Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

ชุดกิจกรรมที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

Published by djp.saithara01, 2018-07-09 23:14:11

Description: ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย

Keywords: วิทยาศาสตร์

Search

Read the Text Version

ชุดท่ี 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 1 คานา ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) รายวิชาชีววิทยา(ว33242) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ ผู้เรียนสามารถนาไปฝึกปฏบิ ัติหรือเรียนรู้เพ่ิมเตมิ ด้วยตนเอง ทงั้ ในและนอกเวลาเรียน โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู้แต่ละชุดประกอบด้วยเอกสาร 2 ส่วน คือ คู่มือครูและชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ท้ังน้ีเพ่ือให้ผู้เรียนนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไปดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ได้สะดวกและมีประสิทธิภาพตรงตามจุดมุ่งหมายของการสร้างชุดกจิ กรรม ซ่ึงชดุ กิจกรรม เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ประกอบด้วย8 ชดุ กิจกรรม ดงั น้ี 1. ชดุ กิจกรรมที่ 1 การศกึ ษาความหลากหลายทางชีวภาพ 2. ชุดกิจกรรมท่ี 2 กาเนดิ ของส่งิ มีชวี ิต 3. ชุดกจิ กรรมที่ 3 อาณาจกั รมอเนอรา 4. ชุดกิจกรรมท่ี 4 อาณาจักรโพรติสตา 5. ชุดกิจกรรมที่ 5 อาณาจกั รพชื 6. ชดุ กจิ กรรมท่ี 6 อาณาจกั รฟังไจ 7. ชดุ กจิ กรรมที่ 7 อาณาจกั รสัตว์ 8. ชุดกจิ กรรมที่ 8 ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ชดุ กิจกรรมนี้เป็นชุดที่ 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ซ่ึงประกอบด้วย คาช้ีแจงผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้ วิธีใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้แบบทดสอบก่อนเรยี น ซ่ึงเป็นแบบตัวเลือก 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พรอ้ มกับบตั รความรู้และบัตรกจิ กรรมรวมท้ังมีแบบทดสอบหลังเรียนและเฉลยแบบทดสอบและบัตรกิจกรรม ท้ายสุดมีแบบบันทึกคะแนนก่อนเรียนระหวา่ งเรยี น และหลังเรียน ผูจ้ ัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าชุดการเรียนรู้นี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน สาหรับครู นักเรียนและผู้ท่สี นใจ เพอ่ื ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนตอ่ ไป นางสาวสายธารา เดชเจริญพร ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

ชดุ ท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 2 สารบญั หนา้ 1เรื่อง 2คานา 3สารบัญ 4คาช้ีแจง 5การใช้ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ 6ผลการเรียนรู้ 6จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 7เนือ้ หาสาระ 8บทบาทของนักเรียน 11แบบทดสอบกอ่ นเรียน 12บัตรกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 1 16บัตรความร้ทู ่ี 1 18บตั รกิจกรรมการเรียนร้ทู ่ี 2 28บตั รความรูท้ ่ี 2 30บตั รกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่ 3 33แบบทดสอบหลังเรยี น 34บรรณานกุ รม 35ภาคผนวก 36แบบบนั ทกึ คะแนนระหว่างเรียน 37เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น 42เฉลยบัตรกิจกรรม 47แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น และประเมนิ คณุ ลักษณะแบบประเมนิ ผังความคิด ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 3คาชี้แจงชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) รายวชิ าชวี วิทยา(ว33242) เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพ ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ชุดกจิ กรรมน้ปี ระกอบด้วยชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 8 ชุด ดงั นี้ชุดที่ ช่ือชดุ กจิ กรรม จานวนชวั่ โมง1 การศึกษาความหลากหลายทางชวี ภาพ 22 กาเนดิ ของส่งิ มชี วี ติ 23 อาณาจักรมอเนอรา 24 อาณาจักรโพรตสิ ตา 25 อาณาจักรพืช 26 อาณาจักรฟังไจ 27 อาณาจักรสตั ว์ 28 ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 2 รวม 16 ชุดกิจกรรมการเรียนรฉู้ บบั น้ีเปน็ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ชุดท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ซงึ่ นักเรยี นจะได้ศกึ ษาเรยี นรแู้ ละปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ เพอ่ื ศึกษาเกีย่ วกับความหลากหลายของสง่ิ มชี ีวิต โดยใช้เวลาในการปฏิบตั กิ ิจกรรมท้ังหมด 2 ช่วั โมง และใหน้ ักเรยี นศึกษาชดุ กิจกรรมตามลาดบัขั้นตอนต่อไปน้ี ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 4การใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ขั้นเตรยี มกอ่ นใช้ชุดกจิ กรรม1. ทาการศึกษาค้นคว้าในเรื่องท่ีตนเองจะเรยี นหรือปฏบิ ัตกิ ิจกรรมมากอ่ นลว่ งหน้าเพื่อใหเ้ ขา้ ใจใน บทเรียนไดด้ ีและรวดเร็วยงิ่ ขึ้น2. เตรียมความพรอ้ มของตนเองสาหรับการปฏบิ ัติกจิ กรรมร่วมกบั เพ่ือนในห้องเรยี นกบั เพื่อนใน หอ้ งเรียนและเพ่ือนร่วมกล่มุ3. คาแนะนาในการปฏิบตั ิงานกลมุ่ 3.1 เลือกประธานกล่มุ เพอ่ื เปน็ ผู้นาในการดาเนนิ การจัดการเรยี นรู้ และเลขากล่มุ เพื่อบนั ทึก ขอ้ มูลในการปฏบิ ัติกิจกรรมต่างๆ 3.2 สมาชกิ ทุกคนตอ้ งมสี ว่ นร่วม ช่วยเหลือซงึ่ กนั ละกัน และรับผดิ ชอบร่วมกนั 3.3 ตง้ั ใจปฏบิ ตั กิ ิจกรรมอยา่ งเต็มความสามารถและรอบคอบ4. ใชก้ ลุ่มเดมิ ตลอดการเรยี นด้วยชดุ กิจกรรมการเรียนรนู้ ี้ขน้ั การใช้ชดุ กจิ กรรม1. ศึกษาภาระงานให้เข้าใจ และปฏิบตั ติ ามลาดบั ขนั้ ตอน2. ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมดว้ ยตนเอง ไม่ลอกเพอ่ื นและไม่ใหเ้ พ่ือนลอก3. ศึกษากิจกรรมดว้ ยความตั้งใจแล้วทาการวิเคราะห์เน้ือหาและสรุปเพอ่ื ให้เข้าใจได้ง่ายๆ4. ศกึ ษาคาช้แี จงของกจิ กรรมโดยการระดมความคดิ ในกลุ่ม เพอื่ ตอบคาถามใหต้ รงตามทฤษฎขี อง เร่ืองทเ่ี รียน ไม่ตอบโดยไม่มีเหตุผลหรือไม่มีทฤษฎีรองรบั5. รว่ มอภิปรายกับครูด้วยความต้งั ใจ จดความรใู้ หม่ และซักถามทันทเี มอื่ ไม่เข้าใจ6. มคี วามสามัคคี มีน้าใจ ภาคภูมใิ จในผลงานของกลมุ่ โดยไม่เอาเปรียบด้วยการนั่งเฉยหรือก่อ ความวุ่นวายในหอ้ งเรียน ขั้นหลงั ใช้ชุดกิจกรรม1. ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น2. รวบรวมผลงานท่ีไดจ้ ากการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมสง่ ครู เพ่อื ประเมินผลการเรียนรู้3. จัดเกบ็ อปุ กรณท์ ุกช้นิ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 5ผลการเรียนรู้ ดา้ นความรู้ 1. สบื คน้ และอภิปรายเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 2. อธิบายความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 3. จาแนกและสรา้ งเกณฑข์ องความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 4. นาความรูเ้ ร่อื งความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทยไปใชป้ ระโยชน์ในชวี ิตประจาวนั 5. ประเมนิ ความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ด้านทกั ษะกระบวนการ นักเรยี นสามารถปฏบิ ตั ิกจิ กรรมตามกระบวนการสืบเสาะหาความรแู้ บบวฎั จักร 7 ข้ัน (7E) ดงั นี้ 1. ทาแบบฝึกหัดก่อนบทเรยี น เพื่อทดสอบความรู้เดมิ (Elicitation Phase) 2. ร่วมกันอภิปรายและตง้ั คาถามจากแบบทดสอบก่อนเรียน (Engagement Phase) 3. สืบคน้ ข้อมลู จากเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่อง อาณาจกั รมอเนอรา (Exploration Phase) 4. นาขอ้ มลู มาดาเนินการวเิ คราะห์ แปลผล สรุปผลและนาเสนอผลที่ได้ในรปู ตา่ งๆเชน่ บรรยายสรุป สร้างแผนภมู คิ วามคดิ รวบยอด (Explanation and Expansion Phase) 5. ให้นักเรยี นนาผลงานทไี่ ด้จากการสรปุ ผลการวิเคราะห์มานาเสนอหน้าชน้ั เรยี นเพ่อื นาไปสหู่ าสรุปร่วมกันในช้นั เรียนและประเมินผลงาน (Evaluation and Extension Phase) ดา้ นคุณธรรมจรยิ ธรรมและคุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ 1. มคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้ ได้แก่ การสนทนาซกั ถาม กระตือรอื รน้ ในการปฏบิ ัติกจิ กรรม 2. มคี วามรับผิดชอบ ไดแ้ ก่ ปฏบิ ัตหิ น้าทีท่ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย ทางานสาเรจ็ ตามเปา้ หมาย 3. ความมีเหตุผล ไดแ้ ก่ การรวบรวมข้อมลู การอธิบายหรอื แสดงความคิดเห็นอยา่ งมีเหตุผลมี หลกั การหรอื ขอ้ มลู อ้งอิง 4. มีระเบียบวนิ ัย ได้แก่ ตรงต่อเวลาที่นดั หมาย ปฏบิ ัตติ ามระเบียบวนิ ยั ของกิจกรรม 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง ไดแ้ ก่ ใช้ทรัพย์สนิ ตนเองอย่างประหยัด ทรัพย์สินสว่ นรวมอยา่ งคุม้ คา่ ไมเ่ อา เปรยี บคนอืน่ วางแผนการเรยี นการทางาน 6. มงุ่ มัน่ ในการทางาน ไดแ้ ก่ ต้ังใจ อดทนทางาน ไมย่ อ่ ท้อ 7. รกั ความเป็นไทย ได้แก่ มีจติ สานักในความเป็นไทยและภมู ิปัญญาไทย 8. มีจติ สาธารณะ ไดแ้ ก่ ช่วยเหลือเพื่อน พ่อแม่ ครู มีจิตอาสา ทางานเพื่อส่วนรวม ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6

ชุดท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 6 จุดประสงค์การรเรยี นรู้ 1. สบื ค้นขอ้ มลู สารวจตรวจสอบ อภปิ ราย และสรปุ ลกั ษณะทีเ่ หมือนและแตกต่างกันของส่ิงมชี วี ติ ในอาณาจกั รตา่ งๆ 2. สบื ค้นข้อมูล อภิปราย และนาเสนอ คุณค่าของความหลากหลายของสง่ิ มีชีวติ กบั การใช้ประโยชน์ ของมนษุ ย์ ทีม่ ผี ลต่อสังคมและสงิ่ แวดลอ้ ม เน้อื หาสาระ สิ่งมชี ีวติ ของโลกมปี ระมาณ 5 ล้านสปีชีส์ ประเทศไทยมีสิง่ มชี ีวิตประมาณ 350,000 สปีชีส์ นับว่ามีความหลากหลายทางชวี ภาพและมีความอุดมสมบูรณ์มาก ระบบนิเวศในประเทศไทยมีหลากหลาย ได้แก่ ป่าชายเลน ป่าเบญจพรรณ ปา่ พรุ ปา่ เต็งรงั ปา่ ดบิระบบนเิ วศนา้ จืด และระบบนิเวศนา้ เคม็ เวลาทใี่ ช้ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพและการสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทยใชเ้ วลาในการทาการเรยี นรู้ 2 ช่ัวโมง ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 7 บทบาทของนักเรยี น 1. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ 5 คน เลอื กประธานกลุม่ เพ่ือเป็นผ้นู าในการดาเนินกิจกรรมและเลขานกุ ารกลุ่มเพ่ือบันทึกข้อมูลในการปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ งๆและมอบหมายหนา้ ท่ีให้สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มให้ชดั เจน 2. ตรวจสอบความครบถ้วนของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกระบวนการสบื เสาะหาความรูแ้ บบ 7Eเรอื่ ง กาเนดิ ของสงิ่ มชี วี ติ 3. ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือทดสอบความรเู้ ดิมของนักเรียน 4. ศึกษากจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 แล้วใหแ้ ต่ละกลุ่ม ร่วมกันอภิปรายและตอบคาถาม 5. ศกึ ษาและปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 เพอ่ื สารวจและค้นหาคาตอบ 6. ศึกษากจิ กรรมการเรยี นร้ทู ี่ 3 และ 4 จากน้นั ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม อภปิ รายและระดมความคิดในกลมุ่ สรุปแกป้ ัญหาจากสถานการณ์ที่กาหนดขน้ึ แลว้ บนั ทึกคาตอบลงในแบบบันทึกกจิ กรรม พรอ้ มท้ังขยายความรู้ทไ่ี ด้รับโดยการนาเสนอหน้าชน้ั เรียน 7. แลกเปล่ยี นกันตรวจแบบบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเลขานกุ ารกลุ่ม รวบรวมแบบบนั ทกึ คาตอบของสมาชิกไปแลกเปลี่ยนกบั กลมุ่ อนื่ โดยกาหนดใหก้ ลมุ่ ที่ 1 ตรวจกลมุ่ ที่ 5, กล่มุ ที่ 5 ตรวจกลุม่ที่ 4, กลมุ่ ท่ี 4 ตรวจกลุ่มท่ี 3, กล่มุ ท่ี 3 ตรวจกลมุ่ ที่ 2 และกลุม่ ท่ี 2 ตรวจกลุ่มที่ 1 8. ประธานรับเฉลยกจิ กรรมการเรียนรู้ จากครผู ู้สอนเพื่อนามาตรวจคาตอบ 9. สมาชกิ ในกลุ่มตรวจแบบบันทึกกจิ กรรมของสมาชกิ กลุ่มอื่น(กรณมี ีขอ้ สงสยั ใหน้ ักเรียนถามครูผู้สอน) 10. เลขานุการกลุ่ม รวบรวมแบบบนั ทกึ กิจกรรมกลุ่มคืนกลุ่มเดิม 11. ประธานกลุม่ นาเฉลยกิจกรรมคืนครผู สู้ อน 12. สมาชกิ ในกลุม่ บนั ทึกคะแนนลงในแบบบนั ทึกคะแนน รวมคะแนนของสมาชกิ ในกลมุ่หาค่าเฉลยี่ เป็นคะแนนของกลุ่มแจง้ ครผู ้สู อน ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 8 แบบทดสอบก่อนเรยี น ชุดการเรียนรทู้ ี่ 8เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพชุดท่ี 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทย จานวน 10 ขอ้ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาทีคาช้ีแจง: แบบทดสอบเป็นแบบปรนยั เลือกตอบ ก ข ค และ ง1. ข้อใดใชเ้ ปน็ เกณฑ์ในการพิจารณาคณุ ค่าของความหลากหลายทางชวี ภาพ ก. ประโยชน์,คณุ ค่าที่มีต่อมนุษย์ ข. ความชกุ ชมุ ของส่งิ มีชีวติ นั้นๆ ค. สิง่ มชี ีวิตสามารถดารงชวี ิตอยา่ งปกติสขุ ง. การบริโภคเปน็ อาหารและราคาขายเป็นสินคา้2. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ปัญหาความหลากหลายทางชวี ภาพ ก. ปญั หามลพิษของสิ่งแวดล้อมต่อสง่ิ มชี วี ติ ข. ปัญหาการใช้ทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไป ค. ปัญหาการสญู เสียถ่ินที่อยู่อาศัยของพืช,สัตว์ ง. ปัญหาส่งิ มีชวี ิตทวั่ โลกกาลังเพิ่มจานวนอยา่ งรวดเร็ว3. บคุ คลทีช่ อบตดั ต้นไม้และทาลายปา่ ซ่งึ นับว่าเป็นผทู้ ่ีทาใหส้ มดลุ ธรรมชาติในกลมุ่ สิ่งมชี วี ติ นนั้ สญู เสยี ไปเป็นบุคคลเช่นใด ก. ขาดความรู้ ข. เหน็ แกต่ ัว ค. ไม่รบั ผิดชอบ ง. ไมเ่ ขา้ ใจปัญหาท่ีจะเกิดขึ้น4. การระบาดของตั๊กแตนปาทงั ก้าในสภาวะปจั จบุ นั เปน็ ผลมาจากการโค่นถางปา่ เพอื่ ทาการเพาะปลูกขอ้ ใดต่อไปนถี้ ูกต้องทีท่ าใหก้ ารระบาดของตั๊กแตนรนุ แรงมากข้ึน ก. ความเขม้ แสงเพยี งพอ ข. อาหารเหมาะสมกว่า ค. แพร่พนั ธุ์ไดอ้ ย่างรวดเร็ว ง. ถกู หมดทุกข้อ ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 95. สมดุลธรรมชาติ (Balance of nature) หมายถงึ ข้อใดต่อไปนี้ ก. การทกี่ ล่มุ สิ่งมีชีวติ ต่างพึง่ พาอาศัยซึ่งกันและกัน ข. การมีปัจจัยทางกายภาพเหมาะสมกับสิ่งมชี วี ติ ในถิน่ ท่ีอยู่น้นั ๆ ค. การได้ประโยชนแ์ ละเสียประโยชนใ์ นสิ่งชีวิตเปน็ ไปอย่างสมดลุ ง. จานวนหรือปริมาณของกลุ่มสิ่งมชี ีวิตทมี่ ีอยู่ในธรรมชาติอย่างพอเหมาะ6. ข้อใดไมใ่ ชส่ าเหตสุ าคญั ของการมีความหลากหลาย ทางชีวภาพในประเทศไทย ก. ประเทศไทยตง้ั อย่ใู นเขตโซนร้อน ข. ความแตกตา่ งของสภาพภูมิประเทศ ค. ประเทศไทยเปน็ ศูนยก์ ลางกระจายพันธ์พุ ืชและสตั ว์ ง. ประเทศไทยอยู่ในภมู ภิ าคเอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่เป็นสาเหตกุ ารสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ภัยธรรมชาติ ข. ความเจรญิ ทางเทคโนโลยี ค. ขนาดของประชากร ง. การกระทาของมนุษย์8. การทาพันธวุ ิศวกรรม หรือ การตดั แตง่ ยีนมผี ลตอ่ ความหลากหลายทางชวี ภาพอย่างไร ก. ทาให้พืชและสัตว์มีจานวนมากข้ึน ข. ทาใหพ้ ืชและสัตว์สายพนั ธเ์ุ ดิมสูญพนั ธไุ์ ด้ ค. ทาใหพ้ ชื และสัตวต์ า้ นทานโรคมากขึน้ ง. ทาให้ธรรมชาติเกิดความสมดุล9. พืชและสัตว์ในระบบนเิ วศในขอ้ ใดทีท่ าให้ระบบเสยี สมดุลความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ตน้ เฟริ น์ ยักษ์ ข. ตน้ สกั ทอง ค. ตน้ ไมยราพยักษ์ ง. จอกหหู นู10. สตั ว์ปา่ สงวนชนดิ ใดท่ีสญู พันธุ์ไปจากประเทศไทยแล้วในปจั จุบนั ก. สมนั ข. ไก่ฟ้า ค. กระซู่ ง. นกเจา้ ฟา้ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชุดท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 10 กระดาษคาตอบ ชดุ กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 8เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ก่อนเรียน  หลงั เรียนชื่อ .................................................................................... ชนั้ ................ เลขท่ี ..............ขอ้ ท่ี ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.10. ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 11 บตั รกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทย คาชแ้ี จง กิจกรรมการเรียนรู้ฉบบั น้ีเป็นกิจกรรมที่จดั การเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ขนั้ ตรวจสอบความร้เู ดิม(Elicitation Phase) ขนั้ เร้าความสนใจ(Engagement Phase) (10 คะแนน) กิจกรรมท่ี 1 จงตอบคาถามจากภาพท่ีกาหนดให้ ที่มา: https://saipinbbc.wordpress.com สืบคน้ เมื่อ 2 สงิ หาคม 2559 คาถาม 1. จากภาพเป็นเหตุการณ์การเกิดอะไร เหตุการณ์น้ีเคยเกดิ ในประเทศไทยหรือไม่ ............................................................................................................................. ................................... 2. เหตุการณน์ ี้เกดิ จากสาเหตุใด ................................................................................................................................. ............................... 3. เหตุการณ์นี้ เกิดผลกระทบต่อพืชหรอื สัตวห์ รือไม่ อยา่ งไร จงอธิบาย........................................................................................................................................................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ................................................. ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดท่ี 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 12 บัตรความรทู้ ี่ 1 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศ ไทย คาคาช้ีแจง กจิ กรรมการเรยี นรูฉ้ บบั นีเ้ ป็นกจิ กรรมทจ่ี ดั การเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ขั้นสารวจค้นหา (Exploration Phase) ขั้นอธบิ าย (Explanation Phase) คาส่ัง ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกันศึกษาบัตรความรแู้ ละร่วมกนั วิเคราะห์ อภปิ รายและตอบคาถามต่อไปน้ีลงในบตั รบนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ประเทศไทยเป็นหนึ่งใน 20 ประเทศท่ีมีทรัพยากรชีวภาพหลากหลายมากท่ีสุดแห่งหนึ่งของโลกพันธุ์พืช พันธ์ุสัตว์รวมท้ังความหลากหลายทางชีวภาพ ( Biodiversity) หรือทรัพยากรชีวภาพ(Bioresource) เป็นฐานสาคัญของการเกษตร ยารักษาโรค และต่อเศรษฐกิจทั้งระดับท้องถ่ินและระดับประเทศ สาเหตุสาคัญที่ทาให้ ในพื้นท่ีป่าตามธรรมชาติในประเทศไทยมีความหลากหลายของพันธ์ุพชื และ พนั ธ์ุสตั ว์เปน็ อย่างมาก เน่อื งจากเหตผุ ลหลายประการได้แก่ 1. ประเทศไทยตั้งอยู่ในโซนร้อนเหนือเส้นศูนย์สูตรเล็กน้อยและอยู่ติดทะเล จึงมีสภาพภูมิอากาศท่ีเหมาะสมต่อการอยู่รอด การเจริญเติบโตและการแพร่พนั ธข์ุ องสงิ่ มชี ีวิตหลายชนิดตลอดปี อย่างไรก็ตามสภาพภูมิอากาศจะแตกต่างกันบา้ งในภาคต่างๆ ซงึ่ ขนึ้ อยู่กับตาแหน่งท่ีตง้ั ของภาคและระดับความสูงต่าของพ้ืนท่ี แต่โดยภาพรวมแล้วประเทศไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงท่ีรุนแรงและรวดเร็วมากเหมือน ในเขตอบอุ่นและเขตหนาวจึงไม่เปน็ ปจั จยั จากดั ในการดารงชวี ิตของส่ิงมีชีวติ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 6

ชุดที่ 8 เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 13 ประเทศไทยกับมรสมุ เขตรอ้ น ทม่ี า: http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=58 สบื คน้ เมือ่ 5 สงิ หาคม 2559 2. มีความแตกต่างกันของสภาพภูมิประเทศและภูมิอากาศในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยเช่นภาคเหนอื เหนือเป็นภเู ขาสงู อุณหภมู ติ ่าในฤดูหนาว ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือเป็นท่รี าบขนาดใหญ่มีสภาพภูมิอากาศค่อนข้าง แห้งแล้ง ภาคกลางเป็นท่ีราบลุ่ม ภาคใต้เป็นเขาสูงสลับพื้นที่ราบ บริเวณมีมรสุมพัดผ่านตลอดท้ังปี บางพื้นท่ีในภาคตะวันออก ภาคกลางและภาคใต้ท่ีอยู่บริเวณปากแม่น้า เป็นต้น จากสภาพที่มีความหลากหลายของ ภูมิประเทศ และภูมิอากาศในพื้นที่ท่ีอยู่ในระดับความสูงจากระดับน้าทะเลท่ีต่างกัน มีปริมาณน้าฝน อุณหภูมิและปัจจัยอื่นๆ เช่น สภาพพื้นดินท่ีแตกต่างกัน ได้เอื้ออานวยให้เกิดความหลากหลายของประเภทของป่าตามธรรมชาติ เป็น 1) ป่าไม่ผลัดใบเช่น ป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าชายเลน 2) ป่าผลัดใบ เช่น ป่าเต็งรัง ป่าเบญจพรรณ แล 3) ป่าท่ีมีลักษณะพิเศษเช่นป่าชายหาด ป่าเขาหินปูน เป็นต้น ซ่ึงป่าแต่ละประเภทจะมีลักษณะท่ีเฉพาะตัวและมีสิ่งมีชีวิตที่ปรบั ตวั อาศัยอยูใ่ นแตล่ ะพื้นท่ีแตกตา่ งกนั ป่าผลัดใบ ประเภทป่าเบญจพรรณ ทมี่ า: http://chm-thai.onep.go.th/chm/ForestBio สบื ค้นเมอ่ื 5 สงิ หาคม 2559 ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 6

ชุดท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 14 ปา่ ไม่ผลดั ใบ ประเภทป่าดบิ เขา ท่ีมา: http://chm-thai.onep.go.th/chm/ForestBio สบื คน้ เม่ือ 5 สงิ หาคม 2559 3. ประเทศไทยอยู่ในบริเวณศูนย์กลางท่ีมีการกระจายพันธ์ุของพืชและสัตว์ กล่าวคือเป็นเขตซ้อนทับกันของกลุ่มพรรณพฤกษชาติ (Floristic Region) ถึง 3 กลุ่มคือ กลุ่มอินโด - เบอร์มีส (Indo-Burmese elements) กลุ่ม อินโด-ไชนิส (Indo-Chinese elements) และกลุ่มมาเลเซีย (Malaysianelements) ในส่วนของสัตว์ป่า ประเทศ ไทยถือเป็นจุดซ้อนทับของเขตสัตว์ภูมิศาสตร์ (ZoologicalRegion) 3 เขตเช่นกันคือ เขตชิโน-หิมาลัย (Shino-Himalayan) เขตอินโด-ไชนีส (Indo-Chinese) และเขตชนุ ดา (Sundaic) นักวิทยาศาสตร์ประมาณกันว่า สิ่งมีชีวิตในโลกนี้มีมากกว่า 5 ล้านสปีชีส์ ซึ่งพบอยู่ในประเทศไทยประมาณร้อยละ7 ของจานวนสิ่งมีชีวิตดังกล่าว ขณะท่ีประชากรของไทยมีความอุดมสมบูรณ์อย่างมากทางด้านความ หลากหลายทางชีวภาพน่ันเอง ประเทศไทยมีถ่ินอาศัยหรือระบบนิเวศท่ีหลากหลายเช่น ระบบนิเวศน้าจืดระบบนิเวศน้าเค็มและระบบนิเวศบนบกที่ประกอบด้วย ป่าไม้หลากหลายชนิด ท้ังปา่ ชายเลน ป่าเบญจพรรณปา่ พรุ ป่าเตง็ รงั และปา่ ดบิ ชน้ื เป็นตน้ อีกท้งั มีสภาพภมู ิอากาศทเ่ี หมาะสมต่อการอยรู่ อด การเจรญิ เตบิ โตและการแพร่พันธ์ุของส่งิ มชี ีวิตหลายชนิดตลอดท้งั ปี ด้วยปัจจยั ดังกล่าวนี้จึงได้เอือ้ อานวยใหป้ ระเทศไทยมีความหลากหลายทางชีวภาพที่อุดมสมบูรณ์แห่งหนึ่งของโลก แต่ยังมีการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพไม่มากนัก มีการศึกษาเฉพาะสิ่งมชี ีวติ ที่เสี่ยงตอ่ การ สูญพันธุห์ รอื ศึกษาถิ่นอาศัยที่มีความเส่ียงต่อการถูกทาลายเท่าน้ัน นักวิทยาศาสตร์ได้คาดคะเนความหลากหลายของพืชมีเน้ือเย่ือลาเลียงและสัตว์มีกระดูกสันหลังที่พบในประเทศไทยเปรยี บเทียบกบั ข้อมลู ความหลากหลายทางชีวภาพท่ีมีการค้นควา้ และศึกษาจากนกั วทิ ยาศาสตร์ทว่ั โลกแลว้ ดงั ตารางน้ี ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรียนรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

ชุดที่ 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 15ตารางเปรียบเทียบความหลากหลายของสปีชสี ์ของพชื มีเน้ือเยอ่ื ลาเลียงและสัตว์มกี ระดูกสนั หลงั ท่ีรจู้ กั ในโลกและในประเทศไทย (ท่ีมาจากหนังสอื ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย โดย สบวท.)ประเภทของสงิ่ มชี ีวติ จานวนสปีชีส์ ร้อยละ โลก ไทยเฟนิ 10,000 591 5.9สน 529 25 4.7พืชใบเลย้ี งเดย่ี ว 50,000 1,690 3.4พชื ใบเลย้ี งคู่ 170,000 7,750 4.6ปลา 19,056 2,401 12.6สตั วส์ ะเทนิ น้าสะเทินบก 4,187 123 2.9สัตว์เลือ้ ยคลาน 6,300 318 5.0นก 9,040 962 10.6สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนม 4,000 292 7.3 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6

ชุดที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 16 บัตรกิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ี 2 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย คาชแ้ี จง กิจกรรมการเรยี นรู้ฉบับนเ้ี ป็นกิจกรรมทจี่ ัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ขน้ั ขยายความร(ู้ Exploration Phase) ขนั้ นาความรไู้ ปใช้ (extendtion Phase) (20 คะแนน) 1. ใหน้ กั เรยี นสารวจความหลากหลายทางชวี ภาพในท้องถิ่นของตนเองตามทกี่ าหนดต่อไปนี้ (10 คะแนน) แบบบนั ทึกผลความหลากหลายทางชีวภาพในชุมชน บรเิ วณที่สารวจ ............................................................................................................................. ........ท่ี สิ่งมีชวี ติ ที่พบ ประเภทของสิ่งมชี ีวิต พชื สัตว์123456789101112131415 รวม ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 172. ใหน้ ักเรียนสารวจส่งิ มชี ีวิตทีส่ ารวจในข้อ 1 เลอื กส่ิงมชี ีวิตมา 5 ชนดิ และบอกประโยชน์ที่เราไดร้ ับจากสิ่งมีชีวติ นัน้ ๆที่ สิ่งมีชีวิตที่พบ ประโยชน์1 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................2 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................3 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................4 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................5 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 18 บตั รความร้ทู ี่ 2 เร่ือง การสญู เสียความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแี้ จง กิจกรรมการเรยี นรู้ฉบบั นีเ้ ป็นกิจกรรมทีจ่ ดั การเรียนรูต้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ขน้ั อธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation Phase) และขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration Phase) คาสั่ง ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษา เรอ่ื ง การสญู เสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพและทากิจกรรมตามกาหนด อนกุ รมวธิ าน ในปจั จบุ ันส่งิ มชี ีวติ ทง้ั ผู้ผลิต ผู้บรโิ ภคและผยู้ ่อยสลาย ทวั่ โลกกาลังสูญพนั ธใ์ุ นอัตราที่สูงกว่าทเ่ี คยเป็นมาในอดีตหลายร้อยหลายพนั เท่า และเชือ่ ว่าจะเพ่มิ สงู ขน้ึ เรอื่ ยๆ ในอนาคต ระบบนิเวศจานวนมากในโลกกาลังเสอ่ื มสภาพหรอื ถกู ทาลาย ทาใหร้ ะบบนเิ วศเสยี สมดุล ความหลากหลายทางชวี ภาพจึงลดลงอย่างรวดเร็วขณะน้ีผลกระทบเหลา่ นัน้ กย็ ้อนกลบั มาทาใหม้ นุษย์ไดร้ ับความเดอื ดร้อนจากการกระทาของตนแล้ว 1. สาเหตุของการสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพ การสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพทาให้ระบบนเิ วศเสยี สมดุล ส่งผลตอ่ สงิ่ มีชวี ิตตา่ งๆ ท่อี าศัยอยใู่ นระบบนิเวศน้ัน รวมทั้งมนุษย์ดว้ ย มีหลายสาเหตทุ ่ที าให้สูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพ ไดแ้ ก่ 1.1 การสูญเสยี แหล่งทีอ่ ยู่อาศยั เกดิ ขนึ้ จากหลายสาเหตุ เช่น การเปลยี่ นแปลงทางธรณวี ิทยาของพ้ืนโลก ทาให้แหล่งท่ีอยู่หรือสิ่งแวดลอ้ มเปล่ียนไป แตก่ รณนี ี้จะค่อยเป็นคอ่ ยไปใชเ้ วลานานหลายลา้ นปี แต่กม็ สี ่วนทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลงได้ ภัยธรรมชาติ เช่น แผ่นดนิ ไหว ภเู ขาไฟระเบดิ ไฟปา่ พายุหรือคล่นื ยกั ษ์ ภัยธรรมชาตเิ หลา่ น้จี ะทาลายแหลง่ ที่อยอู่ ยา่ งรวดเรว็ รนุ แรง ทาให้สง่ิ มชี วี ติ จานวนมากเสียชีวิตฉับพลนั หรือในเวลาตอ่ มา การกระทาของมนุษย์ ซึ่งเป็นสาเหตุส่วนใหญ่ของการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ เน่ืองจากการเพิ่มจานวนประชากรมนุษย์อย่างรวดเร็วท่ัวโลก จึงขยายพื้นที่หรือบุกรุกระบบนิเวศตาม ธรรมชาติเพื่อสร้างแหล่งที่อยู่อาศัยหรือที่ทากินของตนเอง โดยเฉพาะการเผา การตัดทาลาย ป่าไม้เขต ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 19 ร้อนซ่ึงพบได้ในประเทศไทยด้วย ป่าไม้ชนิดนี้มีความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่าป่าไม้แหล่งอื่นๆ ใน โลก จึงเป็นแหล่งที่อยู่และแหล่งอาหารอันอุดมสมบูรณ์ของส่ิงมีชีวิตหลากหลายชนิด เมื่อป่าถูกทาลาย ระบบนิเวศจึงเสียสมดลุ ส่ิงมีชีวิตที่เคยอาศัยอยแู่ ละเคยหาอาหารตอ้ งอพยพออกไป บางส่วนตายเพราะถูก ล่า หรือเกิดความเครียดและตายไปในที่สุด บางส่วนอดอาหารตาย สาเหตุเหล่านี้ทาให้สูญเสียความ หลากหลายทางชวี ภาพไดม้ ากทส่ี ดุ 1.2 การเปลยี่ นแปลงของสภาพภูมิอากาศ ในปัจจุบันเกิดการเปล่ียนแปลงของสภาพภูมิอากาศเพิ่มมากข้ึนเรื่อยๆ เกิดผลกระทบไปทั่วโลกโดยเฉพาะภาวะโลกร้อน ที่มีผลกระทบต่อวงจรชีวิตและอัตราการเติบโตของส่ิงมีชีวิต แหล่งอาหารตามธรรมชาติของส่ิงมีชีวิต ความช้ืนในดินในอากาศ แร่ธาตุในดินในน้า สมดุลของระบบนิเวศ ฯลฯ ผลกระทบดังกล่าวทาให้ส่ิงมีชีวิตหลายชนิดเสียชีวิต มีปริมาณลดลง และบางชนิดสูญพันธ์ุไป ความหลากหลายทางชวี ภาพจึงลดลง ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หมายถงึ สภาวะท่ีอณุ หภมู ขิ องโลกโดยเฉล่ียสงู ข้ึน เนอ่ื งจากการเกิดปรากฎการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ทาให้ภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง ภาวะโลกร้อนอาจทาให้ปริมาณฝน ระดับน้าทะเล ภูเขาน้าแข็ง เกิดการเปล่ียนแปลง ซ่ึงมีผลกระทบอย่างมากมายต่อส่ิงมีชีวิตต่างๆเช่น พชื สัตว์ มนษุ ย์ ต้นเหตุเกิดจากมนุษย์ทาให้ปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ (จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง การอุตสาหกรรม ฯลฯ) สาร CFC (คลอโรฟลูออโรคาร์บอน) ไอน้า เป็นต้น ร่วมกับการตัดไม้ทาลายป่าท่ัวทุกภูมิภาคในโลก การเกิดปรากฏการณ์เรือนกระจกจึงเพ่ิมสูงข้ึน เป็นผลให้เกิดภาวะโลกรอ้ นเพิ่มสูงขน้ึ ด้วย 1.3 ขนาดประชากรของส่งิ มีชวี ติ ประชากร หมายถึง ส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวกันที่อาศัยอยู่ในระบบนิเวศเดียวกัน สิ่งมีชีวิตท่ีจานวนประชากรมีขนาดเล็ก การแปรผันของลักษณะทางพันธุกรรมย่อมมีน้อยกว่าจานวนประชากรขนาดใหญ่ เมื่อสิ่งแวดล้อมหรือแหล่งที่อยู่เปล่ียนแปลงไปจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม ส่ิงมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในแหล่งน้ันต้องปรับตัวเพ่ือให้มชี ีวิตรอด ถ้าหากลกั ษณะทางพันธุกรรมท่ีได้รับจากบรรพบุรุษมีการแปรผันน้อย ลักษณะใหม่ที่ได้จากการปรบั ตัวอาจไม่เหมาะสมกบั สิ่งแวดล้อม จงึ อาจสญู พันธ์ุได้ ตามหลกั การของการคดั เลือกโดยธรรมชาติ 1.4 การกระทาของมนุษย์ จดั เปน็ สาเหตุทส่ี าคญั ทสี่ ดุ ทที่ าใหส้ ญู เสยี ความหลากหลายทางชีวภาพได้มากที่สดุ ตวั อยา่ ง เช่น - การใช้สารเคมีที่สังเคราะห์ข้ึนในด้านการเกษตรและอุตสาหกรรม เช่น สารกาจัดวัชพืช กาจัดศตั รูพืชและสัตว์เศรษฐกิจ ฯลฯ สารพิษเหลา่ น้ีจึงตกค้างอยู่ในดิน ในน้า ทาให้ผูย้ ่อยสลายถูกทาลาย ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 20ลงไปด้วย รวมถงึ สัตว์น้าท้ังหลายท่ีอาจได้รับพษิ จนตาย หรือมสี ารพิษสะสมในรา่ งกาย เมื่อผูบ้ ริโภคอ่นื มากินเป็นอาหารกจ็ ะได้รับสารพษิ นน้ั ด้วยเช่นกนั รูป การใชส้ ารเคมี ทาให้สารพษิ ตกค้างในดิน ในน้า ท่มี า: http://www.oknation.net สบื คน้ เมือ่ 8 สิงหาคม 2559 - การใช้ปุ๋ยเคมีหรอื สารเคมีดา้ นการเกษตรทม่ี ีธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสเป็นองค์ประกอบ เพื่อเพ่มิ ผลผลิต เมือ่ ซมึ ลงไปในดินหรือถูกระบายลงสู่แหล่งนา้ ธาตุกลุ่มนี้จะเป็นสารอาหารที่อดุ มสมบูรณแ์ กพ่ ืชน้าเช่น สาหร่าย ผักตบชวา ซ่งึ จะเจริญเติบโต และเพิ่มจานวนข้ึนอย่างรวดเร็ว จึงแย่งใช้ออกซเิ จนกับส่งิ มีชีวิตอื่นในนา้ ทัง้ ยังปิดกนั้ บริเวณผวิ หน้าของน้าทาใหอ้ อกซิเจนละลายน้าได้น้อยลง - การเผาปา่ การตัดไมท้ าลายป่าโดยเฉพาะป่าเขตร้อนซง่ึ มีความหลากหลายทางชวี ภาพสูง การบกุรุกทาลายป่าชายเลนเพอ่ื ใช้เพาะเลี้ยงกุ้ง สร้างท่ีอยู่อาศัย ทาให้ส่ิงมีชีวิตจานวนมากสูญพันธ์ุ ผลเสียที่ตามมาก็คอื อตั ราการเกิดภาวะโลกร้อนเพิม่ สูงขน้ึ อย่างรวดเรว็ และความหลากหลายทางชีวภาพลดลงมากข้ึน รูปการเผาป่า การตัดไม้ทาลายป่า ทาใหเ้ กดิ นา้ ป่าท่ีมา: http://www.oknation.net/ (บน) https://thapaneejean.files.wordpress.com/ (ลา่ งซา้ ย) https://greenscape1413.files.wordpress.com/ (ลา่ งขวา) สบื คน้ เมือ่ 8 สิงหาคม 2559 ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6

ชุดที่ 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 21 - การตัดไม้ทาลายป่าก่อให้เกิดผลกระทบอย่างมากต่อความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศเมื่อไม้ยืนต้นมีจานวนลดลง ย่อมทาให้โครงสร้างระบบนิเวศเปลี่ยนไป เพราะไม้ยืนต้นในป่าเป็นแหล่งอาหารและที่อยู่แก่สัตว์ป่าท้ังหลาย ท้ังยังช่วยควบคุมโครงสร้างของป่ากับสภาพภูมิอากาศในระบบนิเวศ การตัดไม้แล้วเก็บซากไม้ ทาให้ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ส่ิงมีชีวิตในป่าลดลง รวมถึงจุลินทรีย์ท่ีเป็นผู้ย่อยสลายซ่ึงทาให้เกิดการหมุนเวยี นของสารหลายชนดิ ในระบบนเิ วศ กล็ ดลงด้วยเชน่ กนั - การใชป้ ระโยชน์จากส่ิงมีชีวติ ต่างๆ ทั้งพืช สัตว์ จุลินทรยี ์ เพ่ือเปน็ อาหาร ทอ่ี ยู่ ยารักษาโรคและเครอื่ งนุ่งหม่ ฟุม่ เฟือยมากเกนิ ไปและไม่คมุ้ คา่ ทาให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิดมจี านวนลดลงหรือสญู พันธุ์ - การเกิดมลภาวะทง้ั ทางน้า ทางดิน และทางอากาศ จากการใช้สารเคมี การเผาไหมข้ องเชอื้ เพลิงจากโรงงานอุตสาหกรรม ยานพาหนะ และสถานประกอบการต่างๆ ทาให้สิ่งมีชีวิตหลายชนิดถูกทาลายจนสูญพนั ธุ์ หรือลดจานวนลงอย่างมาก รปู มลภาวะทางอากาศจากการเผาไหมเ้ ชอ้ื เพลิงของโรงงานอตุ สาหกรรมและยานพาหนะ ที่มา: http://rallyeduternois.com/ (บนซ้าย) www.dekrantenkoppen.com (บนขวา)https://greenscape1413.files.wordpress.com/ (ล่างซ้าย) http://www.prachachat.net/ (ล่างขวา) สืบค้นเมอื่ 8 สิงหาคม 2559 - การขยายพ้นื ท่ีอยู่อาศัยหรือประกอบอาชีพ รวมทัง้ การตัดถนน การสร้างเขื่อนกักเก็บน้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟา้ หรอื การชลประทาน ฯลฯ ทาให้พ้ืนที่ป่าไมล้ ดลงอยา่ งรวดเรว็ ทาให้สงิ่ มีชีวิตอนื่ หลายชนิดที่เคยอาศัยอย่ถู ูกล่า ถกู ทาลาย จนมีจานวนลดลงหรือเส่ียงตอ่ การสญู พนั ธ์ุ ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 22 รูปพ้ืนทปี่ ่าไม้ลดลงจากการสร้างเขื่อนกักเกบ็ นา้ (บน) การสรา้ งถนน (ล่าง) ที่มา: http://www.matichon.co.th/ (บนซ้าย) www.thaicybervote.com (บน ขวา) http://www.thaibizchina.com/ (ลา่ ง) สืบค้นเม่ือ 8 สงิ หาคม 2559 - การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์สิ่งมีชีวิตเฉพาะที่มนุษย์ต้องการ ทาให้ความหลากหลายทางพันธุกรรมลดลง ละทิ้งสายพันธ์ุด้ังเดิมและสิ่งมีชีวิตชนิดอ่ืนจนหลายชนิดสูญพันธุ์ไป เหลือเพียงไม่ก่ีชนิดท่ีมนุษยเ์ พาะเล้ยี งไว้เพือ่ ใช้ประโยชน์ดา้ นอาหารและดา้ นเศรษฐกิจในรปู แบบอุตสาหกรรม - การทาพันธุวิศวกรรมเพื่อตดั แต่งยนี ให้กับสิ่งมชี วี ติ ไดเ้ ปน็ ชนดิ พนั ธ์ุใหม่ เรียกว่า ส่งิ มีชวี ติ จีเอ็มโอ (Genetically Modified Organisms: GMOs) เช่น ฝ้ายบีที มะละกอจีเอ็มโอ ข้าวโพดจีเอม็ โอปลาแซลมอน จีเอม็ โอ เป็นต้น ซึง่ สิ่งมชี ีวติ กลมุ่ น้ีทาให้ความสมั พันธ์กบั สงิ่ มีชวี ิตอืน่ ในระบบนิเวศท่ีเคยอยู่ในภาวะสมดลุ ต้องเปลี่ยนไป จนสิง่ มีชีวิตสายพันธ์ุดัง้ เดมิ มีจานวนลดลงหรอื อาจสญู พนั ธุ์ได้ ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 6

ชดุ ท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 23 รูปสตั วจ์ เี อ็มโอ - หนูเรอื งแสง ไก่ไร้ขน ข้าวโพดจีเอ็มโอ (บน) พชื จีเอ็มโอ - พริกหวาน มะละกอ มะเขือเทศสีมว่ ง (ล่าง) ท่มี า: http://www.biotec.or.th/Guru/ (บนซา้ ย) www.adcschool.com (บน กลาง) http://www.dybgvtl.vcharkarn.com/ (บนขวา) http://www.nanagarden.com/ (2 รูปล่าง ซา้ ย) http://1variety.com/Pictures/SlideShowContent/ (2 รปู ลา่ งขวา) สืบค้นเม่ือ 8 สงิ หาคม 2559 - การลักลอบค้าขายพืชป่าและสัตว์ป่าจานวนมากที่ผิดกฎหมาย แบบท้ังตัวทั้งต้นหรือเพียงบางส่วน ทาให้พืชปา่ หรือสตั ว์ปา่ บางชนิดสูญพนั ธุ์ หรือเสีย่ งต่อการสูญพันธุ์ - การนาสงิ่ มชี วี ติ ตา่ งถน่ิ ตา่ งชนิดพันธ์ุมาเพาะเลย้ี ง หรือนามาปลอ่ ยในระบบนเิ วศใหม่ ทาให้รุกล้าแหลง่ ทอ่ี ยู่ ท่ีกินของสิง่ มชี ีวิตพื้นเมือง ทาใหช้ นดิ พนั ธดุ์ ้ังเดมิ ที่มลี กั ษณะทางพนั ธุกรรมเหมาะสมกับท้องถ่ินน้ันๆ ลดจานวนลง หรือสูญพันธไุ์ ป จากการถูกลา่ การแขง่ ขนั ฯลฯ ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชุดท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 24 รูปสงิ่ มีชีวติ ตา่ งถิ่น – หอยเชอร่ี (ซ้าย) จอกหหู นยู ักษ์ (ขวา) ทม่ี า: http://chm-thai.onep.go.th/chm/alien/news_intro_AS.html สบื ค้นเมือ่ 8 สิงหาคม 2559 จากตัวอย่างการกระทาของมนุษย์ที่กล่าวมาข้างต้น ทาให้ความหลากหลายทางชีวภาพโดยเฉพาะทางพันธุกรรมลดลงเป็นอันมาก ซ่ึงทาให้ส่ิงมีชีวิตมีการแปรผันทางพันธุกรรมน้อยลงไปด้วย หากส่ิงแวดล้อมเปลี่ยนไปลักษณะทางพันธุกรรมท่ีไม่หลากหลายที่เหลืออยู่อาจเป็นลักษณะท่ีไม่เหมาะสม ไม่สามารถอยรู่ อดได้ ส่ิงมีชีวิตนั้นๆ ก็มีโอกาสสูญพันธไ์ุ ด้ง่าย ส่วนสิ่งมีชีวิตท่มี ีจานวนประชากรน้อยก็จะมคี วามหลากหลายทางพันธุกรรมน้อยด้วย จึงอาจสูญพันธุ์ได้เช่นกัน จานวนประชากรที่ลดลงหรือการสูญพันธ์ุของสิ่งมีชีวิตบางชนิดจะมีผลกระทบต่อส่ิงมีชีวิตชนิดอ่ืนและต่อเน่ืองเป็นลูกโซ่ เพราะส่ิงมีชีวิตท้ังหมดใน แต่ละระบบนิเวศต่างก็มคี วามสัมพันธท์ ่ีซบั ซ้อนซ่ึงกันและกัน แล้วผลกระทบเหล่านน้ั กจ็ ะย้อนกลับมาหามนุษย์ผูซ้ ่ึงเป็นสาเหตุสาคัญทที่ าให้เกดิ การสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพ ส่ิงมีชีวิตต่างถ่ิน (Alien Species) คือ ชนิดพันธุ์ของส่ิงมีชีวิตท่ีไม่เคยอาศัยอยู่ในระบบนิเวศหน่ึงแตต่ ่อมาถกู นามาเพาะเล้ียงหรือนามาปลอ่ ยในระบบนิเวศนั้น แล้วสามารถปรับตัวใหอ้ ยู่รอดและขยายพันธุ์ได้ สิง่ มีชีวติ ตา่ งถ่ินมี 2 แบบ คอื แบบไมร่ กุ ราน มกี ารดารงชพี ทไี่ มแ่ ขง่ ขนั หรอื ไมเ่ บียดเบียนสิ่งมีชีวติชนิดพันธ์ดุ ัง้ เดิมในท้องถน่ิ และไม่ทาใหร้ ะบบนิเวศเสียสมดลุ โดยตรง เชน่ ปลานิล ปลาจนี ปลาไน อีกแบบ คือ แบบรุกราน ดารงชีพแบบแข่งขัน เป็นผู้ล่า เป็นปรสิต หรือขยายพันธ์ุได้รวดเร็วจนเบียดเบียนสิ่งมีชีวิตชนิดพันธุ์ดั้งเดิม ทาให้มีจานวนลดลงหรือเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ุ และทาให้ระบบนิเวศเสียสมดุลในท่สี ุด เชน่ หอยเชอร่ี ปลาดุกรสั เซีย ปลาเทศบาล ต้นไมยราพยกั ษ์ ผักตบชวา จอกหหู นยู กั ษ์ เปน็ ต้นการสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพในขณะนเ้ี ปน็ ปัญหาสาคัญทเ่ี กดิ ขึ้นทั่วโลก แตค่ นสว่ นใหญ่ยงั ขาดความตระหนัก ไม่ใส่ใจ ปญั หาจงึ ขยายวงกว้างออกไปเร่ือยๆ รวมทั้งประเทศไทยซ่ึงอย่ใู นเขตร้อนช้ืนที่มีสภาพอากาศเปลี่ยนแปลงไปตามตามฤดูกาลที่แตกต่างกัน มีสภาพทางภูมิศาสตร์ท่ีหลากหลายจึงมีระบบนิเวศหลายรูปแบบที่เอื้อต่อการอยู่อาศัยและการเจริญเติบโตของส่ิงมีชีวิต จึงทาให้มีส่ิงมีชีวิตหลายชนิด ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 25แตกต่างกันด้วย โดยเฉพาะระบบนิเวศของป่าไม้เขตร้อนชื้นหรือป่าดิบชื้นท่ีเป็นแหล่งท่ีมีความหลากหลายทางชีวภาพมากกว่า ป่าในเขตอื่นๆ ของโลก นักวิชาการประมาณว่าในประเทศไทยมีชนิดของส่ิงมีชีวิตอยู่ถึงร้อยละ 7 ของชนิดสิ่งมีชีวิตทั้งหมดในโลกซึ่งมีประมาณ 5 ล้านชนิด โดยเป็นพืชประมาณ 15,000 ชนิดสตั วป์ ระมาณ 16,000 ชนิด แต่ในปัจจบุ นั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละพ้ืนที่ป่าในประเทศลดลงอย่างรวดเร็วเหลือเพียงประมาณร้อยละ 25 จากเดิมท่ีเคยมีถึงร้อยละ 70 ของพ้ืนท่ี เม่ือ 30-40 ปีท่ีผ่านมา เพราะการเพิ่มข้ึนของประชากรมนุษย์ ทาให้มีการบุกรุก ทาลาย ป่าไม้ต่างๆ แม้กระทั่งป่าชายเลนอย่างมากมาย จนเกิดผลกระทบต่างๆ อย่างที่ไม่เคยเกิดมาก่อน เช่น ความแห้งแล้งในฤดูร้อน ดินเส่ือมสภาพ น้าป่าไหลหลากเม่ือฝนตกหนักติดต่อกัน น้าท่วมขังในฤดูฝน ดินถล่ม ชายฝ่ังถกู กัดเซาะจากคลื่นและลมจนพังทลาย การเกิดคลน่ื ยักษส์ นึ ามิ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกตามเมืองใหญ่ๆ เป็นต้น รปู สมัน ที่มา: http://www.oocities.org/thaisut/t/tsamun.htm สืบค้นเมื่อ 8 สงิ หาคม 2559 สาเหตสุ าคัญทีท่ าใหส้ ูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศส่วนใหญ่เกิดจากการกระทาของมนุษยจ์ ะด้วยความยากจน ความโลภ ความเหน็ แกต่ ัว มักง่าย หรือไม่มรี ะเบียบวนิ ัยในตนเอง ซงึ่ ทาให้อากาศและภมู ปิ ระเทศเปลยี่ นแปลง ส่งผลใหส้ ่ิงมชี ีวิตต่างๆ ตอ้ งสูญเสียแหลง่ ท่ีอยู่ หรืออพยพหนี หรอื เสยี ชวี ิตจนบางชนิดสูญพันธุ์ไป เช่น การล่าสัตว์ทาให้สัตว์เฉพาะถิ่นหลายชนิดสูญพันธ์ุ ได้แก่ สมัน ซ่ึงเป็นกวางชนิดหนึ่ง โดยเฉพาะตัวผู้จะมีเขาสวยงาม แตกกิ่งออกคล้ายก่ิงไม้ อาศัยอยู่ในป่าดงดิบแถบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา เม่ือสัตว์เฉพาะถิ่นสญู พนั ธ์ุ ย่อมหมายถึง สตั วช์ นิดน้ไี ดส้ ญู พนั ธุไ์ ปจากโลกด้วย การทิ้งขยะด้วยความมักง่ายตามท่ีต่างๆ โดยเฉพาะขยะพลาสติกซ่ึงย่อยสลายได้ยาก การปล่อยน้าเสียทไี่ มไ่ ด้รบั การบาบัดจากโรงงานอตุ สาหกรรม เมอ่ื ขยะและนา้ เสียเหลา่ นี้ไหลลงสู่แมน่ ้า ลาคลอง จะทาให้มี ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 26สารพิษตกค้างสะสมในแหล่งน้า ยังทาให้แหล่งน้าน้ันตื้นเขินและเน่าเสีย เป็นผลให้สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ในน้าไดร้ ับอนั ตราย ซ่ึงถ้าอพยพหนไี ม่ทนั หรือไม่ไดใ้ นที่สดุ ก็จะตาย ความหลากหลายทางชวี ภาพกย็ ่อมลดลงดว้ ย รปู การสูญเสยี ความหลากหลายทางชวี ภาพจากการกระทาของมนษุ ย์ ทมี่ า: www.clipmass.com (บน) www.nguoinhaque.com (ล่างซา้ ย) http://www.manager.co.th/ (ลา่ งขวา) สืบค้นเมอ่ื 10 สิงหาคม 2559 ระบบนิเวศที่สมดุลจะมีการควบคุมจานวนส่ิงมีชีวิตต่างๆ ตามธรรมชาติให้มีจานวนที่เหมาะสมดารงชีวิตได้เป็นปกติ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพทาให้เกิดความเสียหายต่อโครงสร้าง บทบาทและหน้าทข่ี องส่ิงมชี ีวติ ตา่ งๆ ในระบบนิเวศทีม่ ีความสมั พันธซ์ งึ่ กันและกันอย่างซับซ้อน สมดุลของระบบนิเวศจึงเสียไป ผลผลิตและประโยชน์ต่างๆ ท่ีมนุษย์เคยนามาใช้ท้ังทางตรงและทางอ้อม โดยเป็นอาหารเครื่องนงุ่ หม่ ยารักษาโรค ที่อยู่อาศยั แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ก็จะลดน้อยลงไปด้วย ในท่ีสดุ กจ็ ะไมส่ ามารถอยู่รอดได้ ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

ชดุ ท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 27 บัตรกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 3 เรอื่ ง การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแ้ี จง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบับน้ีเปน็ กิจกรรมที่จัดการเรยี นร้ตู ามกระบวนการสืบเสาะหาความรูข้ ัน้ ขยายความรู(้ Exploration Phase) ข้นั นาความรู้ไปใช้ (Extendtion Phase) และขัน้ ประเมนิ ผล(Evaluate Phase) (10 คะแนน) 1. ให้นกั เรยี นศึกษาภาพการสูญเสียความหลากหลายทางชวี ภาพ แล้วตอบคาถามท่มี า: http://www.bangkokbiznews.com 1. ภาพ ................................................... สืบค้นเมอ่ื 14 สงิ หาคม 2559 สาเหตุการเกดิ .......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ คอื ………………………………………… ................................................................. ................................................................. ................................................................. 2. ภาพ ................................................... สาเหตกุ ารเกดิ .......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชีวภาพ คือ………………………………………… ................................................................. ................................................................. .................................................................ท่ีมา: https://www.technologychaoban.com สบื ค้นเม่อื 14 สงิ หาคม 2559 ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ชดุ ที่ 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 28 3. ภาพ ................................................... สาเหตุการเกิด.......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ คอื ………………………………………… ................................................................. ................................................................. .................................................................ท่มี า: https://sites.google.com/site/pinyadanooloet สืบคน้ เม่ือ 14 สิงหาคม 2559 4. ภาพ ................................................... สาเหตกุ ารเกดิ .......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ คือ………………………………………… ................................................................. ................................................................. ................................................................. ที่มา: http://www.naewna.com/local/305947 สบื คน้ เมื่อ 14 สิงหาคม 2559 ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 29 แบบทดสอบหลังเรียน ชดุ การเรยี นรทู้ ่ี 8เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทยชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ชุดที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย จานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน ใช้เวลา 10 นาทีคาช้ีแจง: แบบทดสอบเป็นแบบปรนัยเลอื กตอบ ก ข ค และ ง1. บคุ คลที่ชอบตดั ตน้ ไม้และทาลายป่า ซ่ึงนับวา่ เปน็ ผทู้ ่ีทาใหส้ มดลุ ธรรมชาติในกลมุ่ ส่งิ มชี ีวิตน้นั สูญเสียไปเป็นบุคคลเช่นใด ก. ขาดความรู้ ข. เห็นแกต่ ัว ค. ไม่รับผิดชอบ ง. ไม่เข้าใจปัญหาท่จี ะเกิดข้นึ2. ข้อใดไม่ใช่ปญั หาความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ปัญหามลพิษของส่งิ แวดล้อมต่อสิ่งมีชวี ติ ข. ปัญหาการใช้สอยทรัพยากรมากเกนิ ไป ค. ปัญหาการสูญเสียถิน่ ท่ีอยู่อาศัยของพชื ,สตั ว์ ง. ปญั หาสิ่งมชี วี ิตท่วั โลกกาลังเพิ่มจานวนอย่างรวดเรว็3. ข้อใดใชเ้ ป็นเกณฑ์ในการพิจารณาคณุ คา่ ของความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ประโยชน์,คณุ ค่าทีม่ ีตอ่ มนุษย์ ข. ความชกุ ชุมของสิง่ มชี วี ิตน้ันๆ ค. สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตอยา่ งปกติสขุ ง. การบริโภคเป็นอาหารและราคาขายเปน็ สินค้า4. สมดลุ ธรรมชาติ (Balance of nature) หมายถงึ ข้อใดต่อไปน้ี ก. การที่กลมุ่ สง่ิ มีชวี ิตตา่ งพ่งึ พาอาศยั ซ่งึ กนั และกนั ข. การมีปัจจัยทางกายภาพเหมาะสมกับส่ิงมีชีวิตในถ่นิ ที่อยู่นั้นๆ ค. การได้ประโยชนแ์ ละเสียประโยชน์ในสิ่งชวี ติ เปน็ ไปอย่างสมดุล ง. จานวนหรอื ปริมาณของกลุ่มสงิ่ มชี วี ติ ที่มีอยู่ในธรรมชาติอยา่ งพอเหมาะ ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชุดท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 305. พืชและสตั วใ์ นระบบนิเวศในขอ้ ใดทที่ าให้ระบบเสยี สมดุลความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ต้นเฟิรน์ ยักษ์ ข. ต้นสกั ทอง ค. ตน้ ไมยราพยักษ์ ง. จอกหหู นู6. สัตว์ปา่ สงวนชนดิ ใดทส่ี ูญพันธ์ไุ ปจากประเทศไทยแลว้ ในปัจจบุ นั ก. สมัน ข. ไกฟ่ ้า ค. กระซู่ ง. นกเจ้าฟ้า7. ขอ้ ใดไม่ใช่เป็นสาเหตกุ ารสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ก. ภัยธรรมชาติ ข. ความเจรญิ ทางเทคโนโลยี ค. ขนาดของประชากร ง. การกระทาของมนุษย์8. ข้อใดไมใ่ ช่สาเหตุสาคญั ของการมีความหลากหลาย ทางชีวภาพในประเทศไทย ก. ประเทศไทยตั้งอย่ใู นเขตโซนร้อน ข. ความแตกตา่ งของสภาพภูมปิ ระเทศ ค. ประเทศไทยเป็นศนู ยก์ ลางกระจายพนั ธพุ์ ืชและสัตว์ ง. ประเทศไทยอยใู่ นภมู ิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้9. การทาพนั ธุวศิ วกรรม หรือ การตดั แต่งยีนมีผลตอ่ ความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งไร ก. ทาใหพ้ ืชและสตั ว์มจี านวนมากขนึ้ ข. ทาให้พืชและสัตว์สายพันธเุ์ ดมิ สูญพนั ธไ์ุ ด้ ค. ทาให้พืชและสัตวต์ ้านทานโรคมากขึ้น ง. ทาให้ธรรมชาตเิ กดิ ความสมดุล10. การระบาดของตกั๊ แตนปาทังกา้ ในสภาวะปัจจุบัน เป็นผลมาจากการโคน่ ถางป่าเพื่อทาการเพาะปลูกขอ้ ใดตอ่ ไปนี้ถูกต้องท่ที าให้การระบาดของตั๊กแตนรุนแรงมากขึน้ ก. ความเข้มแสงเพยี งพอ ข. อาหารเหมาะสมกว่า ค. แพร่พันธุ์ไดอ้ ย่างรวดเรว็ ง. ถกู หมดทุกข้อ ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ข้ัน (7 E) ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 31 กระดาษคาตอบ ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 8เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย ก่อนเรียน  หลังเรยี นชื่อ .................................................................................... ชนั้ ................ เลขที่ ..............ข้อท่ี ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.10. ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6

ชุดท่ี 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 32บรรณานุกรม กระทรวงศกึ ษาธิการ (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานพทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพมหานคร:ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. โครงการดาราวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตรม์ ูลนธิ ิ สอวน.(2552). ชีววิทยา สตั ววิทยา3. กรงุ เทพมหานคร:มลู นิธิ สอวน. จริ ัสย์ เจนพาณชิ ย์(2558).ชีววิทยาสาหรบั นักเรยี นมธั ยมปลาย.กรงุ เทพมหานคร: หจก.สามลดา. เชาวน์ ชโิ นรกั ษ์ และพรรณี ชโิ นรักษ(์ 2552).ชวี วิทยา1.กรงุ เทพมหานคร: โสภณการพมิ พ.์ ซีรส์ ตาร์(2552).ชวี วิทยา เล่ม 1.(แปลจาก Biology 1 Concepts and Applications โดย ทีมคณาจารย์ ภาควชิ าชวี วทิ ยามหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , ผูแ้ ปล). กรงุ เทพมหานคร : เจเอสที พบั ลชิ ช่ิง จากัด. นงลักษณ์ สวุ รรณพนิ ิจ และ ปรีชา สุวรรณพนิ จิ (2552). จุลชวี วิทยาทว่ั ไป.กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ประสงค์ หลาสะอาด และจติ เกษม หลาสะอาด(มปป.).คู่มือสาระการเรียนรู้พนื้ ฐานและเพิ่มเติม กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชวี วิทยา ม.6 เลม่ 5.กรงุ เทพมหานคร:พัฒนาศกึ ษา ปรีชา สุวรรณพินิจ และนงลักษณ์ สวุ รรณพนิ ิจ (2549).ชีววทิ ยา2. กรงุ เทพมหานคร : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วันดี วฒั นชยั ย่งิ เจรญิ (2552). การจดั จาแนกสง่ิ มีชีวิต.ภาควชิ าชวี วิทยา คณะวิทยาศาสตร์ : มหาวทิ ยาลัยนเรศวร. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย(ี 2554). หนงั สอื เรียนรายวิชาชีววิทยา เพิม่ เตมิ เล่ม 5. กรุงเทพมหานคร : สกสค. สถาบนั ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี(2555). ค่มู อื ครรู ายวชิ าชีววิทยาเพ่ิมเตมิ เลม่ 5. กรุงเทพมหานคร : สกสค. ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 33ภาคผนวก ชุดกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6

ชุดที่ 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 34 แบบบันทึกคะแนนระหว่างเรยี น เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ความหลากหลายทาไงทชยีวภาพ วชิ า ชีววทิ ยา ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย ชอ่ื .................................................................................... ชั้น ................ เลขท่ี .............. กิจกรรม คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้บัตรกิจกรรมที่ 1 10บัตรกิจกรรมท่ี 2 20บตั รกิจกรรมท่ี 3 20 ชุดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวัฏจกั รการเรยี นรู้ 7 ขัน้ (7 E) ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 35 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี น เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทย เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1. ข 2. ข 3. ข 4. ง 5. ง 6. ค 7. ข 8. ข 9. ข 10. ก เฉลย แบบทดสอบหลงั เรยี น 1. ข 2. ข 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ข 8. ง 9. ข 10. ข ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวฏั จกั รการเรียนรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ชดุ ท่ี 8 เร่ือง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 36 เฉลยบตั รกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ือง ความหลากหลายทางชวี ภาพของประเทศไทย คาชีแ้ จง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบบั นเ้ี ป็นกจิ กรรมท่จี ัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรขู้ นั้ ตรวจสอบความรูเ้ ดิม(Elicitation Phase) ขัน้ เร้าความสนใจ(Engagement Phase)(10 คะแนน)กจิ กรรมท่ี 1 จงตอบคาถามจากภาพท่ีกาหนดให้ ทม่ี า: https://saipinbbc.wordpress.com สืบค้นเมื่อ 2 สงิ หาคม 2559 คาถาม 1. จากภาพเป็นเหตุการณ์การเกิดอะไร เหตกุ ารณน์ เ้ี คยเกิดในประเทศไทยหรือไม่ ................ไฟไหมป้ ่า เคยเกิดในประเทศไทย.............................................. 2. เหตุการณ์นี้เกดิ จากสาเหตุใด ................เกดิ ตามธรรมชาตแิ ละการกระทาของมนุษย์................................................. 3. เหตุการณน์ ี้ เกิดผลกระทบตอ่ พืชหรอื สตั วห์ รอื ไม่ อยา่ งไร จงอธิบาย....................ทาให้พืชและสัตว์ตาย สญู เสยี สมดุลธรรมชาติ พชื และสัตวล์ ดลง.................................................................................................................................................................... ................................................. ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชุดที่ 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 37 เฉลยบตั รกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 2 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย คาชแ้ี จง กจิ กรรมการเรยี นรู้ฉบบั นเี้ ปน็ กจิ กรรมทจ่ี ดั การเรียนร้ตู ามกระบวนการสบื เสาะหา ความรขู้ นั้ ขยายความร(ู้ Exploration Phase) ขัน้ นาความรู้ไปใช้ (extendtion Phase) (20 คะแนน)1. ใหน้ ักเรยี นสารวจความหลากหลายทางชีวภาพในท้องถิ่นของตนเองตามที่กาหนดต่อไปน้ี (10 คะแนน) พิจารณาแนวคาตอบตามความถูกต้องและดุลพินิจของครูบริเวณทส่ี ารวจ............................................................................................................................................ ......ที่ ส่ิงมีชีวิตที่พบ ประเภทของสิ่งมีชีวติ พืช สัตว์123456789101112131415 รวม ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 382. ให้นกั เรียนสารวจสิ่งมีชวี ติ ท่ีสารวจในข้อ 1 เลือกส่ิงมชี ีวิตมา 5 ชนดิ และบอกประโยชน์ท่เี ราไดร้ บั จากสง่ิ มีชวี ิตนนั้ ๆ (10 คะแนน)ที่ สง่ิ มีชีวติ ท่ีพบ ประโยชน์1 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................2 ……………………………………… ................................................................................... พจิ ารณาแนวคาต.อ...บ....ต...า...ม...ค....ว...า...ม....ถ...กู...ต....้อ...ง....................................... และดุลพ..ิน....ิจ...ข....อ...ง...ค...ร...ู ..........................................................3 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ................ ...................................................................4 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ...................................................................................5 ……………………………………… ................................................................................... ................................................................................... ................................................................................... ชดุ กิจกรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 39 เฉลยบตั รกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง การสูญเสยี ความหลากหลายทางชีวภาพ คาชแ้ี จง กจิ กรรมการเรียนรู้ฉบับน้ีเปน็ กจิ กรรมท่ีจัดการเรียนรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหา ความรู้ข้ันขยายความร(ู้ Exploration Phase) ขน้ั นาความรู้ไปใช้ (Extendtion Phase) และขั้น ประเมินผล(Evaluate Phase) (20 คะแนน)ให้นกั เรียนศึกษาภาพการสญู เสียความหลากหลายทางชวี ภาพ แล้วตอบคาถามท่มี า: http://www.bangkokbiznews.com 1. ภาพ ..........การเกดิ ไฟไหม้ป่า............. สบื คน้ เมอ่ื 14 สงิ หาคม 2559 สาเหตุการเกดิ .......................................... ................................................................. https://www.technologychaoban.com ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ สืบค้นเมอื่ 14 สิงหาคม 2559 คอื ………………………………………… ................................................................. ....................แ......น....ว....ค......า....ต....อ....บ......ต......า....ม....ด....ุล......พ......ิน....ิจ....ค......ร....ผู ....ู้ส......อ....น.......... 2. ภาพ ......ใชส้ ารเคมีกาจัดศัตรพู ชื ........ สาเหตกุ ารเกดิ .......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ คือ………………………………………… ................................................................. ที่ม....า....:............แ......น....ว....ค......า....ต....อ......บ....ต......า....ม....ด......ลุ ....พ......นิ ....ิจ......ค....ร....ูผ....ูส้......อ....น.......... ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขั้น (7 E) ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 40 3. ภาพ .....ควนั จากทอ่ ไอเสีย....... สาเหตกุ ารเกิด.......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชีวภาพ คอื ………………………………………… ..............แ...น..ว..ค...า..ต..อ..บ...ต..า..ม...ด..ลุ ...พ..นิ...จิ ..ค...ร..ูผ..้สู ..อ...น. ................................................................. .................................................................ที่มา:https://sites.google.com/site/pinyadanooloet สืบค้นเม่ือ 14 สิงหาคม 2559 4. ภาพ ........การตดั ไม.้ .......... สาเหตุการเกดิ .......................................... ................................................................. ผลกระทบกับความหลากหลายทางชวี ภาพ คือ………………………………………… ............แ...น..ว..ค...า..ต..อ...บ..ต...า..ม..ด...ลุ ..พ...นิ ..จิ...ค..ร..ผู..้สู...อ..น... ................................................................. ................................................................. ทีม่ า:http://www.naewna.com/local/305947 สบื คน้ เมอื่ 14 สิงหาคม 2559 ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ขนั้ (7 E) ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชุดที่ 8 เร่อื ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 41แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ชื่อ ชัน้ ..........................................คาช้ีแจง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขดี  ลงในชอ่ ง ที่ตรงกบั ระดับคะแนนลาดบั ที่ รายการประเมิน 4 ระดบั คะแนน 1 321 การแสดงความคิดเหน็2 การยอมรบั ฟังความคิดเหน็ ของผอู้ ่ืน3 การทางานตามหนา้ ที่ท่ไี ด้รบั มอบหมาย4 ความมีนา้ ใจ5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชือ่ .................................................... ผ้ปู ระเมิน ................ /................ /................เกณฑ์การใหค้ ะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ปฏิบัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้งั ให้ 3 คะแนน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมน้อยครง้ั ให้ 1 คะแนน 18 - 20 ดีมาก 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ตา่ กว่า 10 ปรบั ปรุง ชดุ กจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจกั รการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรื่อง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 42 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ชื่อกลุ่ม …………………………………………………………… ชน้ั …………………………………………คาชแี้ จง : ให้ ผู้สอน สงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในชอ่ ง ท่ตี รงกับระดบั คะแนนลาดบั ที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 43211 การแบ่งหน้าที่กันอยา่ งเหมาะสม2 ความรว่ มมอื กันทางาน3 การแสดงความคิดเห็น4 การรับฟังความคดิ เห็น5 ความมีน้าใจช่วยเหลือกัน รวม ลงช่อื .................................................... ผ้ปู ระเมิน ................ /................ /................ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพเกณฑ์การใหค้ ะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอยา่ งสมา่ เสมอ ให้ 4 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน 18 - 20 ดมี าก ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครงั้ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมน้อยคร้ัง ให้ 1 คะแนน 14 - 17 ดี 10 - 13 พอใช้ ต่ากวา่ 10 ปรบั ปรงุ ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ขน้ั (7 E) ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 6

ชุดที่ 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 43 แบบประเมินคณุ ลกั ษณะของนกั เรยี นคาชแ้ี จง : ให้ ผู้สอน สังเกตคุณลกั ษณะของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขีด  ลงในช่องทีต่ รงกบั ระดบั คะแนนคุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 4321 อนั พึง ประสงค์ ด้าน 1.1 ยนื ตรงเมื่อได้ยนิ เพลงชาติ ร้องเพลงชาตไิ ด้ และอธิบายความหมายของ เพลงชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสทิ ธแิ ละหนา้ ที่ของนักเรียน1. รักชาติ 1.3 ให้ความรว่ มมือ ร่วมใจ ในการทางานกับสมาชิกในโรงเรยี น ศาสน์ 1.4 เขา้ ร่วมกจิ กรรมและมสี ่วนร่วมในการจดั กิจกรรมทสี่ รา้ งความสามคั คี กษัตริย์ ปรองดอง และเป็นประโยชนต์ อ่ โรงเรยี นและชุมชน 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาท่ีตนนับถือ ปฏิบตั ติ นตามหลักของศาสนา 1.6 เขา้ รว่ มกจิ กรรมและมสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรมที่เก่ยี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามท่โี รงเรียนและชมุ ชนจัดขน้ึ ชุดกจิ กรรมการเรียนรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ แบบวัฏจักรการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6

ชดุ ที่ 8 เรือ่ ง ความหลากหลายทางชีวภาพในประเทศไทย 44 คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน อนั พึง 4 321 ประสงค์ด้าน 2.1 ให้ขอ้ มูลทถ่ี ูกตอ้ ง และเปน็ จริง2. ซ่อื สตั ย์ สจุ ริต 2.2 ปฏิบตั ใิ นส่งิ ที่ถกู ตอ้ ง ละอาย และเกรงกลัวท่จี ะทาความผิด ทาตามสญั ญาทต่ี นให้ไว้กบั เพื่อน พ่อแม่ หรือผปู้ กครอง และ 3. มีวินยั ครู รบั ผดิ ชอบ 2.3 ปฏิบัติตอ่ ผอู้ ่นื ดว้ ยความซอื่ ตรง ไม่หาประโยชนใ์ นทางท่ีไม่ 4. ใฝเ่ รียนรู้ ถกู ต้อง 5. อยู่อย่าง 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของ พอเพียง ครอบครวั และโรงเรียน ตรงตอ่ เวลาในการปฏิบตั ิกิจกรรมตา่ งๆ ใน ชีวิตประจาวนั และรับผดิ ชอบในการทางาน 4.1 แสวงหาข้อมลู จากแหล่งการเรียนรตู้ ่างๆ 4.2 มีการจดบันทึกความรู้อย่างเป็นระบบ 4.3 สรุปความรไู้ ด้อยา่ งมเี หตุผล 5.1 ใช้ทรพั ย์สินของตนเอง เช่น สง่ิ ของ เคร่อื งใช้ ฯลฯ อยา่ ง ประหยัด คมุ้ ค่า และเก็บรักษาดูแลอย่างดี และใช้เวลาอยา่ ง เหมาะสม 5.2 ใชท้ รัพยากรของสว่ นรวมอยา่ งประหยัด คุ้มค่า และเก็บรักษา ดูแลอย่างดี 5.3 ปฏิบัตติ นและตัดสินใจดว้ ยความรอบคอบ มเี หตผุ ล 5.4 ไม่เอาเปรยี บผอู้ ื่น และไม่ทาให้ผอู้ น่ื เดือดร้อน พร้อมให้อภัย เมอื่ ผ้อู ืน่ กระทาผิดพลาด 5.5 วางแผนการเรียน การทางานและการใช้ชวี ิตประจาวันบน พน้ื ฐานของความรู้ ข้อมลู ข่าวสาร 5.6 รเู้ ท่าทันการเปล่ียนแปลงทางสังคม และสภาพแวดลอ้ ม ยอมรบั และปรับตัว อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสขุ ชดุ กิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6

ชดุ ท่ี 8 เรอื่ ง ความหลากหลายทางชวี ภาพในประเทศไทย 45 คุณลกั ษณะ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน อันพงึ 4 321 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานท่ีได้รับมอบหมาย ประสงคด์ ้าน 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเรจ็6. ม่งุ มัน่ ในการ ทางาน7. รกั ความเป็น 7.1 มจี ิตสานึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ไทย 7.2 เหน็ คณุ คา่ และปฏบิ ัตติ นตามวัฒนธรรมไทย 8.1 รู้จักช่วยพอ่ แม่ ผปู้ กครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ช่วยคดิ ชว่ ยทา และแบ่งปนั สงิ่ ของให้ผู้อ่ืน8. มีจติ สาธารณะ 8.3 ดูแล รักษาทรัพยส์ มบัติของห้องเรยี น โรงเรยี น ชมุ ชน 8.4 เข้ารว่ มกิจกรรมเพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ของ โรงเรยี น ลงชอื่ .................................................... ผูป้ ระเมิน ................ /................ /................ ชุดกิจกรรมการเรยี นรตู้ ามกระบวนการสบื เสาะหาความรู้แบบวฏั จกั รการเรยี นรู้ 7 ข้นั (7 E) ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6