การคานวณภาษโี ดยวธิ ีแยกยนื่ (ภรรยา)• ค่าจ้างเดอื นละ 15000x12 =180,000• หกั ค่าใช้จ่าย 60000x180000/300000 = 36,000• คงเหลือ =144,000
บทท่ี 5การหักค่าลดหย่อนในการคานวณภาษี
ค่าลดหย่อน คอื ภาระทางสังคม กฎหมายอนุญาตนาค่าลดหย่อนหักออกจากเงนิ ได้พงึ ประเมนิ หลงั ค่าใช้จ่าย ซ่ึงท้งั หมด 9 รายการ ดังต่อไปนี้ 1) ค่าลดหย่อนส่วนตวั ผู้มีเงินได้ภาษีครึ่งปี ภาษสี ิ้นปี15,000 30,0002) คู่สมรสของผู้มีเงนิ ได้ จะต้องเข้าเง่ือนไขดังนี้- คู่สมรสโดยชอบโดยกฎหมาย และ- คู่สมรสจะต้องไม่มเี งินได้ หรือ มีเงนิ ได้จะต้องคานวณภาษีโดยวธิ ีรวมย่ืนภาษคี รึ่งปี ภาษีสิ้นปี15,000 30,000
3) การหักค่าลดหย่อนบุตร จะต้องเป็ นบุตรทช่ี อบด้วยกฎหมายและอยู่ในความอปุ การะเลยี้ งดูของผู้มีเงินได้ ซ่ึงพจิ ารณา 3 กรณี ดังนี้ - บุตรโดยตรง ซึ่งเกดิ จากสายโลหิตโดยตรง - บุตรโดยอ้อม (ซ่ึงเป็ นบุตรบุญธรรม) - บุตรทเ่ี ป็ นของแถม (บุตรติดสามหี รือภริยา) การหักค่าลดหย่อนสาหรับบุตรได้ตามจานวนดงั นี้ เม่ือพจิ ารณาเข้าเงื่อนไขแล้วกรณขี องบุตร ภาษคี ร่ึงปี ภาษสี ิ้นปี (คนละ) (คนละ)กรณ1ี บุตรทไี่ ม่ได้เรียนหนังสือหรือ 7,500 15,000เรียนหนังสือในต่างประเทศกรณ2ี บุตรเรียนหนังสืออยู่ในประเทศไทย 8,500 17,000
จานวนบุตรทจี่ ะหักค่าลดหย่อน 1) บุตรทเ่ี กดิ ก่อนหรือใน ปี พ.ศ.2522 หรือทไ่ี ด้รับบุตรบุญธรรมก่อนปี พ.ศ. 2522 ตามกฎหมายเรียกว่าบุตรเก่า หักค่าลดหย่อนได้ไม่จากดั จานวนของบุตรเมอื่ พจิ ารณาเข้าเงือ่ นไขแล้ว 2) บุตรทเี่ กดิ หลงั ปี พ.ศ.2522 ตามกฎหมายเรียกว่าบุตรใหม่หักค่าลดหย่อนได้ไม่เกนิ 3 คน เมื่อพจิ ารณาเข้าเงอ่ื นไขแล้ว 3) ในกรณผี ู้มเี งินได้มที ้งั บุตรเก่าและบุตรใหม่ ให้นาบุตรเก่ามาหักค่าลดหย่อนก่อน โดยไม่จากดั จานวน กรณมี ีบุตรเก่ายงั ไม่ถงึ 3 คน ให้นาบุตรใหม่มานับจานวนเพมิ่ แต่รวมกบั บุตรเก่าแล้วจะต้องไม่เกนิ 3 คน หมายเหตุ การนับจานวนบุตรให้นับบุตรทม่ี ีชีวติ อยู่เรียงตามลาดับอายุสูงสุดของบุตรไม่ว่าจะเข้าเง่อื นไขหักค่าลดหย่อนได้หรือไม่กต็ ามให้นับจานวนท้งั สิ้น
เงอ่ื นไขของบุตรทห่ี ักค่าลดหย่อนพจิ ารณา ดงั นี้ 1) บุตรผู้เยาว์ (อายุตา่ กว่า 20 ปี บริบูรณ์) เง่ือนไข บุตรจะเรียนหนังสือหรือไม่กต็ าม หักค่าลดหย่อนได้ตามกฎหมาย 2) บุตรอายุ 20 - 25 ปี ซึ่งเป็ นบุตรบรรลนุ ิตภิ าวะแล้ว เง่ือนไขบุตรกล่มุ นีจ้ ะต้องเรียนหนังสืออยู่ในช้ันอุดมศึกษาขึน้ ไป จึงจะหักค่าลดหย่อน (อุดมศึกษาเร่ิมต้งั แต่มหาวทิ ยาลยั ปี 1 อนุปริญญา (ปวส.)ปริญญาตรี โท เอก 3) บุตรทถี่ ูกศาลส่ังให้เป็ นคนไร้ความสามารถหรือคนเสมอื นไร้ความสามารถ เงือ่ นไข หักค่าลดหย่อนสาหรับบุตรกล่มุ นีไ้ ด้โดยไม่จากดัอายุของบุตร ซึ่งเป็ นภาระอยู่ตลอดเวลา
ข้อยกเว้นของเงือ่ นไข - ในกรณบี ุตรดงั กล่าวตามเง่ือนไข ข้อ 1 , 2 , 3 มีเงินได้พงึประเมินในปี ภาษีทผี่ ่านมารวมจานวนต้งั แต่ 15,000 บาท ขนึ้ ไปบุตรเหล่าน้ันจะหักค่าลดหย่อนไม่ได้ ข้อยกเว้นของเงนิ 15,000 บาท (หมายถงึ รายได้ของบุตร) 1) กรณีเป็ นเงนิ ได้พงึ ประเมินทไ่ี ด้รับการยกเว้นภาษตี ามประมวลรัษฎากร มาตรา 42 แม้มีจานวนต้งั แต่ 15,000 บาท ขนึ้ ไปให้นาบุตรไปหักค่าลดหย่อนเหมือนกบั ไม่มเี งินได้ 2) กรณที เ่ี ป็ นบุตรผู้เยาว์ตามเงอื่ นไขข้อที่ 1 ซ่ึงบุตรมเี งนิ ได้เป็ นเงนิ ปันผลแม้ว่าจะมจี านวนต้งั แต่ 15,000 บาท ขนึ้ ไป ให้นาบุตรผู้เยาว์ไปหักค่าลดหย่อนตามปกติ (เงนิ ปันผลให้ถอื ว่าเป็ นเงินได้ของผู้ปกครอง)
4) ค่าลดหย่อนเบยี้ ประกนั ชีวติ เงื่อนไข จะต้องทาประกนั ชีวติ กรมธรรม์ต้ังแต่ 10 ปี ขึน้ และบริษทั ประกนั ชีวติ จะต้องประกอบกจิ การในราชอาณาจกั รเม่ือพจิ ารณาเข้าเง่ือนไข พจิ ารณาการหักค่าลดหย่อน ดังนี้ ส่วนแรก หักค่าลดหย่อนเบยี้ ประกนั ชีวติ ได้ตามท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกนิ10,000 บาท ส่วนที่ 2 ส่วนท่เี กนิ 10,000 บาท หักค่าลดหย่อนเบยี้ ประกนั ชีวติ ได้ไม่เกนิ เงินได้พงึ ประเมนิ หลงั หักค่าใช้จ่าย แต่ไม่เกนิ 90,000 บาทหมายเหตุ กรณี สามแี ละภริยาต่างฝ่ ายได้ทาประกนั ชีวติ ให้หักค่าลดเบยี้ประกนั ชีวติ ตามเงื่อนไขข้างต้น
5) ค่าลดหย่อนเงนิ สะสมกองทุนสารองเลยี้ งชีพ พจิ ารณาดงั ต่อไปนี้ส่วนที่ 1 เงินสะสมของกองทุนสารองเลยี้ งชีพของครูโรงเรียนเอกชนกฎหมายให้ถือว่าเป็ นค่าใช้จ่ายท้งั หมด ให้นาไปหักออกจากเงนิ ได้พงึ ประเมินก่อนหักค่าใช้จ่ายปกติส่วนท่ี 2 เงนิ สะสมกองทุนสารองเลยี้ งชีพของพนักงานเอกชนต่าง ๆ ให้พจิ ารณาดงั นี้- เงนิ สะสมฯ ส่วนทเี่ กนิ 10,000 แต่ไม่เกนิ 490,000 บาท ให้ถือว่าเป็ นค่าใช้จ่าย- เงินสะสมฯ ส่วนที่ไม่เกนิ 10,000 บาท ถือว่าเป็ นค่าลดหย่อนส่วนท่ี 3 เงินสะสมกองทุนสารองเลยี้ งชีพกองทุน กบข. ให้พจิ ารณาดงั นี้- เงนิ สะสมฯ ส่วนทเ่ี กนิ 10,000 แต่ไม่เกนิ 500,000 บาท ให้ถอื ว่าเป็ นค่าใช้จ่าย- เงนิ สะสมฯ ส่วนทไ่ี ม่เกนิ 10,000 บาท ถือว่าเป็ นค่าลดหย่อน
6) ค่าลดหย่อนเงนิ สะสมดอกเบยี้ เงินก้ยู มื เน่ืองจากเช่าซื้อทอ่ี ยู่อาศัยหรือปลูกสร้างทอ่ี ยู่อาศัย หักค่าลดหย่อนได้ตามทจ่ี ่ายดอกเบีย้ จริง แต่ไม่เกนิ100,000 บาท7) ค่าลดหย่อนเงนิ สมทบกองทุนประกนั สังคม หักค่าลดหย่อนได้ตามจานวนทจี่ ่ายจริง8) ค่าลดหย่อนบดิ า มารดา เง่อื นไข บิดา มารดา จะต้องอายุ 60 ปี ขึน้ ไปและบดิ า มารดา น้ัน จะต้องไม่มเี งนิ ได้ซึ่งเป็ นผู้อุปการะเลยี้ งดูบิดามารดาแต่เพยี งผู้เดียว เมื่อเข้าเงอ่ื นไขแล้วหักค่าลดหย่อนได้คนละ 30,000 บาท
9) ค่าลดหย่อนเงินสนับสนุนเพอ่ื การศึกษา ได้แก่ เงนิ ได้ทจ่ี ่ายเป็ นค่าใช้จ่ายเพอ่ื สนับสนุนการศึกษา มีสิทธิหักได้ 2 เท่า ของจานวนเงนิ ทไี่ ด้จ่ายไปจริงแต่ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของเงินคงเหลอื หลงั จากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอนื่ แล้ว10) ค่าลดหย่อนเงินบริจาค เงื่อนไข จะต้องบริจาคเป็ นเงิน จะบริจาคเป็ นสิ่งของมไิ ด้ ซ่ึงเป็ นการบริจาคให้สาธารณการกศุ ล เม่ือเข้าเงื่อนไขแล้วหักค่าลดหย่อนได้ตามทบ่ี ริจาคเงินจริง แต่ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของเงนิ คงเหลอืหลงั จากหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนอนื่ แล้ว
บทท่ี 6 การคานวณภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา และการยน่ื แบบแสดงรายการเสียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
ตัวอย่างที่ 1 (หน้า 49) นายเอกชัยเป็ นคนโสดและเป็ นครูโรงเรียนเอกชนแห่งหน่ึง ได้รับเงินเดือน ๆ ละ 20,000 บาท และจ่ายเงินสะสมเข้ากองทุนสงเคราะห์ ของครูโรงเรียนเอกชนเดือนละ 600 บาท (ถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย เดือนละ 210บาท) ทาประกันชีวิตกับบริษัทประกันชีวิตในประเทศไทยแห่งหน่ึงกรมธรรม์ 10 ปี จ่ายเบีย้ ประกนั ชีวิตปี ละ 5,000 บาท และบริจาคเงินให้มูลนิธิสายใจไทย จานวน 1,000 บาท คาส่ัง ให้คานวณภาษีเงินได้ของนายเอกชัยในปี ปัจจุบันพร้อมกรอกแบบชาระภาษีภายในเวลาที่กาหนดส่ งเจ้ าหน้ าท่ีรับชาระภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
วธิ ีการคานวณ = 30,000- = 240,000-เงนิ เดอื น (20,000 x 12) = 5,000- = 7,200-หัก เงนิ สะสมฯ ของครูโรงเรียนเอกชน (600 x 12 ) = 232.800-คงเหลอื = 60,000-หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000บาท = 172,800-คงเหลอืหัก ค่าลดหย่อน – ส่วนตวั ผู้มเี งนิ ได้ = 35,000- = 137,800- - เบีย้ ประกนั ชีวติ = 1,000-คงเหลอื = 136,800-หัก เงนิ บริจาค (1,000) 137,800 x 10/100= 13,780 = ยกเว้นเงนิ ได้สุทธิ = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% =0ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 136,800 เสียภาษี 10% = 2,520- = 2,520- จานวนภาษีทต่ี ้องชาระหัก ภาษี ณ ทจี่ ่าย ( 210 x 12 ) รับภาษีคนื
วธิ ีการคานวณ ตัวอย่างท่ี 2 หน้า 50 (แยกยนื่ สามี)เงนิ เดอื น (20,000 x 12 ) = 240,000 = 40,000โบนัส = 280,000 = 2,000รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ = 278,000 = 60,000หัก เงนิ สะสมฯ ส่วนทเี่ กนิ 10,000 บาท = 218,000คงเหลอืหัก ค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกนิ 60,000 บาทคงเหลอืหัก ค่าลดหย่อน – ส่วนตวั ผู้มเี งนิ ได้ = 30,000 - บุตร 1 = 8,500 - บุตร 2 = 7,500
-- เบีย้ ประกันชีวติ ต่อ = 12,000-- เงนิ สะสมฯ = 10,000 = 68,000 = 150,000คงเหลือเงนิ ก่อนหกั เงนิ บริจาค = 15,000 = 135,000หกั เงนิ บริจาค ( 20,000) (150,000 x 10/100 = 15,000) = ยกเว้น = ยกเว้นเงนิ ได้สุทธิ ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 100,000 เสียภาษี 5% =0ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001- 135,000 เสียภาษี 10%จานวนภาษีท่ตี ้องชาระหกั ภาษีหกั ณ ท่จี ่าย 300 x 12 = 3,600 รับภาษีคืน = 3,600
วธิ ีการคานวณ แยกยนื่ ภริยาเงนิ เดอื น (15,000 x 12 ) = 180,000 = 60,000หัก ค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกนิ 60,000 บาท = 120,000คงเหลอื = 51,000 = 69,000หัก ค่าลดหย่อน – ส่วนตวั ผู้มเี งนิ ได้ = 30,000 = 500 = 68,500 - บุตร 1 = 8,500 = ยกเว้น =0 - บุตร 2 = 7,500 - เบยี้ ประกนั ชีวติ = 5,000เงนิ ได้พงึ ประเมินก่อนหักเงนิ บริจาคหัก เงนิ บริจาค (500) ( 69,000 x 10/100 = 6,900) เงนิ ได้สุทธิช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 68,5000 เสียภาษี 5% จานวนภาษีทตี่ ้องชาระ
ตวั อย่างท่ี 3 หน้า 52 = 15,000 = 120,000 = 15,000 = 36,000วธิ ีการคานวณ ภาษีคร่ึงปี (ภ.ง.ด.94) = 8,500 = 84,000ค่าเช่าตกึ แถว (ภ) 20,000 x 6หกั ค่าใช้จ่ายร้อย 30 ( 120,000 x 30/100) = 38,500คงเหลือ = 45,500หกั ค่าลดหย่อน - ส่วนตวั ผู้มีเงนิ ได้ = ยกเว้น =0 - คู่สมรสนางสอง - บุตร 3เงนิ ได้สุทธิช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 45,500 เสียภาษี 5%จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ
วธิ ีท่ี 2ค่าเช่าตกึ แถว = 120,000เสียภาษีร้ อยละ = 0.5ดังนัน้ เสียภาษี (120,000 x 0.5/100) = 600เปรียเทยี บภาษีวิธีท่ี 1 และวิธีท่ี 2 เสียภาษีตามวธิ ีท่ี 2 = 600เพราะมากกว่า
การคานวณภาษสี ิ้นปี วธิ ีที่ 1 ( ภ.ง.ด.90 )เงนิ เดอื น 16,000 x 12 = 192,000หกั ค่าใช้จ่าย ร้อย 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000คงเหลือ = 132,000 (1)ค่าแห่งลิขสิทธ์ิ = 100,000หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 40,000คงเหลือ = 60,000 (2)ค่าเช่าตกึ แถว (ภ) 20,000 x 12 = 240,000หกั ค่าใช้จ่ายร้อละ 30 = 72,000คงเหลือ = 168,000 (3)
การคานวณภาษสี ิ้นปี (ต่อ)รวมเงนิ ได้พงึ ประเมินหลังหกั ค่าใช้จ่าย (1) + (2) + (3) = 360,000หกั ค่าลดหย่อน – ส่วนตวั ผู้มีเงนิ ได้ = 30,000 - ค่สู มรสนางสอง = 30,000 - บุตร 3 = 17,000 = 77,000เงนิ ได้สุทธิ = 283,000ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 – 283,000 เสียภาษี 10% = 13,300จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ = 13,300
การคานวณภาษวี ธิ ีท่ี 2• ค่าแห่งลิขสิทธ์ิ = 100,000 = 240,000• ค่าเช่าตกึ แถว (ภ) 20,000 x 12 = 340,000 = 0.5• รวมเงนิ ได้พงึ ประเมิน (2) – (8) = 1,700 = 13,300• เสียภาษีร้อยละ = 17,800• ดังนัน้ เสียภาษี (340,000 x 0.5/100) = 4,500• ดงั นัน้ เสียภาษีตามวิธีท่ี 1 เพราะมากกว่า• หกั - ภาษี หกั ณ ท่จี ่าย เงนิ เดอื น = 7,200• - ภาษี หกั ณ ท่จี ่ายค่าแห่งลิขสิทธ์ิ = 10,000• - ภาษี คร่ึงปี = 600ดังนัน้ รับภาษีคนื
ตวั อย่างที่ 4 หน้าท่ี 54วิธีการคานวณ ภาษีคร่ึงปี ( ภ.งด. 94 )ค่าเช่าตกึ แถว 20,000 x 6 = 120,000หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 30 = 36,000คงเหลือ = 84,000 (1)เงนิ ได้จากการเปิ ดสานักงานบญั ชี(ภ)360,000 หาร 2 = 180,000หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 30 = 54,000คงเหลือ = 126,000 (2)รวมเงนิ หลังหกั ค่าใช้จ่าย (1) + (2) = 210,000
ภาษคี รึ่งปี (ต่อ)รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ หลังหกั ค่าใช้จ่าย (1) + (2) = 210,000หกั ค่าลดหย่อน = 49,000 = 161,000- ส่วนตัวผู้มีเงนิ ได้ = 15,000 = 2,500 = 158,500- คู่สมรส = 15,000- บุตรคนท่ี 2 = 7,500- บุตรคนท่ี 3 = 8,500เบีย้ ประกนั ชีวติ = 3,000คงเหลอื ก่อนหกั เงนิ บริจากหกั เงนิ บริจาค (5,000 หาร 2 = 2,500)161,000x 10/100 =16,100เงนิ ได้สุทธิ
ภาษคี ร่ึงปี (ต่อ) = ยกเว้น = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 - 100,000 เสียภาษี 5% = 850ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 - 150,000 เสียภาษี 10%ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 - 158,500 เสียภาษี 10% = 850จานวนภาษีท่ีต้องชาระ = 120,000 = 180,000วธิ ีท่ี 2 ค่าเช่าตกึ แถว (ภ) = 300,000 เงนิ ได้จากสานักงานบัญชี = 0.5 = 1,500รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ = 1,500เสียภาษีร้ อยละดงั นัน้ เสียภาษี (300,000 x 0.5/100)เปรียเทยี บกันเสียภาษีตามวธิ ีท่ี 2
การคาภาษีสิ้นปี วธิ ีท่ี 1 (สาม)ี ภ.ง. ด.90 = 480,000 = 100,000เงนิ เดอื น 40,000 x 12 = 580,000ค่านายหน้าขายท่ดี นิ = 60,000รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ 40 (1) + (2) = 520,000 (1)หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 200,000 (2)คงเหลือ = 240,000ดอกเบยี้ เงนิ ฝากประจาธนาคารกรุงไทย จากดั = 72,000เงนิ ได้ค่าเช่าตกึ แถว 20,000 x 12 = 168,000 (3)หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 30คงเหลือ
การคาภาษีสิ้นปี วธิ ีที่ 1 (สาม)ี ภ.ง. ด.90 ต่อ = 21,000 (4) = 9,000 (5)เงนิ ปันผลจากบริษัทการบนิ ไทยจากัด = 360,000บวก เครดติ ภาษีเงนิ ปันผล 30 x 21,000 = 108,000 = 252,000 (6) 100-30 = 1,170,000เงนิ ได้จากการเปิ ดสานักงานบัญชี (ภ) = 60,000 =1,110,000หกั ค่าใช้จ่ายร้อยละ 30คงเหลอืรวมเงนิ ได้หลังหกั ค่าใช้จ่าย (1) + (2) + (3) + (4) + (5) + (6)หกั ค่าลดหย่อน – ส่วนตวั ผู้มีเงนิ ได้ = 30,000 - บุตรคนท่ี 2 = 7,500 - บุตรคนท่ี 3 = 8,500 - เบีย้ ประกันชีวิต = 14,000คงเหลอื ก่อนหกั เงนิ บริจาค
การคาภาษีสิ้นปี วธิ ีท่ี 1 (สาม)ี ภ.ง. ด.90 ต่อ• คงเหลือก่อนหกั เงนิ บริจาค = 1,110,000• หกั เงนิ จาค (100,000) 1,110,000 x 10/100= 111,000 = 100,000• เงนิ ได้สุทธิ = 1,010,000• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้น• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้น• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 – 500,000 เสียภาษี 10% = 35,000• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 500,001 – 1,000,000 เสียภาษี 20% =100,000• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 1,000,001 – 1,010,000 เสียภาษี 30% = 3,000 จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ = 138,000
วธิ ีท่ี 2 = 100,000 = 200,000• ค่านายหน้าขายท่ีดนิ• ดอกเบยี้ เงนิ ฝากประจาธนาคารกรุงไทย จากดั = 240,000 = 21,000 สาขาเตาปูน = 9,000 = 360,000• ค่าเช่าตึกแถว (20,000 x 12 ) = 930,000• เงนิ ปันผลจากบริษัทการบินไทย (ภ) = 0.5• เครดติ ภาษีเงินปันผล = 4,650• เงนิ ได้จากการเปิ ดสานักงานตรวจสอบบัญชี (ภ) = 138,000• รวมเงนิ ได้พงึ ประเมนิ• เสียภาษรี ้อยละ• ดงั น้ัน เสียภาษี (930,000 x 0.5/100)• ดงั น้ันเสียภาษตี ามวธิ ีท่ี 1 เพราะมากกว่า
การคานวณต่อ = 138,000• ดังนัน้ เสียภาษีตามวิธีท่ี 1 เพราะมากกว่า = 72,600• หกั ด้วยภาษี หกั ณ ท่จี ่าย = 65,400 • - เงนิ เดอื น = 25,000 • ค่านายหน้า = 5,000 • ดอกเบยี้ เงนิ ฯ = 30,000 • เงนิ ปันผล = 2,100 • เครดภิ าษีเงนิ ฯ = 9,000 • ภาษีคร่ึงปี = 1,500 • เสียภาษีเพ่มิ
การคานวณภาษี (ภริยา)เงินเดอื น 15,000 * 12 = 180,000หักค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกนิ 60,000 บาท(180,000 * 40/100 =72000) = 60,000เงินได้พงึ่ ประเมินคงเหลอื หลงั หักค่าใช้จ่าย = 120,000หัก ค่าลดหย่อน- ส่วนตวั ผู้เงินได้นางตรี = 30,000- บุตรคนที่ 2 = 7,500บุตรคนท่ี 3 = 8,500เบยี้ ประกนั ชีวติ = 6,000 = 52,000เงินได้พงึ ประเมินก่อนหลกั เงินบริจาค = 68,000หักเงินบริจาค(5,000)68,000 * 10/100 =6,800 = 5,000เงนิ ได้สุทธิ = 63,000
ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0- 68,000 เสียภาษี 5% (68,000 * 5/100) = ยกเว้นจานวนภาษีทตี่ ้องชาระ =0หัก ภาษี ณ ท่จี ่าย = 3,000รับเงนิ ภาษีคนื 3,000
การคานวณภาษหี ัก ณ ท่ีจ่ายวตั ถุประสงค์การหักภาษี ณทจี่ ่าย1) เพอ่ื บรรเทาภาระการเสียภาษใี ห้แก่ผู้รับเงนิ ได้2) เพอ่ื ให้รัฐบาลมีเงนิ เข้าคลงั อย่างสมา่ เสมอ3) เพอ่ื ลดแรงกดดนั ในการหลกี เลยี่ งในการเสียภาษี
สูตรการคานวณภาษี หัก ณ ทจี่ ่าย มาตรา 40 (1) และ (2)เงนิ ได้พงึ ประเมิน (ท้งั ปี ) – ค่าใช้จ่าย – ค่าลดหย่อน = เงนิ ได้สุทธิX อตั ราภาษี = จานวนภาษที ตี่ ้องชาระ = จานวนภาษหี ัก ณ ท่ีจ่าย จานวนคร้ังทจี่ ่ายเงนิ ได้ลกั ษณะการจ่ายเงินได้พงึ ประเมนิ1) การจ่ายเงินได้เป็ นรายเดอื น หารด้วย 122) การจ่ายเงินได้เป็ นสัปดาห์ หารด้วย 523) การจ่ายเงนิ ได้เป็ นรายปักษ์ หารด้วย 244) การจ่ายเงินได้เป็ นรายวนั หารด้วย 365
ตารางอตั ราภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมปี ปัจจุบนั ช่วงเงินได้สุทธิ อตั ราภาษี หมายเหตุ 0-100,000 5% ยกเว้น 100,001 – 150,000 10% ยกเว้น 150,001 – 500,000 10% 500,001 – 1,000,000 20%1,000,001 – 4,000,000 30% 4,000,001 บาทขึน้ ไป 37%
ตัวอย่างที่ 1 (เงินเดอื นเท่ากนั ตลอดท้งั ปี )นายสมศักด์ไิ ด้รับเงินเดือนเท่ากนั ตลอดท้งั ปี เดือน 30,000 บาท นาย สมศักด์ไิ ด้แจ้งสถานภาพการหักค่าลดหย่อนไว้ ดังต่อไปนี้ 1. มภี ริยาทชี่ อบด้วยกฎหมายแต่ภริยาไม่มเี งินได้ 2. และมบี ุตรผู้เยาว์กาลงั ศึกษาอยู่ 2 คน 3. จ่ายเบยี้ ประกนั ชีวติ กรมธรรม์ 10 ปี จานวน 16,000 บาท 4. จ่ายดอกเบยี้ เงนิ ก้ยู มื จากการเช่าซื้อบ้านในการอยู่อาศัย จานวน 30,000 บาทดงั นี้ จะต้องถูกหักภาษี ณ ทจี่ ่ายเดอื นละเท่าใด
วธิ ีการคานวณ = 360,000 = 60,000เงนิ เดือน 30,000 x 12 = 300,000หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000คงเหลอื = 30,000 = 140,000หัก ค่าลดหย่อน = 30,000 = 160,000 = 34,000 - ส่วนตวั ผู้มีเงนิ ได้ = 16,000 - คู่สมรส = 30,000 - บุตรผู้เยาว์ 2 คน - เบยี้ ประกนั ชีวติ - ดอกเบีย้ เงนิ ก้ยู มื ฯเงนิ ได้สุทธิ
เงนิ ได้สุทธิ = 160,000ช่วงเงินได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงินได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 – 160,000 เสียภาษี 10% = 1,000จานวนภาษีทต่ี ้องชาระ = 1,000ดังน้ัน ภาษี หักณทจี่ ่ายต่อเดือน1,000/12 = 83.3333 = 83.33สรุป ภาษี หัก ณ ทจ่ี ่ายภาษีเดอื น ม.ค. – พ.ย. เดือนละ 83.33 x 11 = 916.63ภาษี หัก ณ ทจ่ี ่ายเดือน ธ.ค. 1,000 – ( 83.33 x 11) = 83.37 รวมจานวนภาษี = 1,000
ตัวอย่างท่ี 2 (เงนิ เดือนไม่เท่ากนั ตลอดท้งั ปี )นายสมศักด์ไิ ด้รับเงนิ เดอื นมกราคม - กนั ยายนเดอื นละ 30,000 บาท เงนิ เดอื น ตุลาคม – ธันวาคม เดอื นละ 60,000 บาท นายสมศักด์ไิ ด้แจ้งสถานภาพการ หักค่าลดหย่อนไว้ ดงั ต่อไปนี้ 1. มีภริยาทช่ี อบด้วยกฎหมายแต่ภริยาไม่มีเงนิ ได้ 2. และมีบุตรผู้เยาว์กาลงั ศึกษาอยู่ 2 คน 3. จ่ายเบยี้ ประกนั ชีวติ กรมธรรม์ 10 ปี จานวน 16,000 บาท 4. จ่ายดอกเบยี้ เงนิ ก้ยู มื จากการเช่าซื้อบ้านในการอยู่อาศัย จานวน 30,000 บาทดงั นี้ จะต้องถูกหักภาษี ณ ทจี่ ่ายเดอื นละเท่าใด
วธิ ีการคานวณ เดือน มกราคม คร้ังท่ี 1เงนิ เดือน 30,000 x 12 = 360,000 = 60,000หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 300,000คงเหลอื = 140,000 = 160,000หัก ค่าลดหย่อน - ส่วนตัวผู้มีเงินได้ = 30,000 - คู่สมรส = 30,000 - บุตรผู้เยาว์ 2 คน = 34,000 - เบยี้ ประกนั ชีวติ = 16,000 - ดอกเบยี้ เงินก้ยู มื ฯ = 30,000เงนิ ได้สุทธิ
เงนิ ได้สุทธิ = 160,000ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 – 160,000 เสียภาษี 10% = 1,000จานวนภาษที ่ตี ้องชาระ = 1,000ดังน้ัน ภาษี หักณที่จ่ายต่อเดือน1,000/12 = 83.3333 = 83.33
วธิ ีการคานวณ เดอื น ตุลาคม คร้ังท่ี 2เงินเดือน 60,000 x 12 = 720,000 = 60,000หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 660,000คงเหลอื = 140,000 = 520,000หัก ค่าลดหย่อน - ส่วนตัวผู้มีเงินได้ = 30,000 - คู่สมรส = 30,000 - บุตรผู้เยาว์ 2 คน = 34,000 - เบยี้ ประกนั ชีวติ = 16,000 - ดอกเบีย้ เงนิ ก้ยู มื ฯ = 30,000เงนิ ได้สุทธิ
เงนิ ได้สุทธิ = 520,000ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงินได้สุทธิ 150,001 – 500,000 เสียภาษี 10% = 35,000ช่วงเงินได้สุทธิ 500,001 – 520,000 เสียภาษี 20% = 4,000จานวนภาษีทต่ี ้องชาระ = 39,000ดงั น้ัน ภาษี หักณทจี่ ่ายต่อเดือน39,000/12 = 3,250 = 3,250
ตรวจสอบ ธันวาคม คร้ังที่ 3• เงนิ เดอื นมกราคม – กันยายน 30000 x 9 = 270000• เงนิ เดือนตุลาคม – ธันวาคม 60000x 3 = 180000• รวมเงนิ ได้ = 450000• หกั ค่าใช้จ่าย 40% ไม่เกิน60000 = 60000• คงเหลือ = 390000• หักค่าลดหย่อน = 30000• คู่สมรส = 30000• บุตรผู้เยาว์ 2 คน = 34000• ดอกเบีย้ เงนิ กู้ยืม = 30000• เบยี้ ประกันชีวิต = 16000 = 140000• เงนิ ได้สุทธิ = 250000
• คงเหลือเงนิ ได้สุทธิ = 250,000• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0-100000 เสียภาษี 5% = ยกเว้น• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100001-150000 เสียภาษี 10% = ยกเว้น• ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150001-250000 เสียภาษี 10% = 10,000 จานวนภาษีท่ตี ้องชาระ = 10,000สรุปผู้จ่ายเงนิ ได้จะต้องหกั ภาษี ณ ท่จี ่ายของนายสมศักด์ใิ นกรณี ดังนี้เดอื นมกราคม ถงึ เดอื นกันยายน เดอื นละ 83.33 x 9 = 749.97เดือนตุลาคม ถงึ เดือนพฤศจกิ ายน เดอื นละ 3,250 x 2 = 6,500เดอื นธันวาคมเดอื นละ 10000-(749.97+6500 = 7249.97) = 2,750.03 รวมจานวนภาษีทัง้ สนิ้ = 10,000
ตวั อย่างท่ี 3 (กรณีได้รับเงนิ เดือนและได้รับเงนิ โบนัสนายศรชัยได้รับเงนิ เดือนเท่ากนั ตลอดท้งั ปี เงนิ เดือนเดือนละ 30,000 บาท และในเดอื นเดือนกรกฎาคมบริษทั ได้จ่ายเงนิ โบนัส จานวน 90,000 บาท นายศรชัยได้แจ้งสถานภาพการหักค่าลดหย่อนไว้ ดังต่อไปนี้1. มีภริยาทชี่ อบด้วยกฎหมายแต่ภริยาไม่มเี งินได้2. และมบี ุตรผู้เยาว์กาลงั ศึกษาอยู่ 2 คน3. จ่ายเบยี้ ประกนั ชีวติ กรมธรรม์ 10 ปี จานวน 16,000 บาท4. จ่ายดอกเบีย้ เงินก้ยู มื เน่ืองจากเช่าซื้อบ้านในการอยู่อาศัยจานวน 30,000 บาทคาส่ัง ให้คานวณหาภาษหี ัก ณ ทจี่ ่ายของนายศรชัยจะถูกภาษี ณ ทจี่ ่าย เดอื นละเท่าใด
วธิ ีการคานวณ เดอื น มกราคม คร้ังท่ี 1เงินเดอื น 30,000 x 12 = 360,000หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 = 60,000คงเหลอื = 300,000หัก ค่าลดหย่อน = 30,000 - ส่วนตวั ผู้มีเงนิ ได้ = 30,000 - คู่สมรส = 34,000 - บุตรผู้เยาว์ 2 คน = 16,000 - เบยี้ ประกนั ชีวติ = 30,000 = 140,000 - ดอกเบยี้ เงินก้ยู มื ฯเงนิ ได้สุทธิ = 160,000
เงินได้สุทธิ = 520,000ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0 – 100,000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100,001 – 150,000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150,001 – 160,000 เสียภาษี 10% (10,000*10 ) = 1,000 100 = 1,000จานวนภาษที ต่ี ้องชาระ = 83.33ดังน้ัน ภาษี หัก ณ ทจี่ ่ายต่อเดือน 1,000 / 12 = 83.333
วธิ ีการคานวณ (เดอื นกรกฎาคม)เงนิ เดอื น 30,000 x 12 = 360,000โบนัส = 90,000รวมเงินได้พงึ ประเมนิ = 450,000หัก ค่าใช้จ่ายร้อยละ 40 ไม่เกนิ 60,000 (450,00*40/100=144,000) = 60,000คงเหลอื = 390,000หัก ค่าลดหย่อน - ส่วนตัวผู้มีเงนิ ได้ = 30,000 - คู่สมรส = 30,000 - บุตรผู้เยาว์ 2 คน = 34,000 - เบยี้ ประกนั ชีวติ = 16,000 - ดอกเบยี้ เงนิ ก้ยู มื ฯ = 30,000 = 140,000
ช่วงเงนิ ได้สุทธิ 0-100000 เสียภาษี 5% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 100001-150000 เสียภาษี 10% = ยกเว้นช่วงเงนิ ได้สุทธิ 150001-250000 เสียภาษี 10% = 10,000 จานวนภาษที ี่ต้องชาระ = 10,000หัก ภาษเี งนิ เดือนทต่ี ้องชาระ = 1,000ภาษเี งนิ โบนัส = 9,000บวก ภาษหี ัก ณ ท่ีจ่าย สาหรับเงนิ เดอื น = 83.33ดงั น้ัน ภาษี หัก ณ ทีจ่ ่ายสาหรับเดือนกรกฎาคม = 9,083.33สรุป ผู้จ่ายเงนิ ได้พงึ ประเมนิ จะหักภาษเี งนิ ได้ ณ ท่จี ่ายนายศรชัยเดอื น มกราคม ถงึ มถิ ุนายน เดอื นละ = 83.33เดอื น กรกฎาคม (9,000 + 83.33) = 9,083.33เดือนส.ค. ถึง พ.ย. = 83.33
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107