Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore RMUTT Intellectual Property 2016

RMUTT Intellectual Property 2016

Published by pijit24, 2016-12-27 16:14:26

Description: RMUTT Intellectual Property 2016

Search

Read the Text Version

ทำเนยี บทรัพยสินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2559RMUTT Intellectual Property 2016



มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรีRajamangala University of Technology Thanyaburi

สารจากอธกิ ารบดี

สารจากอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เปนมหาวิทยาลัยที่มุงเนนการพัฒนากำลังคนดานวิทยาศาสตรเทคโนโลยี ใหมีทักษะความชำนาญดานวิชาชีพ เสริมสรางทุนมนุษยที่มีมูลคาเพิ่มใหแกประเทศ พรอมทั้งมุงหมายใหมหาวิทยาลัยเปนองคกรแหงการเรียนรู เผยแพรความรูวิชาการทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การสรางงานวิจัยสิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรค ที่ตอบโจทยภาคอุตสาหกรรมและตอบสนองความตองการของประเทศ และการนำผลงานวิจัยไปใชใหเกิดประโยชนตอชุมชน สังคมภาคอุตสาหกรรม เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติตอไป ในโอกาสนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ไดเล็งเห็นและตระหนักถึงความสำคัญของทรัพยสินทางปญญาที่เกิดจากการสรางสรรคของนักวิจัย อาจารยนักศึกษา และบุคลากรของมหาวิทยาลัยฯ จึงมีนโยบายสงเสริมและสนับสนุนงานดานทรัพยสินทางปญญาเพื่อการคุมครองทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ มาอยางตอเนื่อง ทั้งนี้เพื่อเปนการผลักดันใหเกิดงานวิจัย สิ่งประดิษฐ นวัตกรรม และงานสรางสรรคที่มีศักยภาพ ใหสามารถนำไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยไดอยางเปนรูปธรรมพรอมทั้งเปนการพัฒนาระบบนวัตกรรมของการทำวิจัยที่ยั่งยืนที่เปนธรรมตอผูประดิษฐคดิ คน และผทู ่ตี อ งการนำผลงานไปใชประโยชนส ืบไป (รองศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ปนปฐมรัฐ) อธิการบดมี หาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

คำนำ

คำนำ หนวยจัดการทรพั ยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี ภายใตการดำเนินงานของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีซึง่ เปน หนวยงานกลางในการประสานและใหบริการดานการจดั การและคมุ ครองทรพั ยส ินทางปญ ญาจากผลงานวิจยั สง่ิ ประดิษฐ นวตั กรรม และงานสรา งสรรคของมหาวทิ ยาลยั ฯเพื่อชวยในการสงเสริมและสนับสนุนการนำผลงานวิจัยไปใชประโยชนในเชิงพาณิชยใหเปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น สถาบันวิจัยและพัฒนา จึงไดดำเนินการจัดทำเลมทำเนียบทรัพยสินทางปญญามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ป 2559 ขึ้น เพื่อเปนการรวบรวมและนำเสนอผลงานอันเปนทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยประเภทสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร ที่ไดรับการจดทะเบียนคุมครองจากกรมทรัพยสินทางปญญาระหวางปงบประมาณ 2547 - 2559 จำนวน 53 ผลงาน ซึ่งเปนขอมูลที่แสดงใหเห็นถึงผลการดำเนินงานดานทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ และเปนการประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานทรัพยสินทางปญญาของมหาวิทยาลัยฯ สูเชิงพาณิชยในภาครัฐภาคเอกชน และอุตสาหกรรม ที่มีความสนใจตอไป (ผูชวยศาสตราจารย ดร.วารุณี อริยวิริยะนันท) ผูอำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

สารบญั

หนาความรูทว่ั ไปดา นทรัพยสนิ ทางปญ ญา 1 5ทรัพยสินทางปญญา ปงบประมาณ 2550- เครื่องระเหยแบบเอช พี วี สำหรับการผลิตสารสกัดสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช ชนดิ เขมขนทรัพยส ินทางปญญา ปง บประมาณ 2551 7 8- บลอ็ กปูพ้ืนลดอณุ หภมู ิภายนอกอาคาร 9- กระเบ้อื งตกแตงโพลเิ อทธลิ ีนผสมใยมะพราว 10- กระเบือ้ งปพู ื้น-ผนงั ยางพาราผสมใยมะพรา ว- แผน ยางพารารองปลายแทง ตวั อยา งคอนกรตี ทดสอบทรัพยส ินทางปญญา ปง บประมาณ 2555- เครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกสที่มีการควบคุมการทำงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร 12ทรัพยส นิ ทางปญญา ปง บประมาณ 2556 14 15- แบบพบั กลอ ง 16- แบบพบั กลอง 17- เครื่องดัดโลหะขับเคลอื่ นโดยชดุ เฟอ งสะพานขบกับเฟอ งตรงควบคมุ ดว ยระบบ 18 19 ไฮดรอลิก 20- ชุดยกและเคลือ่ นยา ยผปู วย ควบคมุ ดวยรโี มทคอนโทรล 21- เคกขาวกลองนึ่ง 22- เครอื่ งผสมนำ้ เคลือบ ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร 23- อปุ กรณเ สริมเหลก็ พยงุ ขาสำหรบั ชว ยการเดนิ ของผูพกิ าร 24- รถเขน็ คนพิการแบบขับถา ยระบบไฟฟา ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอร 25- เคร่อื งจบั ชิ้นทดสอบนำ้ เคลือบ ควบคมุ ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร- กรรมวธิ กี ารผลิตตะขบอบแหง- กอนดินท่มี ีสว นผสมของน้ำยางธรรมชาติและกระบวนการผลิต- กาวรองพ้นื ผา ใบดนิ สอพองผสมกาวเมลด็ มะขาม สำหรบั การสรางสรรคผลงาน ผลงานศิลปะดวยเทคนิคสฝี นุ และกรรมวิธกี ารผลิต

หนาทรัพยสนิ ทางปญญา ปงบประมาณ 2557 27 28- ขวด- สูตรผสมของวนุ ผลไมและกรรมวธิ ีการผลติทรัพยส นิ ทางปญญา ปงบประมาณ 2558 30 31- กรรมวิธีการผลิตผงไหม (ไฟโบรอนิ และเซรซิ ิน) เพ่อื ใชใ นงานดา นสิ่งทอ การแพทย 32 และเครอ่ื งสำอาง 33 34- ผลติ ภณั ฑเ กลือสปาท่ีมีใบสะเดาแหง บดเปน วสั ดุขดั ผิว 35- หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรไทยแบบหยิบจบั งาย- กรรมวิธกี ารผลิตบลอ็ กประสานจากเศษหินบะซอลต- บลอ็ กปูพ้ืนระบายนำ้ ชนิดควบคมุ ทศิ ทางการไหล- เคกขาวธญั พืชทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ปง บประมาณ 2559 37 38- แบบพับกลอ ง 39- แบบพบั กลอง 40- กระเบือ้ งหลังคา 41- ลวดลายผา 42- ลวดลายผา 43- ลวดลายผา 44- ลวดลายผา 45- ลวดลายผา 46- ลวดลายผา 47- ลวดลายผา 48- ลวดลายผา- ลวดลายผา

หนา- โคมไฟ 49- กระเบอ้ื งหลงั คา 50- การใชน้ำยางธรรมชาตใิ นงานเขียนผา บาตกิ 51- กรรมวธิ ใี นการผลติ กานบัวแหง 52- เครือ่ งใหบ รกิ ารกระจายสญั ญาณอนิ เตอรเ น็ตแบบหยอดเหรียญ 53- กรรมวธิ กี ารผลติ บลอ กปพู ื้นจากเศษหนิ บะซอลต 54- กรรมวิธีการผลติ คอนกรตี ทม่ี เี ศษหนิ บะซอลตเปน มวลรวม 55- กรรมวิธีการเตรียมวัสดุนาโนจากแรแม็กเนติกลูโคซีน เพื่อใชเปนวัสดุลดทอน 56และปองกนั รังสเี อก็ ซ (X-ray)- กรรมวธิ ีการเตรียมแผน บางขนาดนาโนจากแรอ ลิ เมไนท เพื่อใชในการการขจดั สี 57ในสียอ มน้ำเสยี จากสง่ิ ทอ- กรรมวธิ กี ารเตรยี มแผนบางขนาดนาโนจากแรแม็กเนติกลูโคซนี เพ่อื ใชเ ปนตัวเรง 58ปฏกิ ิรยิ าโดยใชแ สง- อปุ กรณเ พ่อื การชมทัศนยี ภาพใตน ำ้ สำหรบั การดำน้ำตื้น 59- ปยุ อินทรียจากขี้แดดนาเกลือ โดยใชจ ลุ นิ ทรียเปน ตัวเรง 60- กรรมวิธกี ารเตรียมกลองชิ้นงานกลวงจากวัสดผุ สมพลาสติกรีไซเคลิ พอลเิ อทิลีน 61ความหนาแนน สงู และกากกาแฟโดยวธิ กี ารขึน้ รปู แบบหมนุ- ชดุ อุปกรณผลติ กระแสไฟฟา จากการเคลอ่ื นที่ของลิฟต 62- กรรมวธิ ีการผลิตกะหร่ีปป จากแปง ขา วสาลีผสมแปง ขา วเจาที่ใหพ ลังงานต่ำ 63- กรรมวธิ ีการผลิตแยมน้ำผ้ึงจากน้ำผ้ึงทานตะวัน 64- กรรมวิธกี ารผลติ วุน เสนแกน ตะวัน 65

ทรพั ยส ินทางปญ ญาIntellectualProperty

ทรพั ยสินทางปญญา ทรัพยสนิ ทางปญ ญา หมายถงึ ผลงานอนั เกิดจากประดษิ ฐ คิดคนหรือสรางสรรคของมนุษย ซึ่งเนนที่ผลผลิตของสติปญญาและความชำนาญ โดยไมจำกัดชนิดของการสรางสรรคหรือวิธีในการแสดงออกทรัพยสินทางปญญาอาจแสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับตองได เชนสินคาตางๆ หรือในรูปแบบของสิ่งที่จับตองไมได เชน บริการแนวคิดในการดำเนินธุรกิจ กรรมวิธีการผลิตทางอุตสาหกรรม เปนตน ประเภทของทรัพยส นิ ทางปญญา ทรัพยสินทางปญญาแบงออกเปน 2 ประเภท ตามหลักสากล ไดแก ทรัพยสินทางปญญาทางอุตสาหกรรม และลิขสิทธิ์ ทรพั ยสนิ ทางปญ ญาทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมายถึง ความคิดสรางสรรคของมนุษยที่เกี่ยวกับสินคาอุตสาหกรรมตางๆ ซึ่งอาจ เปนความคิดในการประดิษฐคิดคน เชน กระบวนการหรือเทคนิคในการผลิตที่ได ปรับปรุงหรือคิดคนขึ้นใหม หรือการออกแบบผลิตภัณฑทางอุตสาหกรรมที่เปน องคประกอบและรูปรางของตัวผลิตภัณฑ เปนตน จึงสามารถแบงออกไดดังนี้ • สิทธิบัตร (Patent) o สิทธิบัตรการประดิษฐ (Invention Patent)/ อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) o สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ (Design Patent) • แบบผังภูมิของวงจรรวม (Layout-design of Integrated Circuits) • เครื่องหมายการคา (Trademark) • ความลับทางการคา (Trade Secret) • สิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (Geographical indications) ลิขสทิ ธิ์ (Copyright) หมายถงึ สทิ ธแิ ตเ พยี งผเู ดยี วของผสู รา งสรรคท จ่ี ะกระทำการใดๆ กบั งานทผ่ี สู รา งสรรค ไดทำขึ้น โดยประเภทของงานอันมีลิขสิทธิ์ที่กฏหมายกำหนดไว ไดแก งานวรรณกรรม นาฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนต สิ่งบันทึกเสียง งานแพรเสียง แพรภ าพ หรอื งานอนื่ ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร หรือแผนกศลิ ปะ ไมว างาน ดงั กลา วจะแสดงออกโดยวธิ ีหรือรูปแบบอยา งใด การคุมครองลขิ สิทธิ์ไมครอบคลมุ ถงึ ความคิด ขั้นตอน กรรมวิธี ระบบวิธีใชหรือวิธี ทำงาน แนวความคิด หลักการ การคน พบ หรอื ทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรห รือคณิตศาสตร ทำเนียบทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 1มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2559

แผนภูมิทรัพยสินทางปญ ญาสิทธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ สทิ ธบิ ัตรการประดิษฐ อนสุ ิทธบิ ัตรDesign Patent Invention Patent Petty Patent สPิทaธtิบenัตtร แบบผังภูมขิ องวงจรรวม InLtaeygoruatteDdeCsigircnuoitfsCสoขิpสyrิทigธhิ์ t ทรพั ยสนิ เครอ่ื Tงraหdมeาmยaกrาkรคา ทางปญญา Intellectual PropertyควาTมraลdับeทSาeงcกrาeรtคา Geสogิง่ บraงpชh้ที icาaงlภInมู dศิ iaาcสaตtiรo ns การใหค วามคุมครองพนั ธพุ ืชใหม Protection of New Varieties of Plant *อยูภการยะใทตรก วางรกดาูแรลเกขอษงตกรรแมลวะิชสาหกการรณเก ษตรเคร่ืองหมายการคา เคร่อื งหมายบริการ เคร่อื งหมายรบั รอง เครื่องหมายรวมTrademark Service Mark Certification Mark Collective Mark2 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

ความหมายของทรพั ยสินทางปญญาประเภทสิทธิบตั ร (Patent) เปน การคมุ ครองการคดิ คน สรา งสรรคท เ่ี กย่ี วกบั การประดษิ ฐ (Invention) หรอื การออกแบบผลิตภณั ฑ (Industrial Design) ที่มีลักษณะตามทก่ี ฏหมาย กำหนด ซึ่งจำแนกไดเปน สิทธิบัตรการประดิษฐ อนุสิทธิบัตร และสิทธิบัตร การออกแบบผลิตภัณฑ สิทธบิ ตั รการประดษิ ฐ (Invention Patent) หมายถงึ การใหความคมุ ครอง การคิดคน เก่ียวกบั ลกั ษณะองคประกอบ โครงสราง หรือกลไกของผลิตภัณฑ รวมทั้งกรรมวิธใี นการผลติ การ เก็บรกั ษา หรือการปรับปรุงคณุ ภาพของผลิตภัณฑ อนุสทิ ธิบัตร (Petty Patent) หมายถึง การใหการคุมครองการประดิษฐจากความคิดสรางสรรค ท่ีมีระดับการพัฒนาเทคโนโลยไี มส ูงมาก โดยอาจเปน การประดษิ ฐ คิดคนขึ้นใหมหรือปรบั ปรงุ จากการประดษิ ฐทมี่ ีอยกู อนเพยี งเล็กนอย สทิ ธบิ ัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ (Design Patent) หมายถึง การใหความคุมครองความคิดสรางสรรคที่เกี่ยวกับรูปราง และลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ องคประกอบของลวดลายหรือ สขี องผลติ ภณั ฑ ซง่ึ สามารถใชเ ปน แบบสำหรบั ผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรม รวมทั้งหัตถกรรมได และแตกตางไปจากเดิม ผูทรงสิทธิบัตรหรือ อนุสิทธิบัตรมีสิทธิเด็ดขาด (ที่มา : ความรูเบอ้ื งตนดา นทรพั ยสนิ ทางปญ ญา กรมทรพั ยส นิ ทางปญญา, 2558) ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 3มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2559

ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญ ญา ปงบประมาณ25504 RInMteUlleTcTtual Property 2016

3043อนสุ ิทธิบตั ร เลขที่ เครื่องระเหยแบบเอช พี วี สำหรับการผลติ สารสกดั สมุนไพรกำจัดศัตรูพชื ชนดิ เขม ขนวันที่จดทะเบียน : 15 มกราคม 2550ชอื่ ผูป ระดษิ ฐ : ผูชวยศาสตราจารย ดร.อัญชลี สงวนพงษ, นายปณ ณธร ภทั รสถาพรกุล, นายขนุ พล สงั ขอารียกุลสงั กดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตร, คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน เครื่องระเหยแบบ เฮช พี วี เปนเครื่องระเหยที่ใชปมความรอนเปนแหลงพลังงาน อุณหภมู ิ สูงและอุณหภูมิตำ่ พรอมกนั เพอื่ เปนการนำความรอนทิ้งกลับมาใชใหม (Waste Heat Recovery) โดยใชเครื่องควบแนน (Condenser) ของปมความรอน เปนแหลงพลังงานอุณหภูมิสูง (High-temperature energy source) ในการระเหย สารสกัดใหเปลี่ยนสถานะกลายเปนไอและใช เครื่องระเหย (Evaporator) ของปม ความรอนเปนแหลงพลังงานอุณหภูมิต่ำ (Low-temperature energy source) ในการควบแนนไอระเหยใหเปลี่ยนสถานะกลายเปนของเหลวซึ่งการระเหยและ การควบแนนของสารสกัดจะอยูภายใตสภาวะสุญญากาศ เพื่อใหสารสกัดที่ถูก ระเหยมีจุดเดือดต่ำลง สงผลทำใหรักษาคุณภาพของสารสกัดที่ถูกระเหยได ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญ ญา 5มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2559

ทำเนยี บทรัพยสินทางปญ ญา ปง บประมาณ25516 RInMteUlleTcTtual Property 2016

4106อนุสิทธิบัตร เลขที่ บล็อกปพู นื้ ลดอณุ หภมู ภิ ายนอกอาคารวันท่จี ดทะเบียน : 14 มีนาคม 2551ชอื่ ผปู ระดษิ ฐ : นายประชมุ คำพฒุสังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน บลอ็ กปพู น้ื ลดอณุ หภมู ภิ ายนอกอาคาร คดิ คน และพฒั นาขน้ึ จากบลอ็ กปพู น้ื ทว่ั ไป ท่ีเปนเนอ้ื เดียว จึงมปี ญ หาในเร่ืองของการดูดความรอนสูง ผลติ ภัณฑบ ลอ็ กปูพ้นื ลดอุณหภูมิภายนอกอาคารไดทำการ ผสมผสานระหวางวัสดุ 2 ชนิด โดยใหวัสดุ ชั้นลางมีสมบัติในการดูดซับน้ำและสงผานความชื้นไดดี คือ อิฐมวลเบาหรือ อิฐมอญ นำมาประกอบกับวัสดุชั้นบนที่มีสมบัติในการสะสมความรอนไดนอย และสะทอนความรอนไดสูง คือ การทำหินลางที่ใชปูนซีเมนตขาวและใชหิน เกล็ดสีออนเปนวัสดุผสม โดยผลิตภัณฑ บล็อกปูพื้นลดอุณหภูมิผลิตภัณฑ บล็อกปูพื้นลดอุณหภูมิภายนอกอาคาร สามารถนำมาใชเปนวัสดุบล็อกปูพื้น บริเวณภายนอกอาคารที่ตองการประกอบกิจกรรมกลางแจงในตอนกลางวัน ไดโดยไมรอนเทา และชวยลดการกระจายรังสีความรอนเขาสูตัวอาคาร เพื่อเปน การประหยัดพลังงานได ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา 7มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2559

อนสุ ทิ ธิบัตร 4107เลขที่ กระเบื้องตกแตงโพลเิ อทธิลนี ผสมใยมะพรา ว วันท่จี ดทะเบยี น : 14 มีนาคม 2551 ชอื่ ผูประดษิ ฐ : นายประชุม คำพุฒ สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กระเบื้องตกแตงโพลิเอทธิลีนผสมใยมะพราว คิดคนและพัฒนาขึ้นจากกระเบื้อง บุพื้นและผนังแบบเดิม โดยใชสวนผสมตามสูตรที่คิดคนขึ้น มาทำการบดและผสม ใหเ ขา กนั แลว นำไปบดอกี ครง้ั และใชก รรมวธิ กี ารอดั แบบรอ นชว ยใหเ กดิ การขน้ึ รปู เปนแผน ผลิตเปนกระเบื้องตกแตงโพลิเอทธิลีนผสมใยมะพราว ที่มีความแข็งแรง ไมแตกหัก ไมดูดซึมน้ำ สามารถทำลวดลายที่ผิวหนาได ซึ่งสามารถนำมาใชเปน กระเบื้องปูพื้นหรือผนังของอาคาร ที่ตองการลวดลายและสีสันแบบธรรมชาติได8 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

4108อนสุ ทิ ธิบัตร เลขท่ี กระเบ้ืองปูพนื้ -ผนัง ยางพาราผสมใยมะพรา ววนั ท่จี ดทะเบียน : 14 มีนาคม 2551ช่ือผูป ระดิษฐ : นายประชมุ คำพฒุสังกัด : คณะวิศวกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน กระเบื้องปูพื้น-ผนัง ยางพาราผสมใยมะพราว คือ กระเบื้องยางสำหรับปูพื้น และผนัง ทั้งภายในและภายนอกอาคาร ที่มีสีสันแบบธรรมชาติ ประกอบดวย กรรมวิธีการบดยางเอสทีอาร 20 ดวยเครื่องบดผสม แบบ 2 ลูกกลิ้ง แลวเติม เสนใยหรือขุยมะพราว บดเขากับยาง จากนั้นเติมซิงคออกไซดและกรดสเตียริก ตามดวย ได-เมอรแคบโตเบนโซไทเอซอล และ ไดฟนิลกัวนิดีน รวมทั้งกำมะถัน ใชเวลาในขั้นตอนการบด ผสมประมาณ 15-30 นาที แลวทำการอัดขึ้นรูปดวย เครื่องอัดแบบรอนที่อุณหภูมิ 150 องศาเซลเซียส เปนแผนกระเบื้องยางตาม ขนาดกำหนด ที่มีความแข็งแรง เหนียวนุม ไมแตกหัก ผิวไมลื่น และไมดูดซึมน้ำ ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา 9มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนสุ ทิ ธิบัตร 4109เลขที่ แผน ยางพารารองปลายแทง ตวั อยา งคอนกรีตทดสอบ วันทีจ่ ดทะเบียน : 14 มนี าคม 2551 ช่ือผูประดษิ ฐ : นายประชมุ คำพฒุ สงั กดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน แผนยางพารารองปลายแทงตัวอยางคอนกรีตทดสอบ คือวัสดุสำหรับรองปลาย แทงทดสอบคอนกรีต เพื่อปรับผิวหนาคอนกรีตใหเรียบ ชวยใหการสงถายแรงอัด ไดเต็มผิวหนาคอนกรีต จึงทำใหไดผลการทดสอบกำลังรับแรงอัดที่ถูกตอง โดย ออกสูตรเฉพาะของยางพาราใหเปนแผนวงกลมขนาดความหนา 1 เซนติเมตร มีเสนผานศูนยกลาง 15 เซนติเมตร และ 10 เซนติเมตร ประกอบดวย ยางแทง เอสทีอาร 20 บดผสมกับเขมาดำ แคลเซียมคารบอเนต และกำมะถัน ดวยเครื่อง ผสมระบบเปด แลว ทำการขน้ึ รปู ดว ย วธิ กี ารอดั รอ นโดยใชแ มพ มิ พแ บบอดั ไดเ ปน ผลิตภัณฑแผนยางพารารองปลายแทงตัวอยางคอนกรีตทดสอบ สำหรับนำมาใช ประกอบกับครอบเบาเหล็กหลอ ในกระบวนการทดสอบกำลังรับแรงอัดของแทง ตัวอยางคอนกรีตในหองปฏิบัติการ10 RInMteUlleTcTtual Property 2016

ทำเนียบทรัพยส ินทางปญ ญา ปงบประมาณ2555 11ทำเนียบทรัพยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนุสิทธบิ ัตร 7486เลขท่ี เคร่อื งอัดชนิ้ งานเซรามกิ สท ี่มกี ารควบคุมการทำงาน ดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันทจี่ ดทะเบียน : 21 กันยายน 2555 ชอื่ ผูประดิษฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมืองมีศรี สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน การประดิษฐนี้จะทำใหสามารถอัดชิ้นงานเซรามิกส ที่มีลักษณะแบบเรียบ ไมวา จะเปนทรงกลม ทรงสามเหลี่ยม หรือทรงส่เี หลย่ี ม สามารถกำหนดความหนาแนน ของช้นิ งานไดจากการกำหนดความดนั ตั้งแต 30, 40, 50, 60 บาร ดวยระบบไฟฟา ซึ่งจะสงผลใหการนำชิ้นงานไปใชในการเคลือบมีมาตรฐานในการบันทึกผลการ ทดลอง การประดิษฐเครื่องอัดชิ้นงานเซรามิกสนี้ มีลักษณะของการทำงานที่ควบคุม ดวยไมโครคอนโทรลเลอร ซึ่งเปนโปรแกรมการสั่งงานดวยไมโครคอนโทรลเลอร ตัวโครงสรางเครื่องอัดชิ้นงานมีลักษณะเปนระบบไฮดรอลิกส การทำงานของระบบ กำหนดใหม ีความเร็วการเคล่ือนที่ 2 ระดับ กอนถึงการอัดชิ้นงาน และสามารถปรับความดันของ แรงดันขณะกดอัดชิ้นทดสอบ ไดตามความตองการของผูใช เพื่อใหเกิดการแนนของเนื้อดิน ที่ใชในการกดอัด12 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา ปง บประมาณ2556 13ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

สทิ ธิบัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ 35100เลขท่ี แบบพับกลอง วนั ทีจ่ ดทะเบียน : 18 กุมภาพนั ธ 2556 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษม าลา, นายคมสนั เรอื งโกศล สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน14 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

35101สทิ ธิบัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขที่ แบบพับกลอง วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 18 กุมภาพันธ 2556 ชอ่ื ผูออกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจรญิ พงษมาลา, นายคมสนั เรืองโกศล สังกดั : คณะศิลปกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน 15ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนสุ ทิ ธิบัตร 7565เลขท่ี เครอ่ื งดัดโลหะขบั เคลอื่ นโดยชุดเฟองสะพานขบ กบั เฟองตรงควบคมุ ดวยระบบไฮดรอลกิ วันทจ่ี ดทะเบียน : 26 ตุลาคม 2555 ชอ่ื ผูประดิษฐ : นายศริ ชิ ยั ตอ สกลุ สังกดั : คณะวศิ วกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เครื่องดัดโลหะขับเคลื่อนโดยชุดเฟองสะพานขบกับเฟองตรงควบคุมดวยระบบ ไฮดรอลิก เปนเครื่องที่สามารถทำการดัดโลหะที่มีรูปทรงกลมและโลหะแผน โดยใชแมพิมพมัลติฟงกชัน ที่สามารถถอดเปลี่ยนได ตามลักษณะชิ้นงานที่ ตอ งการดดั โดยมแี ขนดดั ทส่ี ามารถปรบั ระยะเขา -ออก ของกระบอกสบู ไฮดรอกลกิ ขบั เคลอ่ื นชดุ เฟอ งตรงทข่ี บกบั เฟอ งสะพาน สามารถหมนุ ดดั ทำมมุ ในการดดั สงู สดุ 90 ดวยใชสวิตซกด 2 ระบบพรอมกัน คือ กดดวยมือและเทาเหยียบเพื่อความ ปลอดภัยในการทำงาน16 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

7566อนสุ ิทธบิ ตั ร เลขท่ี ชุดยกและเคล่ือนยา ยผูปวย ควบคุมดวยรโี มทคอนโทรลวันท่จี ดทะเบียน : 26 ตลุ าคม 2555ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณีธรรม, ผศ.นพ.นิยม ละออปก ษณิสังกดั : คณะครศุ าสตรอตุ สาหกรรม, ศนู ยการแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารีรายละเอียดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาที่เกิดขึ้น อันเนื่องมาจากการชวยเหลือ ผูปวยให สามารถเคลื่อนที่หรือขับถายไดโดยสะดวก ซึ่งจากเดิมการชวยเหลือ ของญาติจะใชการอุม หรือการยกซึ่งอาจจะทำใหผูปวยกระทบกระเทือนจาก การใชว ธิ กี ารท่ไี มถกู วิธี และเพือ่ ใหผ ปู วยได เคลอ่ื นท่ีหรือขบั ถายโดยไมเปนภาระ กบั ญาตหิ รอื ผชู ว ย การใชช ดุ ยกและเคลอ่ื นยา ยผปู ว ย ควบคมุ ดว ยรโี มทคอนโทรล ซึ่งสามารถเคลื่อนยายผูปวยเพื่อนำไปขับถายทั้งรูปแบบอุจจาระ และปสสาวะ ดังนั้นจึงไดนำเทคโนโลยีเพื่อการชวยเหลือรูปแบบใหมในการชวยเหลือผูปวย คือ นำเอาไมโครคอนโทรลเลอรมา ควบคมุ การยกและเคลอื่ นยายผปู ว ย โดยเฉพาะผูที่ประสบปญหาการ เคลื่อนไหวตลอดจนผูที่มีน้ำหนักมาก ไมสามารถเคลื่อนที่ได การพัฒนา ชุดยกและเคลื่อนยาย และควบคุม ดว ยรีโมทคอนโทรล ซ่ึงการประดิษฐ งานชุดนี้สามารถทำใหผูปวยลดการ กระทบกระเทือนและสงผลถึงการ บาดเจ็บรางกายและบาดแผล ตลอดจน ทำใหผูปวยมี สุขภาพจิตดีขึ้นและ ญาติไมเหนื่อยอีกดวย 17ทำเนียบทรัพยสินทางปญ ญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนสุ ิทธิบตั ร 7567เลขท่ี เคก ขาวกลองนงึ่ วนั ท่ีจดทะเบยี น : 26 ตุลาคม 2555 ช่อื ผปู ระดิษฐ : นางสาวเดือนเตม็ ทมิ ายงค, ผูชวยศาสตราจารยสิวลี ไทยถาวร สงั กัด : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน เคกขาวกลองนึ่ง ประกอบดวย แปงสาลี ขาวกลอง น้ำตาล หัวกะทิ น้ำ ยีสต ไข และเกลือ เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีความหนึบจากกากใยของขาวกลอง18 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

7619อนสุ ทิ ธบิ ตั ร เลขท่ีเคร่อื งผสมนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร วนั ทจ่ี ดทะเบียน : 19 พฤศจกิ ายน 2555 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลักษณ เมอื งมีศรี สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน เครื่องผสมน้ำเคลือบนี้มีลักษณะที่เปนเครื่องที่ปนหมุนใหน้ำเคลือบผสมกัน ในอัตราสวนที่ทำการทดลอง โดยมีอุปกรณควบคุมการเคลื่อนที่ดวยกดปุมสวิตซ หลงั จากนนั้ จะสงสัญญาณอนิ พุทไปที่ไมโครคอนโทรลเลอร เพ่ือทำการประมวณผล และสงสัญญาณเอาตพุทไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร โดยระบบการ ขบั เคลือ่ นจะมที ้ังแนวดิ่งและแนวราบ สำหรบั การเคลือ่ นทจ่ี ะเปน แบบ 2 แกน คือ แกนแซดและแกนวาย โดยจะทำงาน อิสระตอ กนั ในการเคลอื่ นท่ี ซงึ่ เครือ่ ง ผสมน้ำเคลือบ ควบคุมดวยไมโคร คอนโทรลเลอร จะถูกออกแบบให เหมาะสมสำหรับการเคลือบน้ำยา ปริมาณนอย ลดขั้นตอนการทำงาน เคลื่อนยายสะดวกและสามารถปรับ ความเร็วของมอเตอรในขณะทำงาน ไดดวย 19ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2559

อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 7695เลขที่ อปุ กรณเสริมเหลก็ พยงุ ขาสำหรบั ชวยการเดนิ ของผูพ กิ าร วนั ทจี่ ดทะเบยี น : 24 ธันวาคม 2555 ชอ่ื ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธ์ิ มณีธรรม สงั กัด : คณะครศุ าสตรอสุ าหกรรม รายละเอียดผลงาน การประดิษฐอุปกรณเสริมเหล็กพยุงขา สำหรับชวยการใชเหล็กพยุงขา ใหการเดิน ของผูพิการสะดวกขึ้น จะเปนเหล็กพยุงขา ทีม่ ีใชอ ยแู ลว โดยอปุ กรณเ สรมิ เหลก็ พยุงขา นี้จะประกอบไป ดวย 2 สวน คือ เบาสวม รองรบั สปรงิ และสปรงิ โดยสปรงิ จะมจี ำนวน ขด 4 ขด พับรอบนอกของ เบาสวมรองรับ สปริง ทำใหสามารถพาอุปกรณพยุงปลาย เทาและนองยืดหดได ดังนั้นขณะที่ผูพิการ เดินจะสามารถงอหัวเขาและยืดหัวเขาได ในทวงทาที่ปกติหรือใกลเคียงกับคนปกติ ซึ่งจะแตกตางจากเหล็กพยุงขาของเดิม ที่ไมสามารถยืดหดหรือพับงอได20 RInMteUlleTcTtual Property 2016

7696อนสุ ิทธบิ ตั ร เลขท่ี รถเขน็ คนพิการแบบขบั ถายระบบไฟฟา ควบคมุ ดวยไมโครคอนโทรลเลอรวันท่ีจดทะเบยี น : 24 ธนั วาคม 2555ช่อื ผูประดษิ ฐ : ดร.เดชฤทธิ์ มณธี รรม, ผชู ว ยศาสตราจารย นพ.นยิ ม ละออปกษิณสงั กัด : คณะครุศาสตรอสุ าหกรรม, ศนู ยก ารแพทย สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารีรายละเอียดผลงาน รถเข็นคนพิการแบบขับถายนี้มีลักษณะที่เปนรถเข็นที่อาศัยพลังงานที่สะสมใน แบตเตอรี่มาขับเคลื่อน รถเข็นนี้สามารถใชงานได 2 ลักษณะคือ ใชเปนรถเข็น ที่สามารถขับถายได และใชเปนรถเข็นที่เปนพาหนะไปที่ตางๆ ตามที่ตองการได โดยมีอุปกรณควบคุมที่เปนโปรแกรม เมื่อไดรับสัญญาณควบคุมจากกดปุมสวิตช จะทำการประมวลผลและสงสัญญาณไปยังอุปกรณควบคุมความเร็วมอเตอร และ อุปกรณตางๆ โดยระบบการขับเคลื่อนจะมีการขับเคลื่อนแบบลอขับเคลื่อนหลัก แตละลอไมขึ้นตอกัน การเลี้ยวใชหลักการความแตกตางของความเร็วระหวางลอ ทั้งสองขาง และสามารถหมุนรอบตัวเอง 360 องศาได ใชหลักการการหมุนใน ทิศทางตรงกันขามของลอขับเคลื่อนทั้งสองขาง ทิศทางการเคลื่อนที่ของรถจะ อาศัยตำแหนงของการกดปุมสวิตชเปนตัวกำหนดทิศทาง ความเร็ว และลักษณะ การวิ่งของรถ ซึ่งรถเข็นคนพิการแบบขับถายจะถูกออกแบบใหเหมะสมสำหรับ เปนพาหนะสำหรบั คนพิการท่ีใชก าร ขับเคลื่อนในอาคารหรือรอบบริเวณ ภายนอกอาคาร และที่สำคัญคือ รถเข็นนี้ ผูปวยสามารถนั่งขับถาย บนรถเข็นได โดยมีระบบการทำความ สะอาดกน ระบบสเปรยน้ำ ระบบ เปาทำความสะอาดกน และระบบ จดั เก็บถุงอุจจาระ และปสสาวะ ทำให ผปู ว ย ผสู งู อายุ ตลอดจนผดู ูแลผูปวย มีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 21ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2559

อนุสทิ ธิบตั ร 7697เลขที่ เครื่องจับช้ินทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดว ยไมโครคอนโทรลเลอร วันทจ่ี ดทะเบียน : 24 ธันวาคม 2555 ช่ือผูประดษิ ฐ : ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.เบญจลกั ษณ เมอื งมีศรี สังกัด : คณะศลิ ปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน แนวคิดขางตนทำใหมองเห็นถึงปญหาของการทดลองเคลือบดวยการชุบหรือ จุมชิ้นทดลอง แตละครั้งที่ผูทดลองตองใชมือจุมอาจทำใหเกิดอันตราย กับผูชุบ เคลือบสำหรับผูแพสารบางชนิด และเพื่อใหไดมาตรฐานในการควบคุมความหนา ของการเคลือบ และพื้นที่ในการเคลือบใหไดที่ผูทดลองกำหนด จะสงผลใหการ ทดลองนำ้ เคลอื บมคี วามเทย่ี งตรงและมคี วามเชอ่ื มน่ั ตอ การทดลองซำ้ ในการละครง้ั ของการทดสอบ และอีกประการคือ การใชเ ครอ่ื งมอื จบั ชน้ิ ทดสอบนำ้ เคลอื บ ควบคุมดวยไมโครคอนโทรลเลอร จะชวยลดความเมื่อยลาของผูทดลอง ชิ้นงานจำนวนหลายชิ้นตลอดจนได ความเที่ยงตรงแมนยำกับตำแหนง ความเร็วที่คงที่ตลอดเวลา และลด อุบัติเหตุลงดวย22 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

8106อนสุ ิทธบิ ตั ร เลขท่ี กรรมวธิ ีการผลิตตะขบอบแหง วนั ท่ีจดทะเบยี น : 20 มิถุนายน 2556 ชอ่ื ผูป ระดษิ ฐ : ดร.อรวลั ภ อปุ ถมั ภานนท สงั กดั : คณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตตะขบอบแหง เปนการคัดเลือกผลตะขบที่มีสีแดงทั้งผล นำมา ลา งนำ้ สารละลายกรดแอสคอรบ คิ ผง่ึ ใหแ หง โดยใชล มเปา จากนน้ั เขา ตอู บลมรอ น (Tray Dryer) จนคา water activity (aw) เหมาะสม แลว จงึ นำไปบรรจแุ บบสญุ ญากาศ ตะขบอบแหงทไี่ ดจะมีสแี ดงเขม คลา ยลกู เกด เก็บรักษาไดน าน 23ทำเนียบทรพั ยสินทางปญญา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี 2559

อนุสิทธบิ ตั ร 8107เลขท่ี กอนดินทีม่ ีสว นผสมของน้ำยางธรรมชาติ และกระบวนการผลติ วันท่จี ดทะเบยี น : 20 มถิ นุ ายน 2556 ชอื่ ผูประดษิ ฐ : นายประชุม คำพุฒ, วา ทร่ี อ ยโทกิตตพิ งษ สุวีโร สังกัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจดั การทรัพยสนิ ทางปญญา และถายทอดเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน กอนดินที่มีสวนผสมของน้ำยางธรรมชาติ เปนการประดิษฐกอนดินสำหรับใชใน งานกอสรางอาคาร หรือสวนประกอบของอาคารที่ทำจากดิน โดยผสมน้ำยาง ธรรมชาติเพื่อชวยใหกอนดินมีคุณสมบัติในการปองกันการชะลางและการดูดซึม น้ำที่ดีขึ้น และมีคาความตานทานแรงอัดและความตานทานแรงดัดที่สูงขึ้น ซง่ึ สว นผสมประกอบดว ย ดนิ นำ้ นำ้ ยางธรรมชาติ สารลดแรงตงึ ผวิ วสั ดผุ สมเพม่ิ ผสมรวมกัน จากนั้นปนหรืออัดเปนกอนแลวทำใหแหงในสภาพอากาศปกติหรือ ใหความรอนที่อุณหภูมิ 30-120 องศาเซลเซียส24 RInMteUlleTcTtual Property 2016

8218อนสุ ทิ ธบิ ตั ร เลขที่ กาวรองพนื้ ผา ใบดนิ สอพองผสมกาวเมลด็ มะขาม สำหรบัการสรางสรรคผลงานศลิ ปะดว ยเทคนิคสีฝุนและกรรมวิธีการผลติ วันท่จี ดทะเบยี น : 15 สิงหาคม 2556 ชื่อผูประดิษฐ : นายรตั นฤทธ์ิ จันทรรงั สี สงั กัด : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน กาวรองพื้นผาใบดินสอพองผสมกาวเมล็ดมะขามสำหรับการสรางสรรคผลงาน ศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน ประกอบดวย ดินสอพอง เมล็ดมะขามปน (ดินสอพอง รอ ยละ 18.7 เมล็ดมะขาม รอยละ 3.1 กาวกระถนิ รอ ยละ 0.3 นำ้ รอ ยละ 77.88) เตรียมกาวรองพื้นโดยนำเมล็ดมะขามมาคั่ว นาน 30 นาที กระเทาะเปลือกออก นำเนื้อเมล็ดมะขามแชน้ำ 1 คืน ตำใหละเอียด นำน้ำและเนื้อเมล็ด มะขามปน ใสภาชนะตมใหเดือด 20 นาทีใสกาวกระถินตมตอ 5 นาทีเติมดินสอพองตมอีก 10 นาที กรองกาวดวยผาขาวบาง นำกาวรองพื้นที่ไดไปทาบนพื้นผาใบหรือพื้น เฟรมผาใบไมอัดหรือเฟรมผาใบ จำนวน 3 ครั้ง โดยทาชั้นที่ 2 แหงแลวกวดดวย หอยเบี้ย แลวทาชั้นที่ 3 ทิ้งใหแหง จากนั้นนำผาใบหรือพื้นเฟรมผาใบไมอัดหรือ เฟรมผาใบ ที่ไดไปสรางสรรคผลงานศิลปะดวยเทคนิคสีฝุน 25ทำเนยี บทรัพยส นิ ทางปญ ญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2559

ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญ ญา ปง บประมาณ 255726 RInMteUlleTcTtual Property 2016

39963สิทธิบัตรการออกแบบผลติ ภณั ฑ เลขท่ี ขวดวนั ทีจ่ ดทะเบียน : 8 พฤษภาคม 2557ชือ่ ผอู อกแบบ : นางสาวจฑุ ามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรอื งโกศลสงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตรรายละเอียดผลงาน 27ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนสุ ทิ ธบิ ตั ร 8851เลขที่ สูตรผสมของวุนผลไมและกรรมวธิ ีการผลติ วันท่จี ดทะเบียน : 8 พฤษภาคม 2557 ช่ือผปู ระดษิ ฐ : นางสาวจีรวัฒน เหรียญอารยี , นายอภิชาติ โคเวยี ง สงั กดั : คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน กรรมวิธีการผลิตวุนผลไมสำหรับตกเเตงอาหาร เปนการนำเจลาติน ผงวุน นำ้ สะอาด เเละน้ำผลไม มาผสมเเละตม เคี่ยว นำไปใสถ ุงบบี ลงบนนำ้ มัน จากนัน้ นำไปเเชในตูเย็น เทผานกระชอน พักไวใหสะเด็ด เเลวนำวุนผลไมที่ไดไปเเช นำ้ เช่ือม เเละนำไปเเชเ ย็นทีอ่ ุณหภูมิ 0 องศาเซลเซยี ส ไดว นุ ผลไมส ำหรับตกเเตง อาหาร28 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

ทำเนยี บทรัพยส ินทางปญ ญา ปง บประมาณ2558 29ทำเนียบทรัพยส นิ ทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2559

อนสุ ิทธบิ ัตร 9418เลขท่ี กรรมวิธีการผลิตผงไหม (ไฟโบรอนิ และเซริซิน) เพ่อื ใชในงานดานส่ิงทอ การแพทย และเครอ่ื งสำอาง วันทจี่ ดทะเบียน : 6 มกราคม 2558 ชือ่ ผปู ระดิษฐ : ผูชว ยศาสตราจารย ดร.อภิชาติ สนธสิ มบัติ สังกดั : คณะวิศวกรรมศาสตร รายละเอยี ดผลงาน ผงเสนใยไหม ไดรับจากกระบวนการละลายเสนใยไหมดิบ เศษเสนใยไหมดิบ หรือรังไหมดิบ ทำใหเปนของเหลวขน ทำใหของเหลวขนมีคา pH เปนกลาง ทำแหงในเครื่องอบแหง เมื่อไดแผนเสนใยไหม นำเขาเครื่อบด Ball Mill โดยตั้ง สภาวะการบดเปนเวลา 30 นาที เมื่อครบเวลา นำผงละเอียดไปถายภาพดวย กลอ งจลุ ทรรศนอ เิ ลก็ ตรอนแบบสอ งกราด (Scanning Electron Microscope, SEM) พบวาผงเสนใยไหมมีความละเอียด 300-500 ไมโครเมตร สามารถนำใชสำหรับ เคลือบวัสดุดานสิ่งทอ ดานการแพทย และผสมในเครื่องสำอาง เพื่อทำใหผิวหนัง ชมุ ชน้ื ดดู ความชน้ื ไดด ี ปอ งกนั รงั สอี ลั ตาไวโอเลต (UV Protecting) และลดรว้ิ รอย บนใบหนา และผวิ หนงั ได30 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

9695อนสุ ทิ ธิบัตร เลขที่ ผลิตภณั ฑเกลอื สปาที่มใี บสะเดาแหงบดเปน วสั ดุขัดผิววนั ที่จดทะเบยี น : 26 มีนาคม 2558ชือ่ ผูประดิษฐ : รองศาสตราจารย ดร.อญั ชลี สงวนพงษสังกดั : คณะเทคโนโลยีการเกษตรรายละเอยี ดผลงาน ผลิตภัณฑเกลือสปาที่มีใบสะเดาเปนวัสดุขัดผิว ประกอบดวย เฟสของสวนผสม 2 สวน คือ สวนที่ 1 เรียกวา เฟสของแข็ง ที่ประกอบดวยเกลือทะเล ผสมอยูกับ ใบสะเดาบดแหง เปน ผง และสว นท่ี 2 เรยี กวา เฟสของเหลว ประกอบดว ยสว นผสม 7 ชนดิ คอื น้ำมันเงา ผสมปรงุ แตง น้ำมนั มะกอกฝรั่ง นำ้ มนั มะนาว นำ้ มนั เจอราเนยี ม นำ้ มนั ลาเวนเดอร นำ้ มนั โรสแมรีและนำ้ มันพัทโชลี เฟสทั้งสองของสวนผสม บรรจุ ในภาชนะแยกกนั สามารถนำมาผสมกันไดตามตอ งการ 31ทำเนยี บทรพั ยส ินทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี 2559

อนุสิทธิบัตร 9721เลขท่ี หมอ นงึ่ ลกู ประคบสมนุ ไพรไทยแบบหยบิ จับงาย วันทจ่ี ดทะเบียน : 27 มีนาคม 2558 ชอ่ื ผปู ระดิษฐ : นางสุวรนิ ทร ปทมวรคุณ, นายจตุรพธิ เกราะแกว , นายไกรมน มณศี ิลป สังกัด : คณะวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รายละเอียดผลงาน หมอนึ่งลูกประคบสมุนไพรแบบหยิบจับงาย เปนภาชนะที่มีลักษณะพิเศษคือ ใชนึ่งลูกประคบ สมุนไพรไดจำนวนหนึ่งตามชองที่ใสลูกประคบ โดยไมขึ้นตอกัน สำหรับลูกประคบขนาดมาตรฐานที่มีการ ผลิตทั้งโดยชุมชุนเพื่อการจำหนาย หรือการผลิตในครัวเรือนเพื่อใชสวนตัว โดยมีการประดิษฐใหฝาหมอนึ่งมีชอง ใหดามลูกประคบอยูพอดีตรงชองและฝาหมอออกมาได และโผลพนชองได ขึ้นกับความยาวดามลูก ประคบ ทำใหลูกประคบเมื่อไดรับความรอนจากไอน้ำ ตรงดา มจบั จะไมร อ นเทา ตวั ลกู ประคบ ทำใหผ ใู ชเ ปด ฝาหมอ แปลงจบั ลกู ประคบ สมุนไพรไดง า ย32 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

9970อนุสทิ ธิบัตร เลขท่ี กรรมวิธีการผลติ บลอ็ กประสานจากเศษหินบะซอลต วันท่ีจดทะเบยี น : 10 มถิ ุนายน 2558 ชอ่ื ผปู ระดษิ ฐ : นายประชุม คำพฒุ , วา ทร่ี อยเอกกิตตพิ งษ สวุ โี ร, นายอมเรศ บกสุวรรณ สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หนวยจัดการทรพั ยส ินทางปญ ญา และถายทอดเทคโนโลยีรายละเอียดผลงาน กรรมวิธีการผลิตบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลต เปนกระบวนการผลิต วสั ดกุ อ ผนงั ทม่ี สี ว นประกอบของปนู ซเี มนตป อรต แลนดป ระเภท 1 เศษหนิ บะซอลต เน้อื โพรงขา ย และน้ำประปาผสม สว นประกอบใหเขากนั กอ นอัดขน้ึ รูปดวยเครื่อง อัดบล็อกประสาน ไดบล็อกประสานจากเศษหินบะซอลตที่มีลักษณะภายนอก สมบูรณไมแตกหักงาย ความตานทานแรงอัดสูง การดูดกลืนน้ำต่ำ น้ำหนักเบา และเปนฉนวนปองกันความรอนที่ดี สำหรับนำไปใชประโยชนในอุตสาหกรรม การกอสราง และการจัดสวนทั่วไป 33ทำเนยี บทรพั ยสินทางปญญา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี 2559

อนุสิทธบิ ัตร 10063เลขที่ บลอ็ กปพู น้ื ระบายน้ำชนดิ ควบคุมทิศทางการไหล วันทจ่ี ดทะเบียน : 7 กรกฎาคม 2558 ช่ือผูป ระดษิ ฐ : นายประชุม คำพฒุ , นายกิตตพิ งษ สวุ โี ร สงั กัด : คณะวศิ วกรรมศาสตร, หจก. สยามอนิ โนเวชน่ั แอสโซซเิ อชน่ั รายละเอยี ดผลงาน บล็อกปูพื้นระบายน้ำชนิดควบคุมทิศทางการไหล เปนวัสดุ 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนคอนกรีตพรุนจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของหินมาก เพื่อใหเกิดชองวางของเนื้อวัสดุเมื่อแข็งตัว สำหรับใหน้ำระบายลงไปได ชั้นลาง เปนคอนกรีตกำลังสูงจากปูนซีเมนต ทราย หิน และน้ำ โดยใหมีปริมาณของ ปูนซเี มนตและทรายมากกวา ชัน้ บน เพ่อื ใหท ึบน้ำและแข็งแรง โดยขึน้ รปู ใหช น้ั ลา ง ลาดเอยี งใหน ้ำไหลไปในทศิ ทางทีต่ อ งการ34 IRnMteUlleTcTtual Property 2016

10199อนสุ ทิ ธบิ ัตร เลขที่ เคกขาวธญั พืชวันท่ีจดทะเบยี น : 7 สิงหาคม 2558ชอ่ื ผูป ระดิษฐ : นางสาวเดือนเตม็ ทมิ ายงค, วาท่รี อ ยเอกกิตตพิ งษ สวุ ีโรสังกดั : กรมพลาธกิ ารทหารอากาศ, หนว ยจดั การทรัพยสนิ ทางปญญา และถา ยทอดเทคโนโลยีรายละเอียดผลงาน เคกขาวธัญพืช ประกอบดวย เเปงสาลี ขาวหุงสุก น้ำตาลทราย หัวกะทิ น้ำ ไขไก ยีสต และธัญพืชตมสุก เนื้อขนมมีลักษณะนุมฟู และมีกากใย รสชาติ กลิ่น สี และเนื้อสัมผัสจากธญั พืช 35ทำเนยี บทรพั ยสนิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี 2559

ทำเนียบทรัพยสนิ ทางปญ ญา ปงบประมาณ 255936 RInMteUlleTcTtual Property 2016

47102สทิ ธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ เลขท่ี แบบพับกลองวนั ทจ่ี ดทะเบียน : 23 พฤศจกิ ายน 2558ชอื่ ผอู อกแบบ : นางสาวจฑุ ามาศ เจรญิ พงษม าลา, นายคมสัน เรอื งโกศลสังกัด : คณะศิลปกรรมศาสตรรายละเอยี ดผลงาน 37ทำเนยี บทรพั ยส นิ ทางปญญา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี 2559

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภณั ฑ 47103เลขท่ี แบบพบั กลอ ง วันท่ีจดทะเบียน : 23 พฤศจกิ ายน 2558 ชื่อผอู อกแบบ : นางสาวจุฑามาศ เจริญพงษมาลา, นายคมสนั เรอื งโกศล สงั กดั : คณะศิลปกรรมศาสตร รายละเอียดผลงาน38 IRnMteUlleTcTtual Property 2016


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook