ ใหม่ ผ่านช่อง Youtube Channel ๒.๑.๒ เพอ่ื ให้นักเรียนมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การดแู ลรกั ษาของใชภ้ ายในบ้าน ๒.๒ เปา้ หมาย เชิงปริมาณ : ร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ มีความรู้ความเข้าใจ เกยี่ วกับการดูแลรกั ษาของใช้ภายในบา้ น เชิงคณุ ภาพ : นกั เรียนสามารถเรียนรเู้ รือ่ งการดแู ลรักษาของใช้ภายในบ้านและท่ีจะเลือก บารุงรักษาและซ่อมแซมหรือดัดแปลง ควรมีทักษะความรู้และวิธีปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อให้ของใช้ในบ้านไม่ เสียหายหรือเกิดอุบัติเหตุในระหว่างปฏิบัติงาน ดังน้ันควรมีการศึกษาหาความรู้อย่างชัดเจนและถูกต้องเพื่อ นาไปปฏิบัตไิ ด้อยา่ งปลอดภยั ตลอดจนนาไปใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ ๓. กระบวนการผลิตผลงานหรือขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน ๓.๑ การออกแบบผลงาน/นวัตกรรม ในจัดการเรียนการสอนปัญหาที่มักพบอยู่เสมอคือ นักเรียนเบ่ือหน่าย ขาดความสนใจในการเรียนการสอน เพราะการสอนส่วนครูส่วนใหญ่ยังคงยึดรูปแบบการสอบแบบเดิม ๆ คือ วิธีการสอนแบบบรรยายโดยครูเป็น ศูนย์กลางท่ีเน้นการพูดบรรยายถา่ ยทอดเนื้อหาสาระมากกวา่ สอนในรูปแบบอ่ืน และด้วยสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ทาให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนการสอนแบบ On – Site ได้ ทาใหค้ รูจะตอ้ งคดิ วธิ กี ารสอนให้เท่าทันในยุคปจั จบุ ัน เพอื่ ที่จะทาใหน้ ักเรยี นมคี วามสามารถในการคิด สามารถ เรียนรู้ด้วยตนเองได้ ครูผสู้ อนจึงคน้ หาวธิ กี ารหรอื นวัตกรรมจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ที่ทาให้นักเรียนมีบทบาทในการเรียนรู้มากข้ึนและเป็นฝ่ายลงมือปฏิบัติมากขึ้น ดังนั้นการนา นวัตกรรมมาใช้ในการจัดการเรียนรู้จึงช่วยแก้ปัญหาเรื่องวิธีการจัดการเรียนรู้ โดยข้าพเจ้าได้จัดทาส่ือการ เรยี นรแู้ บบการดแู ลรกั ษาของใช้ภายในบา้ น ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภายใต้วถิ ีชีวิตใหม่ มาใช้ ซึ่งสื่อที่ สรุปเนื้อหาสาระสาคญั ๆ ในลักษณะของ คลิปการสอนแบบ On - Demand ดูแล้วเข้าใจง่ายในเวลารวดเร็ว และชัดเจน สามารถสื่อให้ผู้ชมเข้าใจความหมายของข้อมูลทั้งหมดได้โดยไม่จาเป็นต้องมีผู้นา อีกท้ังยังมีการ บรรยายประกอบภาพเพื่อทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ สามารถดึงดูดความสนใจ และ กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง โดยปราศจากข้อจากัดด้านเวลา และสถานท่ีโดยมขี ั้นตอนการออกแบบงาน ดังนี้ ๑. สรุปข้อมูลเก่ียวกับ การดูแลรักษาของใช้ภายในบ้าน ลงในโปรแกรม Microsoft Word และพิมพ์เอกสาร เพอ่ื ฝึกพดู และบรรยายเสยี งเนอ้ื หาทไี่ ด้เรียบเรียงเอาไว้

๖ ๒.ครู อัดเสยี งอดั คลปิ วดี ีโอการสอนเรอื่ งการดูแลรกั ษาของใชภ้ ายในบา้ นลงคลิปที่ไดเ้ ตรียมเอาไว้ ๓. เผยแพรส่ ่ือนวตั กรรมลงในช่อง Youtube Channel และส่งล้ิงให้กบั นกั เรียนชั้น ป๖

๗ ๔. ครูได้จัดทาแบบทดสอบเป็น ……..เพอื่ ให้นักเรียนไดท้ าแบบทดสอบหลังเรยี น

๘ ๓.๒ การดาเนนิ งานตามกิจกรรม ใชแ้ นวคดิ วงจร PDCA เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เพ่ือพัฒนาการเรียนรู้เรื่องการดูแลรักษาของใช้ภายในบ้าน แบบ On - Demand ประกอบด้วย ๔ ข้นั ตอนการพฒั นาดงั น้ี ข้ันตอนที่ ๑ (P - Plan) : วางแผน ศึกษาข้อมูลหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๖๐ (ฉบบั ปรับปรุง) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ และต้งั แตปการศึกษา 2563 ใหเปลย่ี นช่อื กลุมสาระการเรียนรูเปน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพจากรายละเอียดดังกลาวตาม หลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑(ฉบับปรับปรุง ๒๕๖๐) กลุมสาระการเรียนรูการ งานอาชีพไดนามาเปนแนวทางในการจัดทาหลักสูตรของสถานศึกษา ที่สนองตอบต อหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน และปรบั ใหสอดคลองกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและโลกปจจุบันเพื่อพัฒนาเด็กและ เยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให มีคุณภาพดานความรู และทักษะที่จาเปนสาหรับการ ดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงและแสวงหาความรูเพ่ือพัฒนาตนเองอยางตอเน่ืองตลอดชีวิต พร้อม สารวจความพรอ้ มในเกย่ี วกับเครื่องมอื หรือสัญญาณอินเทอร์เนต็ ของนักเรยี น เพื่อใช้ในการเรียนการสอนแบบ On – Demand ในชว่ งสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ข้ันตอนที่ ๒ (D - Do) : ลงมือปฏิบัติ สร้างสื่อนวัตกรรมการเรียนรู้ สื่อการสอน สื่อการสอน การดูแล รกั ษาของใชภ้ ายในบา้ น ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๖ ภายใตว้ ถิ ีชวี ติ ใหม่ ทางช่องทาง Youtube Channel และสง่ ลง้ิ การสอนให้กับนกั เรียนผา่ นกลมุ่ ไลน์ห้องเรียนเพื่อให้นักเรยี นไดศ้ กึ ษา ข้ันตอนที่ ๓ (C - Check) : ประเมนิ ประเมินตามสภาพจริง ให้นักเรียนทาใบงานเกี่ยวกับการดูแลรักษา ของใชภ้ ายในบา้ น เพื่อให้ทราบว่าตอ้ งปรบั ปรงุ แก้ไขปัญหาอย่างไร

๙ ข้ันตอนท่ี ๔ (A - Act) : ปรับปรุงแก้ไข นาผลท่ีได้จากประเมินมาวิเคราะห์ว่านักเรียนไม่เข้าใจเน้ือหา อะไรบ้าง หรือมีข้อไหนท่ีควรจะต้องปรับปรุงแก้ไข เพื่อนามาพัฒนาส่ือนวัตกรรมให้ดีข้ึน มีการนาเสนอสื่อ นวัตกรรมต่อศึกษานิเทศประจากลุ่มโรงเรียนและคณะอนุกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและ นิเทศตดิ ตามการจัดการศกึ ษา (อ.ก.ต.ป.น.) เพือ่ ปรับปรุงแก้ไข หรอื พัฒนานวัตกรรมให้ดยี ง่ิ ข้นึ ภาพการนาเสนอสื่อนวัตกรรมตอ่ ศกึ ษานิเทศประจากลุม่ โรงเรยี นและคณะอนุกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนเิ ทศติดตามการจัดการศกึ ษา (อ.ก.ต.ป.น.)

๑๐ ๓.๓ ประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน ๑. ครูชแ้ี จงให้นกั เรยี นรูเ้ กยี่ วกับการเรียนการสอนแบบ On – Demand โดยครูให้คาแนะนากบั ผปู้ กครองและนกั เรียนอย่างใกล้ชิดและแจกใบงานสาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนพรอ้ มให้คาแนะนาใน การทาใบงาน และช่องทางการรบั ชมส่ือนวตั กรรมเรอ่ื งการดแู ลรักษาของใช้ภายในบ้าน และมกี ารให้ คาปรึกษาผ่านทางไลน์ครูประจาชนั้

๑๑ ๒. นกั เรยี นดูและศึกษาส่อื โดยเรียนรผู้ ่านทางช่องทาง Youtube Channel ตามลิง้ ทคี่ รไู ดส้ ง่ ให้กับนักเรยี น

๑๒

๑๓ ๓. นกั เรียนปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ไดร้ บั มอบหมายเรื่องการดแู ลรักษาของใชภ้ ายในบ้านตามความเขา้ ใจของ นกั เรียนหลงั จากได้รับชมส่อื การสอนแลว้

๑๔ ๓.๔ การใช้ทรัพยากร เนือ่ งด้วยโรงเรียนวัดแคเป็นโรงเรียนขนาดกลางมีงบประมาณค่อนข้างจากัดมีอุปกรณ์เทคโนโลยีใน การสนบั สนนุ การสอนไมม่ ากนัก ครูผู้สอนจึงต้องใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดความคุ้มค่าไม่ว่าจะเป็นทรัพยากร ส่วนตัวหรอื ของหน่วยงานให้เกิดประโยชน์สูงสดุ โดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงาน คือความพอประมาณ ความมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกัน และเงื่อนไข ความรู้ คุณธรรม กล่าวคือ มี ความพอประมาณในการใช้งบประมาณ ความมีเหตุผลในการใช้งบประมาณ คานึงถึงความคุ้มค่าในการใช้ งบประมาณจึงจะเกิดภูมิคุ้มกันป้องกันความเส่ียงท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต รวมทั้งต้องมีความรู้ในเร่ืองการใช้ งบประมาณ ต้องศกึ ษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในการใช้งบประมาณ ตามเง่ือนไขความรู้ และใช้งบประมาณให้ เป็นไปตามระเบียบ ข้อบังคับและกฎหมาย ให้เกดิ ความโปร่งใสสามารถตรวจสอบได้ ตามเงอ่ื นไขคณุ ธรรม ๔. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชนท์ ี่ได้รับ ๔.๑ ผลทเี่ กดิ ตามจุดประสงค์ ๑. มีส่ือนวตั กรรมการเรียนร้เู รื่อง สอ่ื การสอน สื่อการสอน สื่อการสอน การดูแลรักษาของ ใช้ภายในบ้าน ระดับช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภายใต้วถิ ีชวี ิตใหม่ ผ่านช่อง Youtube Channel ๒. นกั เรยี นมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกับ การดแู ลรกั ษาของใชภ้ ายในบา้ น ๔.๒ ผลสัมฤทธขิ์ องงาน จากทนี่ ักเรยี นได้เรียนรจู้ ากส่อื การสอนการดแู ลรกั ษาของใชภ้ ายในบา้ น ระดับชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ภายใตว้ ถิ ชี ีวติ ใหม่ ผ่านชอ่ ง Youtube Channel พบวา่ นักเรียนมีความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรกั ษา โดยสรปุ ผลเปน็ คะแนนได้ดังนี้ ๔.๓ ประโยชน์ท่ไี ด้รับ ๑. เพือ่ ให้นกั เรยี นไมเ่ บื่อหน่ายกับการสอนหรือการเรียนรู้แบบเดิม ๆ อีกทั้งยังช่วยดึงดูดให้ นกั เรยี นมีความสนใจในการเรยี นมากข้ึน ๒. เพื่อให้นักเรียนร้จู กั การใช้วสั ดุทง้ั อุปกรณท์ มี่ ใี นบ้านได้อย่างถูกต้องและสามารถจัดเก็บได้ ถกู วิธี ๓. สามารถเรยี นรูไ้ ดด้ ว้ ยตนเอง โดยปราศจากข้อจากัดดา้ นเวลา และสถานทีใ่ นการเรยี นรู้ ๔. เกดิ การแลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกนั ของครูทงั้ โรงเรยี น ในกิจกรรมทโ่ี รงเรียนจดั ขนึ้ ๕. เผยแพร่สื่อการสอนทางช่องทางต่าง ๆ เช่น กลุ่ม Facebook, Youtube เพื่อเป็นการ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรียน ๖. เป็นสื่อท่ีใช้ในการจัดกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดหมายของ หลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน มาตรฐาน และตัวชี้วัด ท่ีนาไปสู่ การปฏิบัตโิ ดยเฉพาะสมรรถนะสาคัญของผ้เู รียนที่มุ่งให้เกิด ความสามารถในการส่ือสารและความสามารถใน การคิด ๗. เปน็ หลกั ฐานหรอื รอ่ งรอยในการพฒั นาผ้เู รยี นให้มกี ระบวนการคดิ ในช่วง สถานการณ์โรค ติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา และนวัตกรรมน้ีสามารถนามาใช้เพ่ือให้นกั เรยี นใช้เวลาว่างในการศกึ ษาได้ตลอดเวลาซึ่งได้ ท้ังความรู้และและการไดใ้ ช้เทคโนโลยี

๑๕ ๘. เป็นส่ือที่มีการนากลวิธีการสอนรูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี การจัดการ เรียนรโู้ ดยใช้เทคโนโลยี เปน็ การเรยี นรทู้ ีม่ ุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ว่าขณะนี้มี เทคโนโลยี มีความกว้าหน้าก้าว ไกลไปในลักษณะรูปแบบไดบ่างท้ังทางด้านวัสดุ อุปกรณ์ และ วิธีใหม่ๆ ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ และ ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยี มาเป็นเคร่ืองมือใน การเรียนรู้ของตนเองและงานมาใช้ควบคู่กับการจัดการเรียนรู้ เชน่ การศึกษาคน้ คว้าด้วย ตนเอง ๕. ปจั จัยความสาเร็จ ๑. มีการประชมุ ครูร่วมทา PLC ใหท้ ราบถงึ ปัญหาการเรียนการสอนในชว่ งการแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื โคโรนาไวรสั ๒๐๑๙ ก่อนการผลติ สอ่ื นวัตกรรม ๒. ได้รับการนเิ ทศติดตามการจัดการเรยี นการสอนของครูโดยผู้บรหิ าร ๓. ประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยีเหมาะสมกบการพัฒนาทกั ษะการเรยี นรขู้ องนกั เรยี น ในช่วงการแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้อื โคโรนาไวรสั ๒๐๑๙ ๔. ครูมคี วามพรอ้ มและความต้ังใจในการนาประสบการณท์ างานมาสรา้ งสื่อนวตั กรรมสาหรบั การ จดั การเรยี นการสอน ๕. ครูมรี ายงานการจัดการเรียนการสอนของนักเรยี นทุกสัปดาห์เพอื่ ติดตามประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องนักเรียน ๖. ครแู ละนกั เรียนกล้าที่จะก้าวข้ามขีดจากัดของตนเอง กล้าคิด กลาลงมือทาอะไรใหม่ ๆ ให้เท่าทัน กบั ยุคปัจจุบันเพอ่ื พฒั นาตนเองให้เต็มศักยภาพ เรยี นรูร่วมกัน

๑๖ ๖. บทเรียนทีไ่ ด้รับ ๑. สอ่ื นวตั กรรมการจัดการเรียนการสอนผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ Youtube Channel รายวิชาการงาน อาชีพทาใหน้ กั เรยี นเรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเองในการศกึ ษาหาความรู้ และพฒั นาเปน็ ความร้ทู ี่คงทนเหมาะสมกับการ เรียนการสอนในช่วงสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ๒. ผู้เรียนได้ใช้เทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการเรียนวิชาการงานอาชีพ และสามารถศึกษาเรียนรู้ เพิม่ เติมได้ดว้ ยตนเองได้ตลอดเวลา โดยปราศจากข้อจากัดด้านเวลา โดยใช้การจัดการเรียนการสอน ผ่านสื่อ ออนไลนท์ างชอ่ งทาง Youtube Channel ให้เป็นประโยชนใ์ นการแลกเปล่ียน เรียนรู้ด้านการจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอน และสามารถเผยแพรใ่ หผ้ ู้อ่นื ได้ศึกษา ๓. นวตั กรรมการจดั การเรียนการสอนผ่านช่องทาง Youtube Channel รายวิชาการงานอาชีพเป็น ส่อื ในการจัดกิจกรรม การเรยี นรกู้ ารปลูกฝงั ให้ผู้เรยี นรูจ้ กั การอ่าน ฟงั และเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ๔. ในการนานวัตกรรมไปใช้นนั้ ครตู ้องจดั การเรยี นรู้แบบใหน้ ักเรียนปฏบิ ัตจิ รงิ นักเรียนเป็น ศนู ย์กลางการเรยี นรู้ เพื่อส่งเสรมิ ให้การเรียนการสอนมชี ีวติ ชีวาช่วยให้ผู้เรียนไดศ้ ึกษาค้นควา้ และเรียนรู้ดว้ ย ตนเอง เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ดว้ ย ตนเอง เชน่ การสอน การลงมอื ปฏบิ ัติจรงิ จะชว่ ยใหน้ กั เรียน เกิดความรู้ (K ) ทักษะการทางาน (P ) และ เกิดเจตคติท่ดี ี (A ) ในการทางานต่างๆ ที่ครูมอบหมาย ๗. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ/รางวลั ที่ได้รบั สอ่ื การสอื่ การสอนการดูแลรักษาของใช้ภายในบ้าน ระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖ภายใต้วิถีชีวิตใหม่ ในรายวิชาการงานอาชีพ เป็นจัดการเรียนการสอนผ่านส่ือออนไลน์ผ่านช่องทาง Youtube Channel ซึ่ง เป็นการส่ือการเรียนรู้แบบออนไลน์เผยแพร่เป็นแบบสาธารณะให้กลุ่มนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ หรือ บุคคลท่มี คี วามสนใจไดศ้ ึกษาเรียนรู้ดว้ ย เพื่อเปน็ ส่ือให้คณุ ครูท่ีรับผิดชอบการสอนรายวิชาการงานอาชีพศึกษา นาไปใชใ้ นการจัดการเรียนการสอน หรอื ศกึ ษาข้อมูลเพ่มิ เตมิ ได้

๑๗ ภาคผนวก

๑๘ ช่อื ผลงาน สอ่ื การส่ือการสอ่ื การสอนการดแู ลรกั ษาของใช้ภายในบ้าน ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๖ภายใต้ วถิ ีชีวิตใหม่ ในรายวิชาการงานอาชพี รหสั วิชา ง ๑๖๑๐๑ จัดทาโดย นางสมพร พรหมมายนต์ ตาแหน่ง ครู อัตราจา้ ง กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

๑๙ หนังสอื เขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 1 เร่อื ง การส่งผลงานนวัตกรรมการบริหารและจัดการเรยี นรภู้ ายใตว้ ถิ ีชีวติ ใหม่

๒๐ แผนการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรียนรู้ การงานอาชีพ ระดับช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๑ เรือ่ งงานบ้าน จานวน ๖ ชั่วโมง แผนการจดั การเรียนรู้ ๑เรื่อง การดูแลรักษาสมบตั ิภายในบา้ น เวลา ๑ ชวั่ โมง ************************************************************************************************** วันทีส่ อน……………….เดือน………………………พ. ศ………………………. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ง 1.1 เข้าใจการทางาน มคี วามคิดสร้างสรรค์ มีทกั ษะกระบวนการทางาน ทกั ษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทักษะการทางานรว่ มกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มคี ุณธรรม และลกั ษณะนสิ ยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรและสิง่ แวดลอ้ ม เพอื่ การดารงชวี ติ และครอบครัว ตวั ชี้วัด ง 1.1 ป.6/1 อภปิ รายแนวทางในการทางานและปรับปรุงการทางานแต่ละขน้ั ตอน ง 1.1 ป.6/2 ใช้ทกั ษะการจัดการในการทางาน และมีทักษะการทางานร่วมกัน ง 1.1 ป.6/3 ปฏิบตั ิตนอย่างมีมารยาทในการทางานกบั ครอบครวั และผู้อื่น จุดประสงค์การเรียนรู้ (KPA) 1. อธบิ ายการดูแลรักษาสมบัติภายในบ้าน (K) 2. จดั ทาหนังสือเล่มเลก็ เกย่ี วกับการดแู ลรักษาสมบตั ิภายในบ้าน (P) 3. เหน็ คุณค่าของการดูแลรกั ษาสมบัตภิ ายในบ้าน (A) สาระสาคัญ สมบตั ภิ ายในบ้าน เปน็ สิง่ อานวยความสะดวกในการใชช้ วี ติ ประจาวัน ถา้ รจู้ ักวิธกี ารใชง้ านอยา่ งระมดั ระวัง และดแู ลรักษาอยา่ งถูกวธิ ี จะช่วยยืดอายุการใช้งานใหย้ าวนานข้ึน สาระการเรียนรู้ การดูแลรักษาสมบัตภิ ายในบ้าน สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๑. พอเพียง ๒. ใฝเ่ รียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทางาน

๒๑ กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. นักเรยี นร่วมกนั สังเกตภาพ แลว้ ตอบคาถามร่วมกนั ดงั น้ี  จากภาพเปน็ หอ้ งใดภายในบ้าน (ห้องรบั แขก)  เครื่องเรอื น เครื่องใชไ้ ฟฟา้ ที่เห็นในภาพมอี ะไรบ้าง (ตวั อย่างคาตอบ โซฟา โตะ๊ ชั้นวางของ ต้โู ชว์ โทรทัศน์ โคมไฟฟ้า)  เมื่อเห็นภาพนแี้ ลว้ รู้สกึ อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ หอ้ งไมส่ ะอาด มีหยากไย่ ใยแมงมุม ฝุ่นผง)  ถา้ ห้องทบี่ ้านของนักเรียนเป็นลกั ษณะเชน่ นี้ นักเรยี นจะทาอยา่ งไร (ตวั อยา่ งคาตอบ ทาความสะอาด ปัด กวาด เช็ด ถเู ป็นประจา) 2. นกั เรยี นร่วมกนั ศกึ ษาและรวบรวมขอ้ มลู เก่ียวกับการดูแลรกั ษาสมบตั ภิ ายในบ้าน จากแหล่งการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลาย เช่น หนงั สือเรียน อินเทอร์เน็ต

๒๒

๒๓ 3. นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกับหลกั การดแู ลรักษาสมบัติภายในบา้ น โดยเขยี นเปน็ แผนภาพความคดิ บนกระดาน ดังตัวอยา่ ง หากพบวา่ ชารดุ ควรซอ่ มแซม ใชง้ านอยา่ งระมัดระวงั หลักการ ทาความสะอาด ดูแลรกั ษาสมบตั ิ เล่ือน จดั เก็บเครื่องเรอื น เลอื กอุปกรณ์ ด้วยความระมดั ระวงั ภายในบา้ น ทาความสะอาด ใหเ้ หมาะสมกับชนดิ ศึกษาวธิ กี าร กอ่ นทาความสะอาด

๒๔ 4. นกั เรยี นรว่ มกนั คดิ ประเมินเพอ่ื เพมิ่ คุณค่า โดยการตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ดังน้ี  นักเรียนจะดูแลสมบตั ิภายในบ้านอยา่ งไรให้มีอายกุ ารใช้งานยาวนาน (ตัวอยา่ งคาตอบ ทาความสะอาดเปน็ ประจา) 5. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ตามความเหมาะสม แตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั ออกแบบและจดั ทาหนงั สือเลม่ เลก็ เก่ยี วกบั หลักการดูแลรักษาสมบัติภายในบ้าน 6. นักเรยี นรว่ มกนั สรปุ สิง่ ทเ่ี ข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้ สมบัตภิ ายในบ้าน เปน็ ส่งิ อานวยความสะดวกในการใชช้ วี ิตประจาวัน ถ้ารูจ้ กั วิธกี ารใช้งาน อย่างระมัดระวงั และดูแลรักษาอย่างถกู วิธี จะช่วยยืดอายกุ ารใชง้ านใหย้ าวนานขนึ้ 7. นักเรียนแต่ละกลมุ่ รว่ มกันนาเสนอผลงานหนังสือเลม่ เล็กเก่ยี วกับการดูแลรักษาสมบัติภายในบ้าน ของกลมุ่ ตนเอง ประกอบการอธิบายหนา้ ช้นั เรยี น 8. นกั เรียนรว่ มกนั อภิปรายสรุปเก่ียวกบั วธิ ีการทางานให้เห็นการคดิ เชงิ ระบบและวิธีการทางาน ทีม่ ีแบบแผน 9. นกั เรยี นร่วมกนั นาผลงานหนังสอื เล่มเล็กไปมอบใหห้ อ้ งสมดุ โรงเรยี นหรือห้องสมดุ ชุมชน เพ่อื เผยแพร่ความรูใ้ หก้ ับผู้ท่ีสนใจไดศ้ กึ ษา 10. นักเรียนประเมนิ ตนเอง โดยเขยี นแสดงความรสู้ กึ หลงั การเรียนและหลังการทากิจกรรม ในประเดน็ ต่อไปน้ี • ส่งิ ที่นักเรยี นไดเ้ รยี นรู้ในวันน้คี ืออะไร • นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มกิจกรรมในกลุม่ มากนอ้ ยเพยี งใด • เพ่ือนนักเรียนในกล่มุ มสี ่วนร่วมกจิ กรรมในกลุ่มมากน้อยเพยี งใด • นักเรียนพึงพอใจกบั การเรียนในวนั นหี้ รือไม่ เพียงใด • นกั เรยี นจะนาความรทู้ ี่ได้นไี้ ปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ กต่ นเอง ครอบครัว และสังคมท่ัวไป ได้อยา่ งไร จากนั้นแลกเปล่ียนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขน้ั ตอนวา่ จะเพม่ิ คุณค่าไปสู่สงั คม เกิดประโยชน์ตอ่ สงั คมใหม้ ากข้นึ กวา่ เดิมในขั้นตอนใดบ้าง สาหรับการทางานในครง้ั ตอ่ ไป สื่อ/แหล่งการเรยี นรู้ 1. หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน การงานอาชพี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6ของสถาบันพฒั นาคุณภาพวชิ าการ 2. ภาพหอ้ งรับแขก 3.กระดาษสาหรับทากิจกรรม ใบงาน 4. แหลง่ การเรียนรู้ทง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 5.คลปิ วดี โี อการสอน เรอ่ื ง การดูแลรกั ษาของใชภ้ ายในบา้

๒๕ การวัดและประเมินผล วธิ กี ารวดั เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ สง่ิ ที่ตอ้ งการวดั นกั เรยี นสามารถ แบบสังเกต ด้านความรู้ (K) อธิบายวิธีการ พฤติกรรม นกั เรียนสามารถอธบิ ายไดม้ ากกวา่ ร้อยละ รักษาสมบัตภิ ายใน ๗๐ - อธิบายวิธีการเกบ็ รักษารักษา ชนิ้ งาน สมบตั ภิ ายในบา้ น (K) บ้าน ผ่านเกณฑ์ระดับ ๒ ข้ึนไป แบบประเมนิ เกณฑ์การตรวจช้ินงาน ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ตรวจช้ินงาน พฤตกิ รรม ๑. สรา้ งชิน้ งานสาเร็จ หมายถงึ ๓ 2. จดั ทาหนังสอื เลม่ เล็กเกยี่ วกับ ๒. สร้างชน้ิ งานเสร็จ บางส่วน หมายถึง ๒ การดูแลรกั ษาสมบัตภิ ายในบ้าน ประเมินพฤติกรรม ๓. สรา้ งชิ้นงานไม่สาเร็จ หมายถึง ๑ (P) คุณลกั ษณะท่ีพงึ ผ่านเกณฑร์ ะดับ ๒ ดา้ นเจตคติ/คณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงค์ ขน้ึ ไป ประสงค์ (A) 3. เห็นคณุ ค่าของการดแู ลรกั ษา สมบตั ภิ ายในบ้าน (A)

ประเดน็ การประเมิน การประเมิน ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ๒๖ ปรับปรุง (๐) เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนน ดี (๒) พอใช้ (๑) มเี จตนคตทิ ด่ี ีต่อ สนใจและต้งั ใจร่วม สนใจและตง้ั ใจร่วม สนใจและตงั้ ใจรว่ ม วฒั นธรรมไทย กิจกรรมการเรียน กจิ กรรมการเรยี น กจิ กรรมการเรียน และภาษาไทย ภาษาไทยอยา่ งสนุกสนาน ภาษาไทยอย่างสนกุ สนาน ภาษาไทยอย่างสนกุ สนาน และมีความสขุ ตลอดเวลา และมีความสขุ เกือบ และมีความสขุ เป็น ตลอดเวลา บางครง้ั มคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้ กล้าซักถามกล้าพดู กลา้ กล้าซกั ถามกลา้ พดู กล้า กลา้ ซกั ถามกล้าพดู กลา้ แสดงความคิดเหน็ และ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ โตแ้ ย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง โต้แยง้ ในสิง่ ท่ไี มถ่ กู ต้อง โต้แยง้ ในสงิ่ ท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง กลา้ แสดงออก กลา้ แสดงออก กล้าแสดงออก ช่วยเหลอื และทางาน ให้ความรว่ มมือและ ใหค้ วามรว่ มมือและ ให้ความรว่ มมือและ ร่วมกบั ผูอ้ ่ืนได้ ช่วยเหลอื เพอ่ื นเป็น ช่วยเหลอื เพอ่ื นทุกครงั้ ใน ชว่ ยเหลือเพอื่ นเกือบทกุ บางคร้ังในการทากจิ กรรม การทากิจกรรม ครัง้ ในการทากิจกรรม มีความรอบคอบในการ มกี ารตรวจสอบแกไ้ ขการ มีการตรวจสอบแก้ไขการ มีการตรวจสอบแก้ไขการ ทางาน กระทาทไ่ี มถ่ ูกตอ้ งทุกครงั้ กระทาท่ีไมถ่ ูกต้องเกอื บ กระทาทีไ่ ม่ถูกต้องเปน็ ทาใบงานได้สะอาด ทุกครั้ง ทาใบงานได้ บางครั้งทาใบงานไม่คอ่ ย เรยี บรอ้ ยและถกู ตอ้ ง สะอาดเรยี บร้อย สะอาดเรียบรอ้ ย ประหยดั และอยู่อยา่ ง ใชว้ สั ดุอุปกรณ์การเรยี นท่ี ใชว้ ัสดุอุปกรณ์การเรยี นที่ ใชว้ สั ดอุ ุปกรณ์การเรียนท่ี พอเพยี ง ราคาถกู และใช้อย่าง ราคาคอ่ นข้างแพงและใช้ ราคาคอ่ นขา้ งแพงและใช้ คุ้มค่าใช้จนหมดแลว้ คอ่ ย อยา่ งค้มุ คา่ ใชจ้ นหมด อยา่ งคุ้มค่าใช้ไม่หมดแล้ว ซอ้ื ใหม่ ซอ้ื ใหม่

๒๗ แบบบนั ทึกผลการประเมนิ การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลข ด้านคุณลักษณะอนั พึง ดา้ น ท่ี ประสงค์ ผลงาน ชอื่ – สกุล ีมเจตค ิตที่ ีด ่ตอ ัวฒนธรรมและ ภีมาคษวาามสนใจใฝ่เ ีรยน ู้ร ช่วยเหลือและทางาน ่รวม ักบ ีผู้มอ่ืควนามรอบคอบในการทางาน ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง รวมคะแนน ้ดาน ุคณ ัลกษณะ ฯ ผลสาเ ็รจอง ิ้ชนงาน ่สงงานตรงตามเวลา ทางานไ ่มตรงตามกาหนด ผ่าน / ไ ่มผ่าน ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๓ ๒ ๑ ๑ เด็กชาย วีรวฒั น์ คุ้มสพุ รรณ ๒ เดก็ ชายนภสั กร บุญสะ ๓ เดก็ ชายประกาศิต ศรสี ุทธิ ๔ เดก็ ชายทศพร จะรริ ัมย์ ๕ เดก็ ชายปราการชัย ศรบี ตุ รตา ๖ เดก็ ชายบัณฑติ ยูรสงค์ ๗ เด็กหญิงปีใหม่ นลิ ยไทร ๘ ณัฐตยิ า มอญภาษา ๙ เด็กชายนพสิทธิ์ ขาวแก้ว ๑๐ เดก็ หญงิ ปิยะนันท์ เขียวสขุ ๑๑ เด็กหญงิ สภุ ชั ชา บู่สวุ รรณ ๑๒ เดก็ ชายจิตวตั สาขจร ๑๓ พารา ไม

๒๘ ๑๔ เดก็ หญิงสาหรี่ พงษ์ ๑๕ เดก็ ชายอภริ ักษ์ แตงอไุ ร ๑๖ เดก็ ชายสันต์ เสย ๑๗ เด็กชายโยวดี ๑๘ เด็กชายพฤทธ์ิ สว่างวรวงษ์ ๑๙ เดก็ หญิงวารณุ ี แหวนครฑุ ๒๐ เด็กหญงิ พิม บญุ แกว้ ๒๑ เด็กหญงิ เอมมิกา ชา้ งมณี ๒๒ เด็กชายธาวนิ อ่อนหวาน ๒๓ เดก็ ชายวรเมธ ทะแดง ๒๔ เดก็ หญงิ สุพรรษา ศรีสุกใส ๒๕ เด็กชายวาณชิ ย์ แตงอไุ ร ๒๖ เด็กชายนฤภทั ร์ ขาวละมลู ๒๗ เดก็ ชายวรายุทธ จนั ทรแ์ หว่ ความหมายระดบั คุณภาพ ๓ หมายถงึ ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๘ – ๑๐ =๓ ๕– ๘ =๒ ๒ หมายถึง พอใช้ เกณฑ์ระดบั คะแนน ๐ -๔ =๑ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ เกณฑก์ ารผ่าน ไดค้ ะแนน ๑ ข้ึนไป ลงชอ่ื ...........................................ผปู้ ระเมิน ( นางสมพร พรหมมายนต)์

๒๙ ความคิดเห็น / ขอ้ เสนอแนะของผู้บริหารสถานศึกษา / ผู้ทไี่ ด้รบั มอบหมาย 1. ความคิดเหน็ ของหัวหน้าวิชาการ ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ มีความคดิ เห็นดังน้ี ๑.๑ องคป์ ระกอบของแผนการจัดการเรยี นรู้  ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง  ยังไมค่ รบถว้ นหรือไมถ่ กู ตอ้ ง ควรปรบั ปรงุ พฒั นาตอ่ ไป ๑.๒ ความสอดคลอ้ งของแผนการจัดการเรียนรกู้ บั หลกั สูตรสถานศกึ ษา  สอดคล้อง  ยังไมส่ อดคลอ้ ง ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป ๑.๓ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้  เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคญั  ยงั ไม่เนน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคัญ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๔ สอื่ การเรียนรู้  เหมาะสมกบั แผนการจดั การเรียนรู้  ยังไมเ่ หมาะสมกับแผนการจดั การเรยี นรู้ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๕ การประเมินผลการเรยี นรู้  ครอบคลุมจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้  ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๖ ขอ้ เสนอแนะอ่ืน ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................... (นางสาวธนัญญา สกุลซ้ง) หัวหน้าวิชาการ ๒. ความคิดเหน็ ของผูบ้ ริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ......................................... (นางรชั ดาวัลย์ ศรีสวัสด)์ิ ผอู้ านวยการโรงเรยี นวัดแค

๓๐ บันทึกผลหลังการสอน ๑. ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒. ปัญหาและอุปสรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๓. ขอ้ เสนอแนะ/ แนวทางแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ....................................................... (นางสมพร พรหมมายนต์) ตาแหน่ง ครู วนั ท่ี ................เดอื น................................พ.ศ....................

๓๑ แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพ ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ืองงานบา้ น จานวน ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรยี นรู้ ๒ เร่อื ง ประโยชน์ของการดแู ลรกั ษาสมบัติภายในบา้ น เวลา ๑ ชัว่ โมง ************************************************************************************************** วันทส่ี อน……………….เดอื น………………………พ. ศ………………………. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ง 1.1 เขา้ ใจการทางาน มีความคดิ สร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทางาน ทกั ษะการจดั การ ทักษะกระบวนการแกป้ ญั หา ทกั ษะการทางานร่วมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลักษณะนิสยั ในการทางาน มีจติ สานึกในการใชพ้ ลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพ่ือการดารงชีวิต และครอบครัว ตัวชี้วัด ง 1.1 ป.6/1 อภิปรายแนวทางในการทางานและปรับปรงุ การทางานแต่ละขน้ั ตอน ง 1.1 ป.6/2 ใช้ทักษะการจัดการในการทางาน และมีทักษะการทางานรว่ มกัน ง 1.1 ป.6/3 ปฏบิ ัติตนอย่างมีมารยาทในการทางานกับครอบครัวและผู้อ่ืน จุดประสงค์การเรยี นรู้ (KPA) 1. บอกประโยชนข์ องการดแู ลรกั ษาสมบัติภายในบ้านไดถ้ กู ตอ้ ง (K) 2. เขยี นแผนภาพความคดิ ผลของการดแู ลรักษาสมบัตภิ ายในบา้ น (P) 3. เห็นความสาคญั ของประโยชนจ์ ากการดแู ลรักษาสมบัติภายในบ้าน (A) สาระสาคญั การดูแลรักษาสมบตั ิภายในบ้านอยา่ งถกู วธิ ี ทาให้สิง่ ของเครือ่ งใช้ท่ีอยู่ภายในบ้านใชง้ านได้ยาวนานไมช่ ารดุ เสียหาย สาระการเรยี นรู้ ประโยชน์ของการดูแลรักษาสมบัตภิ ายในบ้าน สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

๓๒ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๔. พอเพียง ๕. ใฝ่เรียนรู้ ๖. มงุ่ มน่ั ในการทางาน กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเกีย่ วกับการดแู ลรกั ษาสมบัติภายในบา้ น โดยร่วมกันตอบคาถาม ดงั นี้  นกั เรียนเคยดแู ลรักษาสมบัติภายในบา้ นอะไรบ้าง (ตวั อย่างคาตอบ โตะ๊ ตูเ้ สือ้ ผ้า เตยี งนอน โซฟา)  นกั เรยี นเคยดูแลรกั ษาสมบัติภายในบ้านดว้ ยวิธีการใด (ตวั อยา่ งคาตอบ ทาความสะอาด ปัดฝุ่น เช็ดใหด้ ูสะอาดอยู่เสมอ)  อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการดูแลรกั ษาสมบตั ิภายในบา้ นท่ีนักเรียนเคยใช้มีอะไรบ้าง (ตวั อยา่ งคาตอบ ไม้กวาดขนไก่ ผา้ ถงั นา้ ไมก้ วาด ไม้ถูพืน้ ) 2. นกั เรยี นร่วมกนั ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกบั ประโยชน์ของการดูแลรักษาสมบัติภายในบา้ น จากแหล่งการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลาย เชน่ หนงั สือเรียน อนิ เทอรเ์ นต็ 3. นกั เรียนแบ่งกล่มุ ตามความเหมาะสม แตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั บอกประโยชนข์ องการดแู ลรกั ษาสมบตั ภิ ายใน บา้ น โดยเขียนเปน็ แผนภาพความคดิ บนกระดาน ดงั ตวั อย่าง ประหยดั รายจ่ายของ สมบตั ภิ ายในบา้ น ฝกึ ใหร้ ู้จกั หน้าท่ี ครอบครวั ในการซอ่ มแซม สะอาด สวยงาม นา่ ใช้ และความรับผิดชอบในฐานะ หรอื ซ้ือใหม่ ประโยชนข์ อง สมาชิกคนหนงึ่ ในบา้ น การดูแลรักษาสมบัติ สร้างลักษณะนสิ ยั ที่ดีในการใช้ ยดื อายกุ ารใชง้ านของสมบัติ ส่ิงของอยา่ งรู้คุณค่า ภายในบา้ น ภายในบา้ น

๓๓ 4. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ ร่วมกนั วเิ คราะห์เกี่ยวกับการดแู ลรักษาสมบตั ิภายในบ้าน ผลที่เกิดข้ึนเม่ือปฏบิ ัติ และไม่ปฏบิ ตั ิ บนั ทึกลงในแผนภาพความคดิ ดังตัวอยา่ ง ถ้าปฏิบัติ ผลทีเ่ กดิ ขนึ้ (สมบตั ภิ ายในบ้านพร้อมใช้งาน การดูแลรักษาสมบัติภายในบา้ น สามารถใชง้ านไดย้ าวนาน (ทาความสะอาดเป็นประจา และดใู หมเ่ สมอ) ตรวจสอบสภาพของสมบตั ิ ภายในบ้านให้พรอ้ มใชง้ าน ผลทเี่ กดิ ขน้ึ (สมบัติภายในบ้านมีอายุการใชง้ าน ถ้าไม่ปฏิบตั ิ สั้นลง ไมส่ ะอาดเหมือนใหม)่ 5. นกั เรยี นร่วมกนั คิดประเมนิ เพ่ือเพิม่ คณุ ค่า โดยการตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ดังนี้  การดแู ลรกั ษาสมบตั ิภายในบ้านมีประโยชน์อยา่ งไร (ตัวอย่างคาตอบ ทาใหส้ มบัติภายในบา้ นมอี ายุการใชง้ านทยี่ าวนานข้ึน) 6. นักเรยี นรว่ มกนั สรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกบั ประโยชน์ของการดูแลรักษาสมบตั ภิ ายในบา้ น ดงั นี้ การดแู ลรักษาสมบตั ภิ ายในบ้านอยา่ งถกู วิธี ทาให้ส่ิงของเครื่องใช้ที่อยูภ่ ายในบ้านใชง้ านได้ยาวนาน ไมช่ ารดุ เสยี หาย สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน การงานอาชพี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6 ของสถาบนั พฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) 2. กระดาษสาหรบั ทากิจกรรม 3. ดนิ สอสี 4. แหลง่ การเรียนรทู้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น 5.คลปิ วีดโี อการสอนเรือ่ งการดแู ลรกั ษาของใชใ้ นบ้าน

๓๔ การวดั และประเมนิ ผล วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ สง่ิ ท่ีตอ้ งการวัด นักเรยี นสามารถ แบบสงั เกต นักเรียนสามารถอธบิ ายได้มากกวา่ ร้อยละ ๗๐ อธิบายประโยขน์ พฤติกรรม ดา้ นความรู้ (K) สมบัตภิ ายในบา้ น 1. บอกประโยชนข์ องการดแู ลรักษา สมบัตภิ ายในบา้ นได้ถกู ตอ้ ง (K) 2 ด้านทักษะกระบวนการ (P) ตรวจชิน้ งาน ผา่ นเกณฑร์ ะดบั ๒ ขึ้นไป 2. เขียนแผนภาพความคดิ ผลของ เกณฑ์การตรวจชน้ิ งาน การดูแลรกั ษาสมบัตภิ ายในบ้าน (P ชน้ิ งาน ๑. สรา้ งชิน้ งานสาเร็จ หมายถงึ ๓ ๒. สร้างชน้ิ งานเสร็จ บางสว่ น หมายถงึ ๒ ๓. สร้างชน้ิ งานไมส่ าเรจ็ หมายถึง ๑ ดา้ นเจตคติ/คุณลกั ษณะอันพึง ประเมนิ พฤตกิ รรม แบบประเมิน ผา่ นเกณฑ์ระดับ ๒ ประสงค์ (A) คุณลักษณะท่พี ึง พฤตกิ รรม ขึ้นไป 3. เห็นความสาคัญของประโยชน์ ประสงค์ จากการดแู ลรกั ษาสมบัตภิ ายในบา้ น (A)

ประเดน็ การประเมิน การประเมิน ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๓๕ ปรับปรุง (๐) เกณฑ์การใหร้ ะดับคะแนน ดี (๒) พอใช้ (๑) มเี จตนคติที่ดีตอ่ สนใจและต้งั ใจร่วม สนใจและต้งั ใจร่วม สนใจและตงั้ ใจรว่ ม วฒั นธรรมไทย กิจกรรมการเรียน กจิ กรรมการเรยี น กจิ กรรมการเรยี น และภาษาไทย ภาษาไทยอยา่ งสนุกสนาน ภาษาไทยอย่างสนกุ สนาน ภาษาไทยอย่างสนกุ สนาน และมีความสขุ ตลอดเวลา และมีความสขุ เกือบ และมีความสุขเป็น ตลอดเวลา บางครง้ั มีความสนใจใฝ่เรยี นรู้ กล้าซักถามกล้าพดู กลา้ กล้าซกั ถามกลา้ พดู กล้า กลา้ ซกั ถามกล้าพดู กลา้ แสดงความคิดเหน็ และ แสดงความคิดเห็นและ แสดงความคิดเห็นและ โตแ้ ย้งในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง โตแ้ ยง้ ในส่ิงท่ไี มถ่ กู ต้อง โต้แยง้ ในสงิ่ ทไ่ี มถ่ ูกตอ้ ง กลา้ แสดงออก กลา้ แสดงออก กล้าแสดงออก ชว่ ยเหลือและทางาน ให้ความรว่ มมือและ ใหค้ วามรว่ มมือและ ให้ความรว่ มมอื และ ร่วมกบั ผ้อู ่นื ได้ ช่วยเหลอื เพอ่ื นเป็น ช่วยเหลอื เพอ่ื นทุกครงั้ ใน ช่วยเหลือเพ่ือนเกือบทกุ บางคร้ังในการทากจิ กรรม การทากิจกรรม คร้ังในการทากิจกรรม มีความรอบคอบในการ มกี ารตรวจสอบแกไ้ ขการ มีการตรวจสอบแก้ไขการ มีการตรวจสอบแก้ไขการ ทางาน กระทาทไ่ี มถ่ ูกตอ้ งทุกครงั้ กระทาท่ไี ม่ถูกต้องเกอื บ กระทาทีไ่ ม่ถูกต้องเปน็ ทาใบงานได้สะอาด ทุกครั้ง ทาใบงานได้ บางครั้งทาใบงานไม่คอ่ ย เรยี บรอ้ ยและถกู ตอ้ ง สะอาดเรยี บร้อย สะอาดเรียบรอ้ ย ประหยดั และอยู่อย่าง ใชว้ สั ดุอุปกรณ์การเรยี นท่ี ใชว้ ัสดุอุปกรณ์การเรยี นที่ ใชว้ สั ดอุ ุปกรณก์ ารเรียนท่ี พอเพยี ง ราคาถกู และใช้อย่าง ราคาคอ่ นขา้ งแพงและใช้ ราคาคอ่ นขา้ งแพงและใช้ คุ้มค่าใช้จนหมดแลว้ คอ่ ย อย่างค้มุ ค่าใชจ้ นหมด อยา่ งคุ้มค่าใช้ไม่หมดแล้ว ซอ้ื ใหม่ ซอ้ื ใหม่

๓๖ แบบบนั ทึกผลการประเมนิ การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ เลข ด้านคุณลักษณะอนั พึง ดา้ น ท่ี ประสงค์ ผลงาน ชอื่ – สกุล ีมเจตค ิตที่ ีด ่ตอ ัวฒนธรรมและ ภีมาคษวาามสนใจใฝ่เ ีรยน ู้ร ช่วยเหลือและทางาน ่รวม ักบ ีผู้มอ่ืควนามรอบคอบในการทางาน ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง รวมคะแนน ้ดาน ุคณ ัลกษณะ ฯ ผลสาเ ็รจอง ิ้ชนงาน ่สงงานตรงตามเวลา ทางานไ ่มตรงตามกาหนด ผ่าน / ไ ่มผ่าน ๒ ๒ ๒ ๒ ๒ ๑๐ ๓ ๒ ๑ ๑ เดก็ ชาย วีรวฒั น์ คุ้มสพุ รรณ ๒ เด็กชายนภสั กร บุญสะ ๓ เดก็ ชายประกาศิต ศรสี ุทธิ ๔ เดก็ ชายทศพร จะรริ ัมย์ ๕ เดก็ ชายปราการชัย ศรบี ตุ รตา ๖ เด็กชายบัณฑติ ยูรสงค์ ๗ เด็กหญิงปีใหม่ นลิ ยไทร ๘ ณฐั ตยิ า มอญภาษา ๙ เด็กชายนพสิทธิ์ ขาวแก้ว ๑๐ เดก็ หญงิ ปิยะนันท์ เขียวสขุ ๑๑ เดก็ หญงิ สภุ ชั ชา บู่สวุ รรณ ๑๒ เดก็ ชายจิตวตั สาขจร ๑๓ พารา ไม

๓๗ ๑๔ เดก็ หญิงสาหรี่ พงษ์ ๑๕ เดก็ ชายอภริ ักษ์ แตงอไุ ร ๑๖ เดก็ ชายสันต์ เสย ๑๗ เด็กชายโยวดี ๑๘ เด็กชายพฤทธ์ิ สว่างวรวงษ์ ๑๙ เดก็ หญิงวารณุ ี แหวนครฑุ ๒๐ เด็กหญงิ พิม บญุ แกว้ ๒๑ เด็กหญงิ เอมมิกา ชา้ งมณี ๒๒ เด็กชายธาวนิ อ่อนหวาน ๒๓ เดก็ ชายวรเมธ ทะแดง ๒๔ เดก็ หญงิ สุพรรษา ศรีสุกใส ๒๕ เด็กชายวาณชิ ย์ แตงอไุ ร ๒๖ เด็กชายนฤภทั ร์ ขาวละมลู ๒๗ เดก็ ชายวรายุทธ จนั ทรแ์ หว่ ความหมายระดบั คุณภาพ ๓ หมายถงึ ดี เกณฑ์ระดับคะแนน ๘ – ๑๐ =๓ ๕– ๘ =๒ ๒ หมายถึง พอใช้ เกณฑ์ระดบั คะแนน ๐ -๔ =๑ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรงุ เกณฑร์ ะดับคุณภาพ เกณฑก์ ารผ่าน ไดค้ ะแนน ๑ ข้ึนไป ลงชอ่ื ...........................................ผปู้ ระเมิน ( นางสมพร พรหมมายนต)์

๓๘ แบบบนั ทกึ ผลหลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ๑. ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ...................................................................................................................................................................... ...... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................ ๒. ปญั หา/อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ......................................................................................................................................................................... ๓. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไขปญั หา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................... ลงชื่อ................................................... ผู้สอน ( นางสมพร พรหมมายนต์ ) ตาแหน่งครอู ตั ราจา้ ง วันที.่ ........เดือน.................... พ.ศ..........

๓๙ ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะของผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษา / ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย 1. ความคดิ เห็นของหัวหน้าวชิ าการ ไดท้ าการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ มีความคดิ เหน็ ดงั น้ี ๑.๑ องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้  ครบถ้วนและถกู ตอ้ ง  ยังไมค่ รบถ้วนหรือไม่ถูกตอ้ ง ควรปรบั ปรุงพฒั นาตอ่ ไป ๑.๒ ความสอดคลอ้ งของแผนการจดั การเรียนรกู้ ับหลกั สูตรสถานศึกษา  สอดคล้อง  ยังไมส่ อดคล้อง ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป ๑.๓ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้  เน้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ  ยังไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาตอ่ ไป ๑.๔ สือ่ การเรียนรู้  เหมาะสมกบั แผนการจัดการเรยี นรู้  ยังไม่เหมาะสมกับแผนการจดั การเรยี นรู้ ควรปรบั ปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๕ การประเมินผลการเรียนรู้  ครอบคลุมจุดประสงค์การเรียนรู้  ยังไม่ครอบคลุมจุดประสงค์การเรยี นรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป ๑.๖ ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................... ลงช่ือ ......................................... (นางสาวธนัญญา สกลุ ซ้ง) หัวหนา้ วชิ าการ ๒. ความคิดเหน็ ของผบู้ ริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ......................................... (นางรัชดาวลั ย์ ศรสี วัสดิ์) ผ้อู านวยการโรงเรยี นวัดแค

๔๐ บันทึกผลหลังการสอน ๑. ผลการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒. ปญั หาและอปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ๓. ข้อเสนอแนะ/ แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ....................................................... (นางสมพร พรหมมายนต์) ตาแหน่ง ครู วนั ท่ี ................เดือน................................พ.ศ....................

๔๑ ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะของผู้บริหารสถานศกึ ษา / ผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย 2. ความคดิ เห็นของหวั หนา้ วิชาการ ไดท้ าการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ มีความคิดเหน็ ดงั น้ี ๑.๑ องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรยี นรู้  ครบถ้วนและถูกต้อง  ยังไม่ครบถ้วนหรอื ไม่ถูกตอ้ ง ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๒ ความสอดคลอ้ งของแผนการจัดการเรียนรู้กับหลักสูตรสถานศึกษา  สอดคลอ้ ง  ยังไม่สอดคล้อง ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป ๑.๓ รปู แบบการจัดการเรยี นรู้  เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคญั  ยังไม่เนน้ ผูเ้ รยี นเป็นสาคญั ควรปรับปรงุ พฒั นาตอ่ ไป ๑.๔ ส่อื การเรียนรู้  เหมาะสมกับแผนการจดั การเรียนรู้  ยังไมเ่ หมาะสมกับแผนการจัดการเรียนรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป ๑.๕ การประเมนิ ผลการเรียนรู้  ครอบคลุมจุดประสงค์การเรยี นรู้  ยงั ไม่ครอบคลุมจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ควรปรับปรุงพฒั นาตอ่ ไป ๑.๖ ข้อเสนอแนะอื่น ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................... ลงชื่อ ......................................... (นางสาวธนัญญา สกลุ ซ้ง) หวั หนา้ วิชาการ ๒. ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชือ่ ......................................... (นางรชั ดาวลั ย์ ศรสี วัสดิ์) ผู้อานวยการโรงเรียนวดั แค

๔๒

๔๓

๔๔

๔๕

๔๖


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook