ยคุ สมยั ของดนตรไี ทย จดั ทำโดย นำยธนโชติ ทรัพยป์ ระสม
คำนำ หนังสือ (E-Book) ยุคสมัยของดนตรีไทยเล่มน้ีจัดทำขึ้นเพ่ือให้ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 3 ปีกกำรศึกษำ 2564 ได้ทบทวนควำมรู้ หลังจำกกำรทำกำรเรียนกำรสอนในรูปแบบออนไลน์ ในช่วงสถำนกำรณ์ Covid-19 โดยเนื้อหำในหนังสือเล่มนี้เป็นเนื้อหำเกี่ยวกับ ยุคสมัยของ ดนตรีไทยได้แก่ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยำ สมัยกรุงธนบุรี สมัยกรุง รัตนโกสินทร์ สำหรับนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ่ี 3 ทำงผู้จดั ทำขอขอบคุณผทู้ ่มี สี ่วนรว่ มในกำรจดั ทำ หนงั สือ (E-Book) ทุก ฝ่ำย อำทิ ฝ่ำยเน้ือหำ ฝ่ำยตอบสอบและคัดกรองข้อมูล เป็นอย่ำงสูงท่ีทำ ให้หนงั สือเลม่ นสี้ ำเร็จลลุ ่วง ผูจ้ ดั ทำขอขอบคุณจำกใจจรงิ ทำงผู้จัดทำหวังเป็นอย่ำงย่ิงว่ำหนังหนังสือ (E-Book) เล่มน้ีจะเป็น ประโยชน์ต่อผู้ที่ได้ทำกำรศึกษำ เน้ือหำในหนังสือเล่มน้ีหำกมีข้อผิดพลำด ประกำรใดทำงผจู้ ัดต้องขออภยั มำ ณ ทน่ี ี้ ผู้จดั ทำ นำยธนโชติ ทรพั ย์ประสม นำยจตพุ ร บวั ประคอง
สำรบญั 1 ยคุ สมยั ของดนตรีไทย 2 สมยั สโุ ขทยั 8 สมัยอยธุ ยำ 10 สมยั กรงุ ธนบรุ ี สมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร์ 11
1 ยคุ สมัยของดนตรีไทย นับต้ังแต่ไทยได้มำต้ังถ่ินฐำนในแหลมอินโดจีน และได้ก่อตั้งอำณำจักรไทยขึ้น จึง เป็นกำรเริ่มตน้ ยคุ แห่งประวัติศำสตร์ไทย ที่ปรำกฎ หลักฐำนเป็นลำยลักษณ์อักษร กล่ำวคือ เม่ือไทยได้สถาปนาอาณาจักรสุโขทัยข้ึน และหลังจำกท่ี พ่อขุน รามคาแหง มหาราช ได้ประดิษฐ์อักษรไทยข้ึนใช้แล้ว นับต้ังแต่นั้นมาจึงปรากฎ หลักฐานด้าน ดนตรีไทย ที่เป็นลายลักษณ์อักษร ท้ังในหลักศิลำจำรึก หนังสือ 4 ยคุ สมัยของดนตรีไทยวรรณคดี และเอกสำรทำงประวตั ิศำสตร์ ในแต่ละยคุ สมยั สโุ ขทัย สมยั อยธุ ยำ สมัยกรงุ ธนบรุ ี สมยั กรงุ รตั นโกสินทร์
2 สมัยสโุ ขทยั ดนตรีไทย มีลักษณะเป็นกำรขับลำนำ และร้องเล่นกันอย่ำงพ้ืนเมือง เก่ียวกับ เครือ่ งดนตรีไทย ในสมยั นี้ ปรำกฎหลักฐำน หลกั ฐำนทป่ี รำกฏ ศลิ าจารกึ พอ่ ขนุ ราม หนงั สือไตรภมู พิ ระรว่ ง กลกั ศลิ าวดั พระยืน ศลิ ำจำรึกพอ่ ขนุ รำม ในศิลาจารึกนี้เป็นแม่บทสาคัญในเรื่องความ เป็นสุโขทัย ว่าด้วยเรื่องเครื่องดนตรี อยู่ในด้าน ที่สอง ตอนหนึ่งว่า “ดํบงคมกลอง ด้วยเสียง พาทย์ เสียงพิณ เสียงเลื้อน เสียงขับ ใครจัก มนั เล่นเลน่ ใครจักมักหัว หวั ใครจกั มักเลื้อย เลื้อย” ข้อความนี้ แสดงให้เห็นว่า ในสมัย สุโขทัยนั้นชาวบ้านมีความสนุกสนานเล่นดนตรี และขับร้องกนั อย่ารื่นเริง
3 หนังสอื ไตรภมู พิ ระร่วง เป็นที่ยอมรบั กนั อยู่แล้วว่าในการ แต่งหนังสือนั้นยอมนาเหตกุ ารณ์ที่ ผู้แต่งได้พบเหน็ แทรกลงไปเมือ่ พิจารณาจากขอ้ ความความใน หนงั สือไตรภูมิพระรวงทีเ่ กีย่ วด้วย ดนตรีขบั ร้องฟอ้ นรา แล้วน้ันมี ความตอนหนึ่งว่า “บางเต้น บางรํา บ้างฟ้อน ระบํา บันลือเพลงดุริยะดนตรี บ้างดีด บ้างตี บ้างสี บ้างเป่า บ้างขับสัพพะสําเนียง เสียงหมู่ นักคุณจุนไป เดียรดาษ พ้ืนฆ้องกลองแตรสังข์ ระฆังกังสดาล มโหระทึกกึกก้อง ทํานุกดี” นอกจากน้ัน ยังมีความอีกตอนหนึ่งที่กล่าวถึงตอนชื่นชมนิยม พระบารมีของสมเด็จพระมหาจักรพัตราธิราช ว่า “แล้วแล ร้อง ก้อง ขบั เสียงพาทย์ เสียงพิณ แตรสังข์ ฟังเสียงกลองใหญ่ แลกลองราม กลองเล็ก แตฉิ่งแฉ่ง บณั เฑาะร์วังเวง ลางคนตีกลอง ตีพาทย์ฆ้อง ตีกรับรบั สพั พทกุ สิง่ ลางจาํ พวกดีดพิณและสีซอพุงตอ แลกันฉิ่ง ริง รําจับระบําเต้นเล่นสารพักคุณท้ังหลาย สัพพดุริยดนตรีอยู่ครืน แครง อลวนเวงดงั แผ่นดินจะถล่ม” ซึง่ ในหนังสือเรื่องไตรภูมิพระร่วง นีเ้ ป็นหลักฐานชิ้นสาคัญทีม่ ีการกล่าวถงึ ดนตรีไทยในสมยั นั้นมากที่สุด
กลกั ศลิ ำวดั พระยนื 4 กลักศิราจารึกวัดพระยืน จังหวัด ลาพูน ซึ่งจารึกในสมันสุโขทัยน้ัน บรรดานักปราชณ์ทางประวัติศาสตร์ ก็ ดู เ ห มื อ น จ ะ เ ห็ น พ้ อ ง ต้ อ ง กั น ว่ า ศิลปกรรมและวัฒนธรรมของสุโขทัย กับลานนาไทยต่างก็เทไปถ่ายมาสู่กัน และกันอยู่เสมอๆ เพราะฉะน้ันก็ จาเป็นที่จะต้องนาหลักฐานทางลาน นาไทยที่ร่วมสมัยกันมาร่วมพิจารณา ด้วย ซึ่งได้แก่ กลักศิราจารึกวัดพระ ยืน จังหวัดลาพูน ซึ่งจารึกใน ปี พ.ศ. ๑๖๑๓ มีความตอนหนึ่งที่กล่าวถึง การรับพระมหาสุมนเถรซึ่งอาราธนา ไปจากสุโขทัย ว่า “ให้ถือกระทง ข้าวตอกดอกไม้ไต้เทียน ตีพาทย์ ดังพิณฆ้องกลอง ป่ีสรรไนพิณเนญ ชัย ทะเทียดกาหลกแตรสังข์มาน กังสดาล มรทงค์คงเลือด เสียงเลิศ เสียงก้อง อีกทั้งคนร้องโห่อื้อดา สะทา้ นทงั้ ทงั้ นครหรกิ ุญชัย แล”
5 เคร่ืองดนตรี ตพี ำทย์ คือการบรรเลง คาว่าพาทย์หรือวาทย์ หมายถึง เครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีและเครื่องเป่า ประกอบกัน เชน่ ปี่ ฆ้อง กลอง ตะโพน และ ฉ่งิ ดังพิณ คือดีดพิณให้มีเสียง เชื่อกันว่าในสมัยสุโขทัยคือ พิณเพี้ยะ หรือพณิ น้าเตา้ ฆอ้ ง ไมม่ ีหลักฐานที่แนช่ ัดวา่ เป็นฆ้องประเภทใด กลอง กลองที่ใช้ในสมัยนี้มีหลายชนิด ต้ังแต่ ทับ บัณเฑาะว์ กลองทัด กลองตุก๊ ปี่สรไน คอื ปี่ไฉน บ้างทา่ นก็กล่าววา่ เป็น ปี่ใน ปี่สรไน คอื ปี่ไฉน บา้ งทา่ นก็กลา่ ววา่ เปน็ ปี่ใน
6 เครื่องดนตรี พิสเนญชัย คือปี่เสนง หรือเขนง คือปี่ท่ีทาจากเขา สตั วห์ รือการเป่าเขานั่นเอง ทะเฑียด คือกลองสองหน้า ใช้ไม้ตีข้างมือตีข้าง ไดแ้ กก่ ลองมลายู กาหล แตรสงั ข์ คอื แตรงอน ดงเดือด มฤทิงค์ หมายถึง กลองทัด หมายถึง กลองตะโพน ซอพงุ ตอ เข้าใจวา่ เป็นซอสามสาย กังสดาล หมายถึง ระฆังวงเดือน
7 วงดนตรสี มัยสโุ ขทยั กำรบรรเลงพณิ เปน็ การบรรเลงเพียงคนเดียว ประกอบกบั การขบั ลานาซึ่งผูด้ ีดเปน็ คนขบั ลานาเอง พิณที่ ใช้ดีดสันนิษฐานว่า เป็นพิณเปี๊ยะ หรือ พิณน้าเต้า หรือ กระจับปี่ หรือ ซึง การบรรเลง พิณประกอบการขับลานานีใ้ ชเ้ นื้อร้องทีม่ ีคากลอนในเชิงสงั วาส แสดงความรักใคร่ วงขบั ไม้ วงขับไม้มีคนเล่น ๓ คน คือ คนขับลานา คนไกวบัณเฑาะว์ เพื่อให้จังหวะ และคนสีซอสาม สายคลอเสียงคนขับลานา วง ขับไม้มักใช้กับพิธีหลวงในสมัย น้ัน เช่น พิธีสมโภชพระมหา เศวตรฉัตร พิธีสมโภชพระยา ชา้ งเผอื ก วงปพี่ ำทย์เครอ่ื งหำ้ ในสมัยสโุ ขทยั ปีพ่ าทยเ์ ครือ่ งหา้ ประกอบดว้ ย ปี่ ฆ้อง ตะโพน กลองทัด ๑ ใบ ฉง่ิ วงเครอ่ื งประโคม (วงแตรสงั ข)์ ในสมัยสโุ ขทัยมีอยคู่ รบบริบูรณ์ แตรยาว แตรงอน กลองชนะ บัณเฑาะว์ มโหระทกึ
8 สมยั อยธุ ยำ สมัยอยุธยำบ้ำนเมืองมีสงครำมอยู่ตลอดเวลำ ท้ังภำยในและภำยนอก เครื่อง ดนตรตี ่ำง ๆ จึงไมไ่ ดก้ ำ้ วหน้ำไปมำกกวำ่ เดิม เพยี งแต่รบั มำจำกสมยั สุโขทัยและ คงสภำพอยู่เชน่ เดมิ เทำ่ นั้น วงดนตรสี มยั อยุธยำ วงปพ่ี ำทยเ์ ครอ่ื งหำ้ เครื่องดนตรที ่ีมีมาจากสมยั สโุ ขทัยในสมยั อยุธยายงั คงแบบเดิมไวท้ ง้ั หมด แตใ่ นช่วงปลายสมัย อยธุ ยา \"ระนาด\" ก็ไดเ้ ขา้ มาเปน็ เครอ่ื งดนตรใี นวงปพี่ าทย์เครื่องหา้ และแมจ้ ะมรี ะนาดเพม่ิ เข้า มาก็ตาม \"วงป่ีพาทย์เคร่ืองหา้ \" กย็ ังคงเรียกช่อื เดิมอย่ไู ม่มีการเปลี่ยนแปลง วงมโหรี เปน็ วงดนตรีทเี่ กิดขน้ึ สมยั อยธุ ยา มผี ูห้ ญิงเป็นผูบ้ รรเลง สาหรับขับกลอ่ มพระมหากษตั รยิ ์ใหท้ รง พระเกษมสาราญ โดยการบรรเลงวงมโหรีในครั้งแรกมผี ้บู รรเลงท้งั หมด 4 คน คอื 1. คนดีดพณิ ทเ่ี รียกวา่ กระจบั ปี่ 2. คนสซี อสามสาย 3. คนตที ับ (โทน) 4. คนตกี รับพวง
9 วงเครอ่ื งสำย เคร่ืองดนตรีประเภทสายท่ีมีอยู่ในสมัยอยุธยาน้ันมีอยู่แล้วมากมายหลายชนิด และได้รับความ นิยมในการเล่นอย่างแพร่หลายจากผู้คนสมัยนั้น จนกระทั่งการเล่นเครื่องดนตรีประเภทสาย เป็นไปจนเกินขอบเขตโดยเข้าใกล้เขตพระ ราชฐาน จึงได้มีการออกกฏหมายมณเฑียรบาล บญั ญัติเปน็ กฎหมายเพ่ือกาหนดโทษสาหรับผู้ กระทาผิดท่ีเล่นดนตรีจนเกินขอบเขตขึ้นมาในรัช สมยั ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดยเคร่ืองดนตรีที่ถูกระบุไว้ในกฎมณเฑียรบาลก็ล้วนมีอยู่ ในวงเครอื่ งสายทงั้ ส้นิ ทง้ั ซอ ขลยุ่ จะเขแ้ ละโทนหรือทบั เคร่อื งดนตรสี มัยอยธุ ยำ ระนำดเอก ระนาดเปน็ เครื่องดนตรีทเี่ กดิ ขนึ้ ในสมยั อยธุ ยา โดยพัฒนามาจากกรับ โดยการนามาปรับแตง่ ขนาดใหม้ ีขนาดต่างกนั เพอ่ื เสยี งทแี่ ตกต่างกนั และนามาวางเรยี งกันเพ่อื ทาการบรรเลง ใน สมัยอยุธยาไดน้ าระนาดเขา้ มาใช้ในวง ปี่ พาทยเ์ ครอ่ื งห้า
10 สมัยกรงุ ธนบุรี เนือ่ งจำกในสมยั นีเ้ ปน็ ช่วงระยะเวลำอันส้ันเพยี งแค่ 15 ปี และ ประกอบกับเป็นสมัย แห่งกำรก่อร่ำงสร้ำงเมือง และกำรป้องกันประเทศ เสียโดยมำกวงดนตรีไทย ในสมัยนี้จึงไม่ปรากฎหลักฐานไว้ว่า ได้มีการ พัฒนาเปลี่ยนแปลงขึ้น สันนิษฐานว่า ยังคงเป็นลักษณะและรูปแบบ ของ ดนตรีไทย ในสมยั กรุงศรอี ยุธยานน่ั เอง
11 สมัยกรงุ รัตนโกสนิ ทร์ ในสมัยน้ี เมื่อบ้ำนเมืองได้ผ่ำนพ้นจำกภำวะศึกสงครำมและได้มีกำร ก่อสร้ำงเมือง ให้ม่ันคงเป็นปึกแผ่น เกิดควำมสงบร่มเย็น โดยทั่วไปแล้ว ศลิ ปวฒั นธรรมของชำติ ก็ไดร้ ับกำรฟนื้ ฟูทะนุบำรุง และส่งเสริมให้เจริญรุ่งเรือง ข้ึน โดยเฉพำะ ทำงด้ำนดนตรีไทย ในสมัยนี้ได้มีกำรพัฒนำเปลี่ยนแปลงเจริญ ขน้ึ เป็นลำดบั ดงั ตอ่ ไปน้ี คอื รชั กำลที่ 1 พพ.รศะ.บ2ำ3ท2ส7มเ-ด2จ็ 3พ5ร2ะพทุ ธยอดฟ้ำจฬุ ำโลกมหำรำช ดนตรไี ทยในสมัยนี้ส่วนใหญ่ ยังคงมีลักษณะและ รูปแบบตำมท่ีมีมำต้ังแต่สมัยกรุงศรีอยุธยำ จะมี กำรเปลี่ยนแปลงบ้ำคือกำรเพิ่มกลองทัด ขึ้นอีก 1 ลูก ใน วงปพ่ี ำทย์ ซ่งึ แต่เดิมมำ มีแค่ 1 ลกู เสียงสูง (ตัวผู้) ลูกหน่ึง และ กลองทดั เสียงต่ำ (ตัวเมีย) ลูกหน่ึง และ กำรใช้กลองทัด 2 ลูก ในวงปี่ พ ำ ท ย์ ก็ เ ป็ น ที่ นิ ย ม กั น ม ำ จนกระทัง่ ปัจจบุ ันน้ี
12 รัชกำลท่ี 2 พระบำทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้ำนภำลัย พ.ศ. 2352 - 2367 เป็นยุคทองของดนตรีไทย เพรำะ รัชกำลที่ 2 ทรงโปรดดนตรีไทยมำก เป็นพิเศษพระองค์มีซอสำมสำยคู่พระ หัตถ์ ช่ือ “ซอสายฟ้าฟาด” และได้ พระรำชนิพนธ์เพลง “บุหลันลอย เลอ่ื น” กำรพัฒนำเปลยี่ นแปลงของดนตรไี ทย กลองสองหนำ้ ได้มีกำรนาเอาวงปี่พาทย์ มาบรรเลง ป ร ะ ก อ บ ก า ร ขั บ เ ส ภ า เ ป็ น ค ร้ั ง แ ร ก นอกจำกนี้ ยังมีกลองชนิดหน่ึงเกิดข้ึน โดยดัดแปลงจาก \"เปิงมาง\" ของมอญ ต่อมาเรียกกลองชนิดน้ีว่า \"กลองสอง หน้า\" ใชต้ กี ำกบั จงั หวะแทนเสียงตะโพน ใ น ว ง ป่ี พ ำ ท ย์ ป ร ะ ก อ บ ก ำ ร ขั บ เ ส ภ ำ เน่ืองจำกเห็นวำ่ ตะโพนดังเกินไป
13 รัชกำลที่ 3 พระบำทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้ำเจำ้ อยูห่ วั พ.ศ. 2367 - 2394 พระองค์ไม่ค่อยสนพระทัยงำนดนตรีมำก นัก เพรำะพระองค์ ทรงถนัดในเร่ืองกำร คำ้ ขำย ในยุคนี้จงึ เปน็ การอนรุ ักษ์ของเดิม ท่ีมีอยู่เสียมำกกว่ำ แต่ก็มีการพัฒนา ปี่ พาทย์เคร่ือง 5 เป็นปี่พำทย์เคร่ืองคู่ ประดษิ ฐ์ ระนาดทุ่มครู่ ะนาดเอก และฆ้อง วงใหญค่ ู่ฆ้องวงเล็ก ฆอ้ งวงใหญ่ ระนำดทมุ้
14 รัชกำลที่ 4 พพร.ศะ.บ2ำ3ท9ส4มเ-ด2จ็ 4พ1ร1ะจอมเกล้ำเจ้ำอยหู่ วั ในยุดนี้ถือเป็นยุคกลำงของดนตรีไทยในยุดนี้ มี ก ำ ร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง ด น ต รี ไ ท ย อ ยู่ พอสมควรอำทิ มีการประดิษฐ์ระนาดเอก เหล็ก ทุ้มเหล็ก ขึ้น มีกำรพัฒนำ วงปีพำทย์ เครื่องเด่ียว เคร่ืองคู่ เป็นป่ีพำทย์เคร่ืองใหญ่ มีกำรรับเครื่องดนตรีจำกจีน เข้ำมำก็คือ ขิม มีกำรส่งร้องหรือเล่นประกอบละครมำกข้ึน (ทำให้เกิดเพลงเถำขน้ึ อีกด้วย) ระนำดเอกเหลก็ ระนำดทุ้มเหลก็
15 รชั กำลที่ 5 พพร.ศะ.บ2ำท41ส1มเ-ด2็จ4พ5ร3ะจลุ จอมเกล้ำเจำ้ อยหู่ ัว ในรัชสมัยนี้มีกำรเปลี่ยนแปลงทำงดนตรี มำกมำยหลำยประกำร อำทิ เป็นกำรนำวงปี่ พำทย์ไม้แข็ง มำเปล่ียนไม้ท่ีใช้ตีที่เดิมมีเสียง แข็ง กร้ำว เปล่ียนให้นุ่ม นวล น่ำฟัง ใช้ขลุ่ย แทนป่ีใน ใช้กลองแขกแทนกลองทัดและ ตะโพน เพ่ิมซออู้ ๑ คัน กำรจัดวงใช้หลักกำร จัดเหมือนวงป่ีพำทย์ทุกอย่ำง (เคร่ืองห้ำ เคร่ืองคู่ เคร่ืองใหญ่) เพียงแต่เปลี่ยนเคร่ือง ดนตรีท่ีกลำ่ วมำขนั้ ต้น วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ สำหรับใช้บรรเลง ประกอบกำรแสดง \"ละครดึกดำบรรพ์\" ซึ่ง เป็น ละครที่เพิ่งปรับปรุงข้ึนในสมัยรัชกำลน้ี เช่นกันโดยสมเด็จกรมพระยำนริศรำนุวัดติ วงศ์ และเจ้ำพระยำเทเวศร์วงศ์วิวัฒน์ หลักกำรปรับปรุงของท่ำนก็โดยกำรตัดเคร่ือง ดนตรีชนิดเสียงเล็กแหลม หรือดังเกินไปออก คงไว้แตเ่ ครอ่ื งดนตรีท่ีมีเสียงทมุ้ นมุ่ นวล สมเด็จกรมพระยานริศรานวุ ดั ตวิ งศ์
16 พพร.ศะ.บ2ำ4ท5ส3มรเ-ดชั 2จ็ ก4พ6ำร8ละมทงี่ก6ฎุ เกล้ำเจำ้ อย่หู วั เป็นสมัยท่ีกำรดนตรีเจริญขึ้นมำกเพรำะ พระมหำกษัตริย์ทรงสนพระทัยและทรงบำรุง อย่ำงจริงจงั มีครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียงหลาย คน เช่น หลวงประดิษฐ์ไพเราะ ( ศร ศิลป บรรเลง) ผลงานของศร ศิลปะบรรเลง มีมำกมำย เช่นได้ การปรับปรุงวงปี่พาทย์ ข้ึนมำอีกชนิดหน่ึงโดยนำวงดนตรีของมอญมำผสมกับ วงปี่พำทย์ของไทย ต่อมำเรียกวงดนตรีผสมน้ีว่ำ \"วงป่ีพาทย์มอญ“ การนาเคร่ืองดนตรีของ ตา่ งชาตเิ ขา้ มาบรรเลงผสมในวงเคร่ืองสาย ได้แก่ ขิมของจนี และออร์แกน ของฝรั่ง ทำให้วงเคร่ืองสำยพัฒนำรูปแบบของวงไปอีกลักษณะหน่ึง คือ \" วงเคร่อื งสายผสม ( ศร ศิลปบรรเลง)
17 พพร.ศะบ. 2ำท4ส68มรเ-ดัช2จ็ 4กพ7รำ7ะลปทกเ่ีก7ล้ำเจำ้ อยูห่ วั ได้ทรงสนพระทัยทำงด้ำน ดนตรีไทย มำกเช่นกัน พระองค์ได้พระรำชนิพนธ์ เพลงไทยที่ไพเรำะไว้ถึง 3 เพลง คือ เพลงโหมโรงคลื่นกระทบฝ่ัง 3 ชั้น เพลงเขมรลอยองค์ (เถา) และเพลง ราตรีประดบั ดาว (เถา) ต่อมำภำยหลังกำรเปล่ียนแปลงกำรปกครอง พ.ศ.2475 เป็นต้นมำ ดนตรีไทย เริ่มซบเซำลง อำจกล่ำวได้ว่ำ เป็นสมัยหัวเลี้ยวหัวต่อ ท่ี ดนตรีไทย เกือบจะถึง จุดจบ เน่ืองจำกรัฐบาลในสมัยหนึ่งมีนโยบายทีเรียกว่า \"รัฐนิยม\" ซึ่งนโยบำย น้ี มผี ลกระทบต่อ ดนตรีไทย ดว้ ย กล่าวคือมกี ารห้ามบรรเลงดนตรีไทย เพรำะ เห็นว่ำ ไม่สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศ ให้ทัดเทียมกับอำรยประเทศ ใคร จะจัดให้มีกำรบรรเลง ดนตรีไทย ต้องขออนุญำต จำกทำงรำชกำรก่อน อีกท้ัง นกั ดนตรไี ทยกจ็ ะตอ้ งมบี ตั รนกั ดนตรีที่ทำงรำชกำรออกให้ บตั รนักดนตรี จอมพล ป. พิบลู สงคราม
18 รัชกำลท่ี 8 พระบำทสมเด็จพระปรเมนทรมหำอำนันทมหิดล พ.ศ. 2477 - 2489 กำรดนตรีไทยในสมัยน้ีเป็นสมัยหลัง การเปล่ียนแปลงการปกครองจาก ระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์มาเป็น การปกครองในระบอบประชาธิปไตย สมัยนี้“เป็นระยะที่ดนตรีไทยเข้ำสู่ สภำวะมืดมนเพรำะรัฐบาลไมส่ ่งเสริม ดนตรีไทย และยังพยำยำมให้คนไทย หนั ไปเล่นดนตรสี ากลแบบตะวันตก” ดนตรีไทยสมัยนี้ก็มิได้ซบเซำถึงขนำดจะขำดตอน เหมือนเม่ือคร้ัง เรำเสีย กรุงศรีอยุธยำ แม้จะซบเซำลงบ้ำงและเกิดเพลงไทยสำกลขึ้น เพลงไทย สำกลทเ่ี กดิ ขน้ึ ใหม่นี้ ก็ยังเอาเค้าของเดิมหรือเอาเพลงไทยของเดิมมาร้อง เล่น เพียงแต่เปล่ียนจังหวะให้ กระชับข้ึนเป็นแบบฝรั่ง ของไทยแท้จึงไม่ ถึงกับสูญและโชคดีที่ยุดนี้ส้ันมำก มีกำรเปลี่ยนแปลงรัฐบำลกันบ่อยในท่ีสุด ดนตรไี ทยแทก้ ็กลบั คืนมำอีกครงั้
19 รชั กาลท่ี 9 พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พ.ศ. 2489 - 2559 แม้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็น ผู้ที่ทรงพระปรีชาสามารถทางด้าน ดนตรีสากลถึง พระรำชนิพนธ์เพลง ข้ึนไว้หลำยเพลง แต่พระองค์ก็ทรงสน พระทัยในการดนตรีไทยเป็นอันมำก ได้พระรำชทำนทุนให้พิมพ์เพลงไทย เดิมเป็นโน้ตสำกลออกจำหน่ำย เป็นที่ นิยมของวงกำรดนตรีไทยเป็นอย่ำงย่ิง เวลำที่ทรงรับแขกบ้ำนแขกเมืองหรือมี งำนบันเทิงส่วนพระองค์ ก็มักจะโปรด เกลำ้ ให้บรรเลงดนตรไี ทยเสมอ
Search
Read the Text Version
- 1 - 23
Pages: