Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมถอดบทเรียน best ครู นางสาวขวัญชนก กัญทาทอง รร.ทหารอากาศอนุสรณ์

รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมถอดบทเรียน best ครู นางสาวขวัญชนก กัญทาทอง รร.ทหารอากาศอนุสรณ์

Published by aom.060747583, 2021-09-08 04:36:34

Description: รองชนะเลิศอันดับ 1 กิจกรรมถอดบทเรียน best ครู นางสาวขวัญชนก กัญทาทอง รร.ทหารอากาศอนุสรณ์

Search

Read the Text Version

2 แบบนำเสนอ Best Practice  ผู้รบั ผิดชอบโครงการโรงเรียนสจุ รติ /สพท.สุจริต  ครู  ผูบ้ ริหาร ชื่อผลงาน เยาวชนดี มีความสจุ รติ ร่วมเปน็ มิตรรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม เจ้าของผลงาน ขวัญชนก กัญทาทอง ตำแหนง่ ครู โรงเรียนทหารอากาศอนสุ รณ์ สังกัด สำนกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครสวรรค์ โทรศัพท์มือ 089-4388498 e-mail: [email protected]  ทกั ษะกระบวนการคิด  มวี ินัย  ซื่อสตั ย์ สจุ รติ  อยอู่ ย่างพอเพยี ง  จติ สาธารณะ 1. ความสำคญั ของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรียน 1.1 เหตผุ ลท่เี กิดแรงบนั ดาลใจ ความจำเป็น ปัญหาหรือความตอ้ งการท่ีจะทำผลงาน/นวัตกรรม ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม เปน็ ปัจจยั พน้ื ฐานในการดำรงชวี ติ ของมนุษย์ โดยเฉพาะ ในประเทศไทยที่มีทรัพยากรธรรมชาติมากมาย เมื่อประชากรมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น การขยายตัวของชุมชน ย่อมมีความจำเป็นต้องใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น ซึ่งสถานการณ์ปั จจุบัน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมถูกใช้และถูกทำลายลงอย่างมาก จึงก่อให้เกิดความเสื่อมโทรม เกิดมลพิษ ทางสิ่งแวดลอ้ มมากมายตามมา ซ่ึงเป็นปัญหาทส่ี ่งผลต่อสขุ ภาพและคณุ ภาพชีวติ ของมนษุ ย์ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรและ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ทรงมีความห่วงใยในปัญหา ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยโดยเฉพาะป่าไม้ของประเทศที่ถูกทำลายไปอย่างมากมาย โดยทั้งสองพระองค์ได้ทรงคิดหาวิธีการนานับประการที่จะเพิ่มปริมาณป่าไม้ของประเทศไทยให้มา กขึ้นอย่าง มั่นคงและยั่งยืน ซึ่งพระองค์ได้เสนอวิธีที่เรียบง่ายและประหยัดในการดำเนินงาน คือ แนวคิดเรื่องปลูกป่า 3 อย่างเพื่อประโยชน์ 4 อย่างอันหมายถึง ปลูกป่า 3 อย่าง ได้แก่ ปลูกไม้ พออยู่ พอกินและระบบนิเวศ “พออยู่” หมายถึง ไม้เศรษฐกิจปลูกไว้ทำที่อยู่อาศัยและจำหน่าย “พอกิน” หมายถึง ปลูกเพื่อเกษตรเพื่อการ กินและสมนุ ไพร “พอใช้” หมายถงึ ปลูกไมไ้ ว้ใชส้ อยโดยตรงและเพื่อใช้เป็นพลังงาน เช่น ฟืนและไม้ไผ่ เป็นต้น เพ่อื ประโยชน์ของระบบนเิ วศและปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐- ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ “สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต” ได้มุ่งเน้นให้ความสำคัญในกระบวนการปรับ สังคมใหเ้ กิดภาวะที่ “ไมท่ นต่อการทุจริต” โดยเรม่ิ ตงั้ แต่กระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในทุกระดับช่วงวัย ตั้งแต่ปฐมวัย เพื่อสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต และปลูกฝังความพอเพียง มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต ยึดประโยชนส์ ่วนรวมมากกว่าประโยชนส์ ่วนตน เป็นการดำเนินการผ่านสถาบันหรือกลุ่มตวั แทนท่ีทำหน้าท่ีใน หารกล่อมเกลาสังคมให้มีความเป็นพลเมืองที่ดี มีจิตสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม และเสริมสร้างให้ทุก ภาคส่วนมีพฤติกรรมที่ไม่ยอมรับและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบและได้กำหนดกลยุทธ์ ๔ กลยุทธ์ กล่าวคือ กลยุทธ์ที่ ๒ ส่งเสริมให้มีระบบและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมเพื่อต้านทุจริต กลยุทธ์ที่ ๓ ประยกุ ต์หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ เคร่ืองมือตา้ นทุจริต และกลยุทธ์ที่ ๔ เสรมิ พลงั การมีสว่ นรว่ มของ ชมุ ชน (Community) และบรู ณาการทกุ ภาคสว่ นเพื่อการต่อตา้ นการทจุ ริต

3 โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ ตั้งอยู่เลขที่ ๓๕ หมู่ ๕ ตำบลตาคลี อำเภอตาคลี จังหวัด นครสวรรค์สังกัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มีเนื้อที่ ๗0 ไร่ เปิดทำการสอนตั้งแต่ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรียนทั้งสิ้น ๕81 คน ข้าราชการครู และบุคคลากร ทางการศึกษา รวม 40 คน เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกฝนการอนุรักษ์ทรัพยากร สิ่งแวดล้อม โดยการ สอดแทรกเข้าไปในกระบวนการเรียนรู้ด้านการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมด้วยตนเอง ขยายไปสู่เพ่ือนๆ พี่ๆและน้องๆ ในโรงเรยี นและโรงเรยี นเครือขา่ ย ให้เป็นคนดมี ีจิตสำนึกสุจริต มวี นิ ัย มคี วามซ่อื สตั ย์สจุ ริต อยู่อย่างพอเพียง รักษ์สิ่งแวดล้อมและมีจิตสาธารณะ และสามารถดำรงชีวิตได้อย่างมีความสุข ในสังคมยุคโลกาภิวัฒน์ โดยใช้ โครงการเยาวชนร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและโครงการโรงเรียนปลอดขยะเป็น ขบวนการขดั เกลา โรงเรียนเปรียบเสมือนเป็นบ้านแห่งที่สองของนักเรียน ซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งที่นักเรียน จะต้องช่วยกันดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนรวมไปถึงชุมชน เพื่อเป็นการปลูกฝัง จิตสำนึกที่ดีแก่นักเรียนท่ีจะพัฒนาไปสู่พลโลกที่มีคุณภาพในการจัดการปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมของประเทศและโลกในอนาคต โครงการเยาวชนร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งทางโรงเรยี นทหารอากาศอนสุ รณเ์ ห็นวา่ เปน็ โครงการที่ดที ี่จะสร้างจิตสำนกึ และความตระหนกั ใหน้ ักเรยี นไดร้ ว่ มกันอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ทำให้นกั เรียนเห็นคุณค่าและความสำคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ช่วยกันดูแลรักษาเพื่อสร้างความร่มเย็นสดชื่น สร้างภูมิคุ้มกันให้กับ โรงเรยี นรวมท้ังสงิ่ แวดลอ้ มของโรงเรียน ภายใต้การจดั กจิ กรรมตามโครงการเพื่อมุ่งเน้นให้นักเรียนในโรงเรียน ได้ร่วมมือร่วมใจกันดูแลรักษาและแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีทักษะการคิด มีวินัย ซอื่ สัตยส์ จุ ริต อยอู่ ย่างพอเพียง และมจี ติ สาธารณะ 1.2 แนวคิด หลักการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับผลงานหรือนวัตกรรม สามารถอ้างอิงถึงแนวคิด หลักการ ทฤษฎี รูปแบบ วธิ กี าร ฯลฯ ทนี่ ำมาใชใ้ นการออกแบบผลงานหรือนวตั กรรม แนวคดิ หลกั การสำคญั ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมผลงาน “เยาวชนดมี ีจิตสำนึกสุจริต เป็นมิตร ทรพั ยากรและสิ่งแวดลอ้ ม ประกอบด้วย 1.2.1 หลักปรัชญาของ“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชน- กาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทางการดำเนินชีวิต แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลัง ได้ทรงเน้นยำ้ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถอยู่อย่างม่ันคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ และความเปล่ียนแปลงตา่ งๆ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมี ระบบ ภมู คิ ้มุ กันในตัวทด่ี ีพอสมควรต่อการมผี ลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ทั้งนจี้ ะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยา่ งย่ิงในการนำวชิ าการมาใช้วางแผนและ การดำเนินการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐานจติ ใจของคนในชาติโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ นกั ทฤษฎี และนกั ธุรกิจในทกุ ระดบั ใหม้ สี ำนกึ ในคุณธรรม ความซ่อื สตั ย์สุจรติ และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ภายนอกไดเ้ ปน็ อย่างดี หลักการสำคัญของเศรษฐกิจพอเพียง 1) กรอบแนวคิด เป็นปรัชญาท่ีชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัตติ นในทางทีค่ วรจะเปน็ โดยมีพื้นฐานมาจากวิถชี วี ติ ด้ังเดิมของสังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก

4 เชิงระบบท่ีมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัยและวิกฤติ เพื่อความมั่นคงและ ความย่งั ยนื ของการพฒั นา 2) คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการปฏิบัติตนได้ในทุกระดับ โดยเนน้ การปฏบิ ตั ิ บนทางสายกลาง และการพฒั นาอย่างเป็นขั้นตอน หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) คำนิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบด้วย 3 คณุ ลักษณะพร้อมๆ กัน ดงั น้ี - ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่ เบยี ดเบียนตนเอง และผ้อู ่นื เชน่ การผลติ และการบรโิ ภคทีอ่ ยูใ่ นระดบั พอประมาณ - ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไป อย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทำ น้ันๆ อยา่ งรอบคอบ - การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตนเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พการเตร้อมรับผลกระทบและ การเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ ที่คาดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล 4) เงื่อนไขการตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมต่างๆให้อยู่ในระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัย ทั้งความรอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ ระมดั ระวงั ข้ันปฏิบตั ิ - เงื่อนไขความรู้ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง อย่างรอบด้าน รอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวัง ขน้ั ปฏิบตั ิ - เงือ่ นไขคุณธรรมที่จะต้องเสริมสร้างประกอบด้วยมีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซ่อื สตั ย์ สจุ รติ มคี วามอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดำเนนิ ชีวติ ไม่โลภ ไม่ตระหน่ี

5 5) แนวทางปฏิบตั /ิ ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ จากการนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ การพัฒนาที่สมดุลและยั่งยืน พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ง แวดล้อม และเทคโนโลยี แนวความคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คือ เข็มทิศเพื่อการดำรงอยู่และปฏิบัติตน หรือการขับเคลื่อนการพัฒนาให้ประเทศเจริญอย่างมั่นคงและยั่งยืนในมิติต่างๆ เป็นการดำเนินตาม ทางสายกลาง ก้าวทันต่อโลก โดยใช้ได้ทั้งระดับบุคคล ครอบครัว ชุมชน ประเทศ เป็นการมองโลกในลักษณะ ทเ่ี ป็นพลวัต มกี ารเปลยี่ นแปลง มคี วามไม่แน่นอนเป็นการปฏบิ ัติมุ่งผลท้งั ระยะส้ัน และระยะยาวความพอเพียง เป็นทั้งผลและวิธีการ (End and mean) จากการกระทำโดยผล คือ การพัฒนาที่สมดุลในทุกๆ ด้านและ พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ในขณะเดียวกันวิธีการ ต้องมองความรูไ้ ปในทางเดียว ทั้งในด้านเหตุและผลควบคู่กนั ไป ภายใต้พลวัตทั้งภายในและภายนอกประเทศ การนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปขับเคล่ือนสู่การปฏิบัติ สามารถดำเนินการโดยผ่านการสัมมนาแลกเปลี่ยน เรียนรู้ในเวทีระดับต่างๆ และนำไปปรับใช้ให้เหมาะกับ สภาพแวดล้อม ทั้งทางกายภาพและทางสังคม (ภูมิ- สังคม) ของตนเอง 1.2.2 หลักธรรมาภิบาล คือ หลักในการปกครอง การบริหาร การจัดการ การควบคุมดูแล กิจการต่างๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม ประกอบด้วย องค์ประกอบ 10 หลัก ได้แก่ หลักประสิทธิผล หลัก ประสิทธิภาพ หลักการตอบสนอง หลักภาระรับผิดชอบ หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักการ กระจายอำนาจ หลกั นิติธรรม หลักความเสมอภาค และหลักการมุ่งฉนั ทามติ หลกั ธรรมาภบิ าล 10 ข้อ

6 โดยได้นำหลักการมาใช้ 3 หลักด้วยกัน คือ 1) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) คอื การบรหิ ารราชการตามแนวทางการกำกับดูแลท่ีดี ที่ มีการออกแบบกระบวนการปฏิบัติงานโดยการใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสม ให้ องค์การสามารถใช้ทรัพยากรทั้งด้านต้นทุน แรงงาน และระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนาขีด ความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและผู้มีส่วนได้ส่วน เสยี ทุกกลมุ่ 2) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) คือ การแสดงความรับผิดชอบในการปฏิบัติ หน้าที่และผลงานต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยความรับผิดชอบนั้น ควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวัง ของสาธารณะ รวมท้งั การแสดงถงึ ความสำนกึ ในการรบั ผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ 3) หลกั การมีส่วนร่วม (Participation) คือ กระบวนการทีข่ ้าราชการ ประชาชนและผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอปัญหา/ ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้อง ร่วมคิดแนวทาง ร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และร่วม กระบวนการพัฒนาในฐานะหุ้นสว่ นการพัฒนา 1.2.3 วงจรควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle) P-D-C-A ของเดมมิ่ง P-D-C-A คือ แนวคิดการพัฒนาการทำงานเพื่อควบคุมคุณภาพงานให้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง พัฒนามาจากแนวคิดของ วอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) นักสถิติในงานอุตสาหกรรม ต่อมาแนวคิดนี้เริ่มเป็นที่รู้จัก กันมากขนึ้ เมอ่ื เอดวาร์ด เดมมิง่ (W.Edwards Deming) นักจดั การบริหารคุณภาพ ได้นำเสนอและเผยแพร่ใช้ เป็นเครื่องมอื สำหรับการปรบั ปรงุ กระบวนการทำงานของพนกั งานภายในโรงงานใหด้ ีขน้ึ ซง่ึ จะใช้ในการค้นหา ปัญหาอุปสรรคในขั้นตอนการทำงานโดยพนักงาน จนเป็นที่รู้จักกันในชื่อว่า วงจรเด็มมิ่ง หรือวงจร PDCA แนวคดิ วงจร PDCA เปน็ แนวคดิ ทง่ี ่ายไม่ซับซ้อน สามารถนำไปใชไ้ ด้ในเกือบจะทุกกิจกรรม จึงทำให้เป็นที่รู้จัก กนั อย่างแพร่หลายมากขึ้นท่วั โลก PDCA เปน็ อกั ษรนำของภาษาองั กฤษ 4 คำ คือ 1) การวางแผน (Plan) คือ การวางแผนการดำเนินงาน เพื่อให้เกิด การทำงานที่ได้ผลงาน การปรบั ปรุงเปล่ยี นแปลง การพัฒนาสง่ิ ใหม่ การแกป้ ัญหาทีเ่ กิดข้ึนจากการปฏิบัตงิ าน มสี ว่ นท่สี ำคัญเช่น การ กำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ การจัดอันดับความสำคัญของเป้าหมาย กำหนดการดำเนินงาน กำหนด ระยะเวลาการดำเนินงาน กำหนดผ้รู บั ผดิ ชอบดำเนินการ และกำหนดงบประมาณที่จะใช้ การวางแผนท่ีดีควร ต้องเกิดจากการศึกษาที่ดี มีการวางแผนไว้รัดกุมรอบคอบปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของงานและ เหตกุ ารณ์ แผนทีไ่ ด้ต้องชว่ ยในการคาดการณ์สิ่งทีเ่ กดิ ขนึ้ และสามารถช่วยลดความสูญเสยี ทอี่ าจเกิดขึน้ ได้ การ วางแผนควรมีการกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์ กำหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ งบประมาณท่ี กำหนด และมีการเสนอเพ่อื ขออนุมตั ิก่อนดำเนินการ เปน็ ตน้ 2) ปฏิบัติตามแผน (Do) คือ การดำเนินการเพื่อให้ได้ตามแผนที่มีการกำหนดไว้ อาจมีการ กำหนดโครงสร้างคณะทำงานรองรับการดำเนินการเช่น คณะกรรมการ ฯลฯ กำหนดวิธีในการดำเนินงา น ขั้นตอน ผู้ดูแลรับผิดชอบ ผู้ตรวจสอบและทำการประเมินผล การปฏิบัติการควรมีคณะทำงานคอยควบคุม กำหนดนโยบาย ติดตามตรวจสอบการทำงาน มีการกำหนดขั้นตอนที่ชัดเจน มีวิธีการดำเนินการที่สามารถ ดำเนินการได้จริง ไม่ยากจนเกินความสามารถของผู้ที่จะทำ มีผู้รับผิดชอบดำเนินการ ที่ชัดเจน เพียงพอมี ระยะเวลาทก่ี ำหนดที่เหมาะสม และมีงบประมาณในการทำงาน เปน็ ตน้ 3) ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน (Check) คือ ขั้นตอนที่เริ่มเมื่อมีการดำเนินโครงการตาม ข้อ 2 ควรจะต้องทำการประเมินผลการดำเนินงานว่าเป็นไปตามแผนงานที่กำหนดไว้หรือไม่ อาจประเมินใน ส่วน การประเมินผลงานการดำเนินการ การประเมินผลการดำเนินตามขั้นตอน และการประเมินผลงานตาม เป้าหมายของแผนงานที่ได้มีการกำหนดไว้ ในการประเมินนี้เราอาจสามารถทำได้เองโดยใช้คณะกรรมการที่ รับผิดชอบในแผนการดำเนินงานภายในเป็นการประเมินตนเอง แต่การใช้คนภายในอาจทำให้ขาดความ

7 นา่ เชื่อถือหรอื ประเมนิ ผลไดไ้ ม่เตม็ ที่ จะดีหากมกี ารตัง้ คณะประเมนิ จากภายนอกมาชว่ ย เพราะนา่ จะไดผ้ ลการ ประเมินที่ดีกว่าทีมงานภายใน เพราะอาจมีปัญหาช่วยกันประเมินผลให้ดีเกินจริง แนวทางที่จะใช้ในการ ประเมนิ เช่น กำหนดวธิ กี ารประเมนิ แยกใหช้ ดั เจนสามารถทำได้ง่าย มีรูปแบบการประเมนิ ตรงกับเปา้ หมายใน งานที่ทำ มีคณะผู้จะเข้าทำการประเมินที่มีความรู้เพียงพอ แนวคำตอบผลของการประเมิน ต้องสามารถตอบ โจทย์และตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ และเน้นการประเมินปัญหา / จุดอ่อน / ข้อดี / จุดแข็ง ที่มีในการ ดำเนินการ เป็นตน้ 4) ปรับปรุงแก้ไขพัฒนาต่อเนื่อง (Act) คือ การนำผลประเมินที่ได้มาทำการวิเคราะห์ เพื่อ พัฒนาแผน ในการปรับปรุงต่อไป ในส่วนน้ีควรจะเสนอแนะปญั หาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขปัญหา หรือการ พัฒนาระบบที่มีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้นไปอีกไม่มีที่สิ้นสุด ทำการระดมสมอง เพื่อหาทางแก้ไข ปัญหา / จุดอ่อน / ข้อดี / จุดแข็ง ที่พบ ปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้น นำผลที่ได้จากการระดมสมองเสนอผู้เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาใช้ วางแผนตอ่ ไป กำหนดกลยทุ ธใ์ นการจดั ทำแผนครงั้ ตอ่ ไป กำหนดผูร้ ับผดิ ชอบดำเนินงานครั้งต่อไป 2. จดุ ประสงคแ์ ละเปา้ หมายของผลงาน/นวัตกรรมถอดบทเรยี น 2.1 จุดประสงคเ์ ขยี นใหส้ อดคล้องกับความสำคญั ของผลงาน/นวัตกรรม 1) เพื่อพัฒนาคุณธรรมความพอเพียงของนักเรียนจากฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนเพื่อบ่มเพาะให้นักเรียนรู้จักการทำงาน ด้วยความเพียร อดทน และ รบั ผดิ ชอบ 2) เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เสริมสร้าง ทัศนคตทิ ด่ี ี มีคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสจุ ริต 3) เพอ่ื สร้างจิตสำนึกของนกั เรียนในการรว่ มกันอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม 4) เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม และเพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 2.2 เป้าหมาย (ระบุจำนวนผลงาน/นวตั กรรมหรอื กลมุ่ เป้าหมายทใี่ ชผ้ ลงาน/นวัตกรรม - เชิงปรมิ าณ นักเรียนโรงเรยี นทหารอากาศอนุสรณ์เขา้ ร่วมโครงการทุกคน - เชงิ คณุ ภาพ เพื่อปลูกจิตสำนึกให้นักเรียนโรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ร่วมอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และ สง่ิ แวดล้อม มีทกั ษะการคดิ มวี นิ ยั ซือ่ สตั ยส์ จุ รติ อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง และมีจติ สาธารณะ 3. กระบวนการผลิตผลงานหรอื ข้ันตอนการดำเนนิ งาน รูปแบบการปฏิบัติงานที่เป็นระบบ มีการบูรณาการเชื่อมโยงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย ง เพื่อ ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมความดี ป้องกันการทุจริตด้วยรูปแบบ มีลำดับขั้นตอนเป็นไปตาม วงจรควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle) P-D-C-A ของเดมมง่ิ ดังน้ี

8 รายงานผลการดำเนนิ งาน ประชมุ คณะผรู้ ับผิดชอบโครงการ ตามโครงการ และกิจกรรม A เสนอโครงการเพ่ือขออนุมัติ P C D ประเมนิ ผลการดำเนินโครงการ ประชมุ วางแผนการจัดการ ประชาสัมพนั ธ์ จดั ฐานการเรยี นรู้ ดำเนนิ การจัดกิจกรรม ขนั้ ตอนการดำเนินงานตามวงจรการควบคมุ คุณภาพ P-D-C-A

ลำดบั ข้นั ตอนการดำเนนิ งา

8 9 านเพื่อบรรลุเป้าหมาย

10 ขน้ั ตอนการดำเนินงานดังน้ี ขั้นที่ ๑ P : PLAN (วางแผน) ประชุมคณะผู้รับผิดชอบโครงการ ศึกษาปัญหาสิ่งแวดล้อมที่พบใน โรงเรียน กำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมาย กำหนดกจิ กรรมการบริหารจัดการสงิ่ แวดล้อม งบประมาณ เสนอ โครงการเพอื่ ขออนมุ ัติ ขนั้ ท่ี ๒ D : Do (การปฏิบัติตามแผน) มีรายละเอียดดงั นี้ ๑) ประชมุ วางแผนการดำเนนิ กิจกรรม ๒) จัดฐานการเรียนรู้ โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้กิจกรรมเพื่อ วัตถุประสงค์ในการช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเริ่มจากภายในโรงเรียนของนักเรียน เองสู่การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน ซึ่งกิจกรรมในโครงการหลักๆ ที่ดำเนินการนั้น มีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า จำนวน 10 ฐานการเรียนรู้และอีกหลากหลายกิจกรรมเพื่อให้นักเรียนได้ลงมือ ปฏิบัติงานจริง ซึ่งมีการเปิดให้ศึกษาอย่างสม่ำเสมอ โดยมีข้าพเจ้าและคณะครูเป็นผู้รับผิดชอบดูแลนักเรียน แกนนำและมสี ่อื การเรียนรู้ท่สี ามารถเปดิ ใหบ้ ุคคลทสี่ นใจนำไปใชไ้ ด้ กจิ กรรม 10 ฐานการเรยี นรู้การบริหารจดั การขยะในโรงเรียน ได้แก่ 1 ฐานศาสตร์พระราชา จากภูผาสู่มหานที มีการจัดนิทรรศการเพื่อเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทั้งเป็นแหล่งเรียนรู้และเผยแพร่ ศาสตร์ การจัดการ และการอนุรักษ์ดิน น้ำ ป่า ที่ทรงศึกษา คิดค้น และวิจัย แล้วพระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย เพอ่ื ใชใ้ นการจดั การลุ่มน้ำ ตั้งแตต่ น้ นำ้ กลางนำ้ สู่ปลายน้ำ เม่ือนำองค์ความรู้น้ีมาปฏบิ ัติตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และทฤษฎีใหม่ จะนำไปสกู่ ารพง่ึ พาตนเองและการพฒั นาอย่างย่ังยืน 2 ฐานแยกขยะก่อนท้งิ รักษาสิง่ แวดล้อม เป็นฐานการเรยี นรู้เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอย เปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและลดการปนเป้ือนของขยะมลู ฝอยท่ีมีศักยภาพในการนำกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ จะต้องมีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ ดังนี้ สีเขียว แทนขยะเปียกหรือขยะ อินทรีย์ สีเหลือง แทนขยะรีไซเคิล สีฟ้า แทนขยะทั่วไป และสีแดง แทนขยะอันตราย โดยฝึกให้นักเรียนคัด แยกขยะตัง้ แต่ในห้องเรียน และให้ความรผู้ ่านการประชาสมั พนั ธ์อย่างท่วั ถึงและสมำ่ เสมอ

11 3 ฐานเสวียนเวียนสาร เป็นฐานการเรียนรู้ที่เกิดจากภูมิปัญญาของชาวบ้าน ซึ่งเคยมีการใช้กันมา ตั้งแต่บรรพบุรุษ การทำเสวียน เป็นการนำเอาไม้ไผ่มาสานรอบโคนต้นไม้เพื่อใช้เก็บขยะใบไม้ให้ใบไม้เศษไม้ ย่อยสลายตามธรรมชาติ ลดฝ่นุ ละอองจากการเผาใบไม้เศษไม้ 4 ฐานรณรงคก์ ารลดใชพ้ ลาสตกิ และกลอ่ งโฟมในโรงเรยี น เปน็ ฐานการเรยี นรู้เพือ่ ให้ตระหนกั รู้และ ตื่นตัวกับปัญหาของการใช้ขยะพลาสตกิ และโฟม โดยขยะเหลา่ นี้ใช้เวลายอ่ ยสลายยาวนานหลายปี หากกำจัด ด้วยวิธีฝังกลบจะใช้พื้นที่มากกว่าขยะปกติถึง 3 เท่า หรือหากนำไปเผาทำลายจะก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก สาเหตุของภาวะโลกร้อน อีกทั้งยังทิ้งสารตกค้างปนเปื้อนไว้ในดินและน้ำอีกด้วย โรงเรียนจึงมีการประกาศ เจตนารมณ์ในการจัดการขยะของโรงเรียนเพื่อลดใช้ภาชนะพลาสติกและกล่องโฟม โดยการใช้ผลิตภัณฑ์รักษ์ โลกเพ่อื ทดแทน และการใชผ้ ลติ ภณั ฑ์ท่ีสามารถใช้ซ้ำได้ เช่น แก้วน้ำ กล่องข้าว ปิ่นโต หรือถุงผ้า 5 ฐานการจัดการขยะอนิ ทรียห์ รือขยะเปียก เป็นฐานการเรยี นรู้เพอ่ื การจัดการกับขยะเปยี กประเภท เศษอาหารต่าง ๆ ที่เหลือท้ิงในโรงอาหารทุกวัน หากทิ้งไว้นานโดยไมไ่ ด้จัดการอย่างถูกวธิ ี นอกจากจะเน่าเสยี ส่งกลิ่นเหม็นไม่พึงประสงค์ และเป็นแหล่งเชื้อโรคแล้ว ยังทำให้ขยะชนิดอื่น ๆ ที่อยู่ร่วมกันสกปรก และไม่ สามารถเขา้ สกู่ ารบวนการรไี ซเคลิ ได้ จงึ มีความจำเป็นตอ้ งจัดการขยะประเภทนี้ให้ถูกวธิ ี 6 ฐานส่ิงเหลอื ใชม้ คี ่า เปน็ ฐานการเรยี นร้เู พอ่ื ใหน้ ักเรยี นสรา้ งสรรค์ชิ้นงานจากขยะให้กลับมามีค่าอีก ครงั้ โดยประดิษฐ์เปน็ สง่ิ ของเครื่องใช้ต่าง ๆ ทั้งยงั เป็นการบูรณาการเรื่องปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับ เรื่องของภาวะโลกร้อน การสรา้ งสรรค์ผลงานประดิษฐจ์ ากเศษวัสดุทย่ี ่อยสลายยาก จากวัสดเุ หลือใช้ประเภท พลาสติก ซึ่งเป็นของเหลือใช้หรือขยะที่มีอยู่ทุกที่ ซึ่งนับวันปริมาณจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ ดังนั้นการประดิษฐ์จาก เศษวัสดุทีย่ อ่ ยสลายยากจากขยะประเภทพลาสติก จึงเปน็ วิธหี นงึ่ ทจี่ ะช่วยลดปรมิ าณขยะและนำของเหลือใช้น้ี

12 มาใช้หรือดัดแปลงให้เกิดประโยชน์ได้ เพื่อเป็นการสร้างความรู้ความเข้าใจและสร้างจติ สำนึกที่ดีต่อการรักษา สิง่ แวดล้อม 7 ฐานปุ๋ยหมัก-น้ำหมักชีวภาพ เป็นฐานการเรียนรู้ในการทำปุ๋ยหมักและน้ำหมักชีวภาพเพ่ือ การศึกษาและใช้ในโรงเรียน โดยปุ๋ยหมักนั้นเป็นปุ๋ยอินทรีย์ที่ได้จากหมักบ่มสารอินทรีย์ด้วยจุลินทรีย์ที่ทำ หนา้ ท่ีย่อยสลายอนิ ทรียว์ ตั ถุให้สลายตัว และผพุ ังไปบางส่วน ทำให้ได้ปยุ๋ ท่มี ลี ักษณะสีคล้ำดำ มีลักษณะเป็นผง ละเอยี ดเหมาะ สำหรบั การปรับปรุงดิน และใหธ้ าตอุ าหารแก่พืช วสั ดอุ ินทรยี ท์ ใ่ี ช้สำหรับการหมกั อาจเป็นเศษ พืชสด วัสดุอินทรีย์เผา รวมถึงอาจผสมซากของสัตว์ หรืออาจผสมปุ๋ยคอกก็ได้ และหากนำมากองรวมกัน พรอ้ มรดนำ้ อย่างสม่ำเสมอ จลุ นิ ทรีย์กจ็ ะทำการย่อยสลายตอ่ ไป 8 ฐานสวนพฤกษศาสตร์ เพื่อการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เป็นฐานการเรียนรู้ตามโครงการสวน- พฤกษศาสตร์โรงเรียน อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ่ือเป็นสอ่ื ในการสร้าง จติ สำนกึ ด้านอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยให้เยาวชน นั้น ได้ใกล้ชิดกับพืชพรรณไม้ เห็นคุณค่า ประโยชน์ ความ สวยงาม อันจะก่อให้เกิดความคิดที่จะอนุรักษ์พืช พรรณต่อไป 9 ฐานใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า-ประหยัดน้ำประหยัดไฟ เป็นฐานการเรียนรู้เพื่อต้องการรณรงค์ การใช้พลังงานและทรัพยากรในโรงเรียนและชุมชนอย่างรู้คุณค่าและให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีการ ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายและหน้าเสาธง ติดป้ายและสติกเกอร์ประหยัด-น้ำประหยัดไฟตามก๊อกน้ำ ปลั๊กไฟและสวิตซ์ไฟตามห้องเรียนและสำนักงาน ในภาคส่วนของโรงเรียนที่สนับสนนุ อยา่ งต่อเน่ืองและจรงิ จงั เช่น เข้าร่วมโครงการปรับเปลี่ยนหลอดไฟภายในอาคารโรงเรียนเป็นหลอดLED เลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มี

13 ฉลากประหยัดไฟ เพือ่ ช่วยประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในโรงเรยี น ตดิ ถังกรองดกั ไขมันใหก้ บั แมค่ า้ ในโรงอาหาร ทกุ รา้ นเพอ่ื บำบดั นำ้ กอ่ นปล่อยกลับส่แู หลง่ นำ้ 10 ฐานรณรงค์การใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นฐานการเรียนรู้จากหลักการ 3Rs การลดการใช้และการใช้ซ้ำจะช่วยลดขยะและช่วยลดภาวะโลกร้อน หัวใจสำคัญอีกอย่างหนึ่งของการเลือกใช้ ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมก็คือ ความพยายามในการนำวัตถุดิบจากของเหลือใช้หรือจากธรรมชาติ เพื่อนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น การรณรงค์ทำพานไหว้ครูจากวัสดุ ธรรมชาตแิ ละวสั ดเุ หลือใช้ การจัดดอกไม้จากวสั ดธุ รรมชาตทิ ่ีมีอยู่ในโรงเรยี น การทำภาชนะใสอ่ าหารจากวัสดุ ธรรมชาติและกระดาษเหลือใช้ ช่วยทำให้ของเสียเป็นศูนย์หรือเหลือน้อยมากที่สุดเท่าที่จะทำได้ เป็นการ สง่ เสรมิ ให้เกดิ การใช้ประโยชนจ์ ากทรพั ยากรทีม่ ีอยู่อยา่ งจำกัดได้คมุ้ ค่ามากที่สดุ กิจกรรมโรงเรยี นปลอดขยะ (Zero Waste School) เปน็ กิจกรรมร่วมเพ่ือชว่ ยเสริมแรงในการปลูก จิตสำนึกในการรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยเริ่มต้นจากการบริหารจัดการขยะที่ต้นทาง ใช้ แนวคิดการจัดการขยะด้วยหลัก ๓Rs โดยเน้นไปท่ีเร่ืองของขยะ โดยใช้กระบวนการคัดแยกขยะในโรงเรยี นให้ เกิดข้ึนอย่างเปน็ รูปธรรม และนักเรยี นสามารถขยายผลนำไปใช้บรกิ ารจดั การขยะในครอบครัวและชุมชนได้

14 กิจกรรมอื่น ๆ ยังมีกิจกรรมย่อยอื่น ๆ ท่ีข้าพเจ้าได้ร่วมส่งเสริมและปลูกฝังจิตสำนึกในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมของนกั เรียนในโรงเรยี น อาทิ กิจกรรมศุกร์สดใส เลิกใช้ถุงพลาสติก เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้เด็กไทยเลิกใช้ถุงพลาสติก ตาม นโยบายของ สพม.นครสวรรค์ โดยข้าพเจ้าได้สนับสนุนนักเรียนในชุมนุมและนักเรียนในโครงการได้มีการทำ ป้ายรณรงค์เลิกใช้ถุงพลาสติกและประชาสัมพันธ์ให้แก่นักเรียนในโรงเรียนในคาบชุมนุมวันศุกร์ นอกจากนี้ยัง ร่วมผลิตและใช้วัสดุจากธรรมชาติในการบรรจุอาหารเช่นกระทงใบตอง ร่วมสอนนักเรียนเย็บถุงผ้า เพ่ือ นำมาใชท้ ดแทน เปน็ การลดปริมาณการใชถ้ ุงพลาสติก กิจกรรมโครงงานคุณธรรม “ปณิธานความดี ทำดีเริ่มที่ใจเรา” เป็นอีกหนึ่งโครงการข้าพเจ้าร่วม เป็นครูที่ปรึกษาโครงงานคุณธรรมในการดำเนินการด้านจิตอาสาเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ภายใต้ ช่ือ โครงงาน “รว่ มใจพฒั นา รักษาสง่ิ แวดล้อม น้อมถวายเป็นพระราชกศุ ล” เพื่อถวายเปน็ พระราชกศุ ลเน่ืองในวัน คล้ายวนั สวรรคตของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยได้รับเกียรติบัตรจากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) กิจกรรมนำความรู้สู่ชุมชน เพื่อเป็นการเผยแพร่นวัตกรรมด้านสิ่งแวดล้อมและความรู้ในการจัดการ ขยะอยา่ งถกู วธิ ีสู่ชมุ ชนของนกั เรยี น โดยได้รับความรว่ มมือในการเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ผา่ นสำนกั ขา่ วท้องถ่ิน

15 กิจกรรมหลักสูตรอาชีพระยะสั้น การทำปุ๋ยหมัก-จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง เป็นกิจกรรมที่ข้าพเจ้า ได้รับมอบหมายในการจัดหลักสูตรอาชีพระยะสั้นในคาบลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โดยการสอนนักเรียนทำปยุ๋ หมกั และจุลนิ ทรียส์ ังเคราะหแ์ สงขาย ตามแนวทางปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซ่ึงเปน็ วิถีเกษตรอินทรีย์ คือ การทำการเกษตรด้วยกรรมวิธีทางธรรมชาติ เพื่อความสมบูรณ์ทางชีวภาพในระบบนิเวศน์และฟื้นฟู สิง่ แวดลอ้ มใหเ้ ปน็ ไปตามสมดุลของธรรมชาติใหม้ ากทส่ี ดุ กิจกรรมประกวดบทความด้านสิ่งแวดล้อม ข้าพเจ้าได้ส่งเสริมให้นักเรียนได้แสดงออกด้านการ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม โดยมีการส่งนักเรียนประกวดการเขียนเรียงความด้านส่ิงแวดล้อม เช่น รางวลั บทความ “พลังแหง่ ความรกั สรรค์สรา้ งสิง่ แวดล้อม” รางวัลบทความดีเด่นด้านพลังงานทางเลือกท่ี เป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อมจากกระทรวงพลงั งาน คือ “บทความโรงไฟฟ้าบา้ นเรา” กิจกรรม e-waste เพื่อเป็นการส่งเสริมความตระหนักรู้ถึงพิษภัยของขยะอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครื่องใชไ้ ฟฟ้าหรืออุปกรณอ์ ิเล็กทรอนิกสท์ ัง้ หลายที่เสียหรือไม่มีคนต้องการ ขยะเหล่านี้จะย่อยสลายเองไมไ่ ด้ และเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม จงึ ต้องมกี ารใหค้ วามรใู้ นการจัดการขยะประเภทน้ีอยา่ งถูกวธิ ี กิจกรรม ดูแลเขตพื้นทีร่ ับผดิ ชอบ “โรงเรียนสวย สะอาดตา” โดยในทุกวันนักเรียนแต่ละระดับช้นั จะรว่ มกันทำความสะอาดตามเขตพื้นที่รบั ผิดชอบ เพอื่ ลดขยะในโรงเรียน และสร้างจิตสำนึกในการดูแลรักษา พื้นที่ของตนเองร่วมกัน และมีการประกวดห้องเรียนสดใส รักษาความสะอาด คัดแยกขยะ โดยจัดทำถังขยะ แยกประเภทภายในห้องเรียน ได้แก่ ขยะทั่วไป และขยะรีไซเคิล และการประกวดการดูแลเขพื้นที่รับผิดชอบ

16 โดยนกั เรียนแตล่ ะห้องจะมีการทำความสะอาดและดูแลเขตพ้ืนทีโ่ ดยรอบบริเวณโรงเรยี นใหส้ ะอาดสวยงามอยู่ เสมอ กิจกรรมการถอดบทเรียนการจัดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ กิจกรรมชุมนุม และบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การถอดบทเรียนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นั้น ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนรู้โดยสอดแทรกความรู้คู่คุณธรรมจริยธรรมเก่ียวกบั ส่ิงแวดล้อม และนำปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในรายวิชา รวมทั้งการประยุกต์ใช้กับกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ เพื่อปลูกฝัง จิตสำนึกที่ดีด้านสิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้รับข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการจัดการ ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและร่วมทำกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความตระหนักเกี่ยวกับ ปัญหาของสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันและร่วมคิดหาสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหา ปลูกฝังจิตสำนึกในการ ร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่ต้องแก้ไขปัญหาดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง และฝึก ให้นักเรียนเป็นแกนนำในการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ด้านการรณรงค์อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม

17 ขน้ั ที่ ๓ C : Check (ตรวจสอบการปฏิบตั ติ ามแผน) ประเมนิ ผลการดำเนนิ โครงการ ตรวจสอบผล การประเมินโครงการ จากแบบประเมินความพึงพอใจ มีผู้ตอบแบบสอบถามซึ่งเป็นนักเรียนและบุคลากรใน โรงเรียนจำนวน 200 คน ได้ผลการประเมิน ดังน้ี รายการประเมนิ คะแนน ระดับคะแนน 1 เฉลย่ี 5 4 32 0 1. โครงการนไี้ ดก้ ำหนดวัตถปุ ระสงค์ไวช้ ัดเจนเพื่อให้ 4.78 81.48 15.87 2.65 0 นักเรียนมีความรู้ ทักษะ ในการอนรุ ักษ์ 0 ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม 4.92 88.89 11.11 0 0 0 2. โครงการนช้ี ว่ ยให้สภาพแวดล้อมได้รบั การดูแลรักษา 4.90 87.83 12.17 0 0 0 ให้อยูใ่ นสภาพดีและยง่ั ยืน 4.88 90.48 7.14 2.12 0 0 3. นกั เรียนและครูทุกคนไดม้ ีสว่ นรว่ มในการดำเนินงาน 4.92 92.59 4.12 3.17 0 ตามโครงการ 0 4. ระยะเวลาในการดำเนินงานตามโครงการมีความ 4.91 93.12 6.88 0 0 เหมาะสม 0 5. กิจกรรมตามโครงการทจี่ ดั ขน้ึ ทำใหน้ ักเรยี นมีความรู้ 4.87 87.30 9.52 3.17 0 0 และตระหนักถึงคณุ ค่าของสงิ่ แวดลอ้ มทมี่ ผี ลกระทบต่อ 4.81 81.48 6.35 7.94 4.23 0 ตัวนกั เรียน 4.77 81.01 8.99 0 0 6. กิจกรรมตามโครงการชว่ ยสรา้ งจิตสำนึกและความ 0 ตระหนักใหน้ ักเรียนในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 4.86 89.28 7.94 2.72 0 และส่ิงแวดลอ้ ม 7. นักเรยี นไดร้ ับความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ตาม กิจกรรมการอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม 8. โรงเรียนและชุมชนมีส่วนรว่ มในกิจกรรมการอนรุ ักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 9. นักเรยี นสามารถนำกจิ กรรมการอนุรักษ์และ ทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มไปใชใ้ น ชีวติ ประจำวนั เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อตัวนกั เรียนและ ชมุ ชน รวมเฉล่ีย จากตาราง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจให้คะแนนการจัดกจิ กรรม โดยมีคะแนนเฉล่ียอยู่ ที่ 4.86 มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 89.28 รองลงมาคือ ความพึงพอใจในระดับมาก คิดเปน็ รอ้ ยละ 7.94 ตามลำดบั ซึ่ง หัวข้อท่ีมนี ักเรยี นทีป่ ระเมนิ ผลในระดับดขี นึ้ ไปมากทสี่ ุด ได้แก่ หัวขอ้ ท่ี 2 โครงการนี้ช่วยให้สภาพแวดล้อมได้รับการดูแลรักษาให้อยู่ในสภาพดีและยั่งยนื และ หัวข้อที่ 5 กิจกรรมตาม โครงการท่ีจดั ขน้ึ ทำให้นักเรียนมีความรูแ้ ละตระหนักถงึ คุณคา่ ของส่ิงแวดล้อมท่ีมีผลกระทบต่อตวั นกั เรียน โดย มีคะแนนความพึงพอใจเฉลีย่ 4.92 ขน้ั ที่ ๔ A : Act (ปรับปรุงแกไ้ ข) รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการ

18 4. ผลการดำเนนิ การ/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชน์ท่ไี ด้รับ (ระบผุ ลงานท่ภี าคภูมใิ จ/สำเร็จ ข้อมลู ยนื ยนั ความสำเร็จ วิธกี ารดำเนนิ การ/ปฏิบตั ิ) สรปุ ผลการดำเนนิ การตามวัตถปุ ระสงค์ วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ / กิจกรรม สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ - เพื่อสร้างจิตสำนึกของนักเรียนใน นักเรียนมีจิตสำนึกในการร่วมกันอนุรักษ์ การร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ✓ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี และส่งิ แวดล้อม คะแนนเฉลี่ย 4.81 อยู่ในระดับความพึง พอใจระดบั มากที่สดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 88.48 - เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงพิษภัยท่ี นักเรียนได้ตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจากการ เกิดจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ✓ ทำลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และส่ิงแวดลอ้ ม มีคะแนนเฉลี่ย 4.88 อยู่ในระดับความพึง พอใจระดับมากท่สี ุด คิดเปน็ ร้อยละ 90.48 - เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการ นักเรียนมีส่ว นร่ว มในการอนุรั ก ษ์ อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ✓ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มี ส่งิ แวดลอ้ ม คะแนนเฉลี่ย 4.88 อยู่ในระดับความพึง พอใจระดบั มากท่ีสดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 91.83 - เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้ โรงเรียนได้รับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้ สวยงามน่าอยู่ ✓ สวยงามน่าอยู่ มีคะแนนเฉลี่ย 4.82 อยู่ใน ระดับความพึงพอใจระดับมากที่สุด คิดเป็น รอ้ ยละ 89.12 จากตาราง พบวา่ การดำเนินการจัดกิจกรรมต่างๆ ตามโครงการโดยดำเนนิ การแลว้ เสร็จและสรุปรายงาน ตอ่ ผู้บริหาร สรุปตามวตั ถุประสงค์ พบวา่ วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 เพื่อสร้างจิตสำนึกของนักเรียนในการร่วมกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่าบรรลุวัตถุประสงค์ โดยนักเรียนนักเรียนมีจิตสำนึกในการ รว่ มกันอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีคะแนนเฉล่ีย 4.81 อยู่ในระดบั ความพึงพอใจระดับมาก ทสี่ ุด คดิ เป็นร้อยละ 88.48 วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่าบรรลุวัตถุประสงค์ นักเรียนได้ตระหนักถึงพิษภัยที่เกิดจาก การทำลายทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม มคี ะแนนเฉลย่ี 4.88 อยใู่ นระดับความพึงพอใจระดบั มากท่ีสุด คิดเป็นรอ้ ยละ 90.48 วัตถุประสงค์ข้อท่ี 3 เพ่ือให้นกั เรียนมสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลการ ประเมินความพึงพอใจ พบว่าบรรลุวัตถุประสงค์ นักเรียนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อม มีคะแนนเฉลย่ี 4.88 อยู่ในระดับความพึงพอใจระดับมากท่สี ุด คิดเป็นรอ้ ยละ 91.83 วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 เพื่อพัฒนาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนให้สวยงามน่าอยู่ ผลการประเมินความพึงพอใจ พบว่าบรรลุวัตถุประสงค์ โรงเรียนได้รับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมให้สวยงามน่าอยู่ มีคะแนนเฉลี่ย 4.82 อยู่ใน ระดบั ความพึงพอใจระดบั มากทส่ี ดุ คดิ เป็นรอ้ ยละ 89.12

19 ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใต้โครงการ เยาวชนร่วมใจอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิ่งแวดล้อม สำเร็จลุล่วงด้วยดีจากการสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนและครู พบว่า นักเรียนและครู มี ความพงึ พอใจต่อการจัดกจิ กรรมโดยเฉลีย่ อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ สรปุ ผลการดำเนนิ งานตามเป้าหมาย / ตัวชี้วดั เป้าหมาย / ตัวชี้วัดของ โครงการ / สภาพความสำเร็จ ผลการดำเนนิ งาน กจิ กรรม บรรลุ ไม่บรรลุ นกั เรียนเขา้ ร่วมกิจกรรม 100 % ด้านปริมาณ - นักเรียนในโรงเรียนรู้คุณค่าของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร้อยละของนักเรียนที่เข้าร่วมและมีส่วนร่วม ✓ และตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจาก ในการทำกิจกรรมตามโครงการ การทำลายทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ด้านคุณภาพ ร้อยละ 92.48 1. ร้อยละของนักเรียนที่รู้คุณค่าของ - นักเรียนมีความพึงพอใจในผลของ กิจกรรมที่ที่ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมใน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ โรงเรยี นสวยงามน่าอยจู่ ากการดูแลเอา ใจใส่ของนักเรียนเอง ระดับพึงพอใจ ตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดจากการทำลาย ✓ มากท่ีสุดรอ้ ยละ 93.09 ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 2. รอ้ ยละของนักเรียนที่มคี วามพงึ พอใจในผล ✓ ของกิจกรรมที่ที่ส่งผลให้สิ่งแวดล้อมใน โรงเรียนสวยงามน่าอยู่จากการดูแลเอาใจใส่ ของนกั เรียนเอง การบรรลุตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวนั้น ทำให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนมี ความร่มรื่น สะอาด และสวยงามน่าอยู่ ทั้งนี้การจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดีของ โรงเรียนจะมีส่วนในการเสริมสร้างความคิด จิตใจ และคุณธรรมต่าง ๆ อันพึงประสงค์ได้ โรงเรียนที่สะอาด สดชื่น ร่มรื่น เรียบง่าย สงบ แจ่มใส มีชีวิตชวี า วัสดุอาคารสถานทีท่ ี่ไดร้ ับการดูแลมีความเปน็ ปัจจุบันพร้อมท่ี จะให้ครูและนักเรียนได้ใช้ตลอดเวลา ย่อมจะทำให้ครูและนักเรียนได้รับอิทธิพลทำให้เป็นคนละเอียดอ่อน จิตใจแจ่มใส รักสวยรักงาม รักความสะอาด รักความสงบ เรียบง่าย ทำให้เข้าใจตนเอง และผู้อื่นไปด้วย ยง่ิ ไปกว่าน้ัน การส่งเสรมิ ให้ทุกคนในโรงเรียนมีสว่ นรว่ มในการดูแลรักษา รว่ มคดิ ร่วมทำ ร่วมพฒั นา ฝึกฝนให้ นักเรียนเป็นคนคิดอย่างมีเหตุผล เห็นคุณค่าของความดี เคารพกฎกติกาของสังคมขั้นพื้นฐาน นำไปสู่ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 5 ประการของโรงเรยี นสุจริต คือ ทกั ษะกระบวนการคิด มีวนิ ัย ซอ่ื สัตย์สุจริต อยู่ อยา่ งพอเพียง และมีจติ สาธารณะ

20 5. ปัจจยั ความสำเรจ็ (ระบุบุคคล / หน่วยงาน / องค์กร หรือ วิธีการที่ช่วยใหง้ านประสบผลสำเร็จตามจดุ ประสงค์ การดำเนินงานมี ประสทิ ธภิ าพ ส่งผลต่อคุณภาพของผลงาน/นวัตกรรม) โรงเรยี นทหารอากาศอนุสรณป์ ระสบความสำเร็จในการดำเนนิ งาน เนอื่ งจากปจั จยั ดงั น้ี ๕.๑ ผู้บริหารมีภาวะผู้นำ มีวิสัยทัศน์ มีความคิดริเริ่ม และเปิดโอกาสให้ดำเนินงานระบบเป็นอย่างดี อีกทั้งให้การสนับสนุนส่งเสริม อำนวยความสะดวกทุกประการ พร้อมทั้งมีการกำหนดนโยบายและข้อตกลงที่ ชดั เจนประกาศเป็นแนวปฏบิ ตั ริ ว่ มกัน ๕.๒ คณะครูทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมให้ความร่วมมือร่วมใจอย่างเต็มที่ เต็มกำลัง และกำกับติดตาม นักเรียนในความดแู ล ๕.๓ ความรว่ มมือร่วมใจจากนักเรยี น ทำใหก้ จิ กรรมบรรลุผลเป็นท่ีนา่ พอใจของทกุ ฝ่าย ๕.๔ ความร่วมมือของชุมชนและองค์กรในท้องถิ่นท่ีเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ทำให้ได้รับการ สนับสนุนเต็มที่ ทั้งนี้จากการได้รับความร่วมมือและสนับสนุนอย่างดียิ่งในด้านต่าง ๆ จากหน่วยงานเครือข่าย คือ 1. องค์การบริหารสว่ นตำบลตาคลี ที่ให้ความเอือ้ เฟื้อด้านการจัดการบริหารขยะในโรงเรียน 2. บริษทั เกษตรไทย อินเตอร์เนชั่นแนล ชูการ์ คอร์ปอเรชั่น จำกดั (มหาชน) ใหค้ วามเอ้ือเฟ้ือข้ีเค้กอ้อยและกากน้ำตาล เพื่อทำปุ๋ย 3. สถานีเพาะชำกล้าไม้จังหวัดชัยนาทให้ความเอื้อเฟื้อด้านกล้าไม้เพื่อนำมาปลูกในโรงเรียน 4. เทศบาลเมืองตาคลี ให้ความเอื้อเฟื้อด้านกิจกรรมปลูกป่า 5.การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอตาคลี ให้ความ เอื้อเฟื้อด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม 6.กองบิน4 ที่ดูแลอำนวยความสะดวกด้านสถานที่และสาธารณูปโภค เช่น น้ำประปา 7.สาธารณสุขอำเภอตาคลีและโรงพยาบาลตาคลี ที่ตรวจและประเมินโรงอาหารให้มีคุณภาพ ด้านสุขอนามัย 8.โรงพยาบาลกองบิน4 ที่เอื้อเฟื้อดูแลนักเรียนด้านสขุ ภาพและอนามัยที่ดี ส่งผลให้กิจกรรม ต่าง ๆ ทีก่ ลา่ วมาสำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี 6. บทเรียนท่ีไดร้ ับ (ระบุสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าค้นพบอะไรที่เกิดจากการพัฒนาผลงาน/นวัตกรรม โดยอาจจะเป็นการค้นพบวิธีการ ขัน้ ตอน หรือรูปแบบทเ่ี กิดขึ้น) ขอ้ สรปุ ๖.๑ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตระหนักถึง ความสำคัญของสง่ิ แวดลอ้ ม และมสี ว่ นรว่ มในการอนรุ ักษ์ส่งิ แวดล้อมทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน ๖.๒ ครมู ีการพฒั นาการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ได้อย่างหลากหลาย ผา่ นการบรู ณาการการจดั การเรียน การสอนในช้ันเรียน ใหส้ อดคลอ้ งกับกจิ กรรมท่ีโรงเรียนดำเนินการอยู่ ๖.๓ โรงเรยี นและชุมชนมสี ภาพแวดลอ้ มท่ดี ี ๖.๔ ผูป้ กครอง ชมุ ชน มคี วามภาคภูมใิ จในบตุ รหลานของตนทีม่ สี ่วนในการรักษาสิง่ แวดล้อม และร่วม ปฏบิ ัติกิจกรรมรกั ษาสิง่ แวดล้อมมากข้ึน

21 7. การเผยแพร่/การไดร้ บั การยอมรับ/รางวัลที่ได้รบั (ระบุขอ้ มลู ที่ทำใหเ้ ห็นร่องรอยหลักฐานช่องทางการเผยแพรผ่ ลงาน/ นวตั กรรม การยกย่องชมเชย และรางวัล ท่ีได้รบั ) โรงเรียนได้มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมตามโครงการ และการรณรงค์การจัดการปัญหาด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผ่านเสียงตามสาย สื่อสิ่งพิมพ์ เช่น วารสาร แผ่นพับ สื่อออนไลน์และลื่อ โซเชียลต่าง ๆ อย่างทั่วถึงและหลากหลาย เช่น เว็บเพจ เฟสบุ๊ค ยูทูป รวมทั้งมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรูส้ ู่ ชุมชนโดยให้นกั เรยี นนำกลับไปเผยแพร่ความรกู้ ับผ้ปู กครองและสมาชกิ อื่น ๆ ในครอบครวั การได้รับการยอมรบั /รางวลั ทไ่ี ด้รบั ๑. ปี ๒๕๖๑ โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2ประเภทโรงเรยี นขนาดกลาง จากการประกวดโครงการ “เยาวชนร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” จากสหกรณ์ออม ทรัพย์ครนู ครสวรรค์

22 2. ปี ๒๕๖๑ โรงเรียนทหารอากาศอนสุ รณ์ ไดร้ ับรางวลั โรงเรียนปลอดขยะ (Zero Waste School) ระดับ ชมเชย จากเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษามัธยมศึกษานครสวรรค์ 3. ปี ๒๕๖๒ โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทโรงเรียนขนาดกลาง จากการ ประกวดโครงการ “เยาวชนร่วมใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม” จากสหกรณ์ออมทรัพย์ครู นครสวรรค์ 4. ปี ๒๕๖๒ โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ ได้รับตรวจประเมินโครงการโรงเรียนปลอดขยะ ระดับจังหวดั ได้รางวัลชนะเลิศอันดับที่ ๑ และเป็นตัวแทนของจังหวัดนครสวรรค์ เข้าร่วมการตรวจประเมินโครงการ โรงเรียนปลอดขยะระดับภาค และไดร้ บั รางวัลรองชนะเลศิ อันดับที่ ๑

23 5. ในปีการศึกษา 2563 โรงเรียนทหารอากาศอนุสรณ์ได้ร่วมส่งโครงการโรงเรียนปลอดขยะและเข้ารอบ ระดบั ประเทศ โดยมีการรับการตรวจประเมินจากคณะกรรมการสำนักงานสิ่งแวดล้อมผ่านการประชุมทางไกล ในวันท่ี 23 สิงหาคม 2564 8. เงื่อนไขความสำเร็จ (ระบุขอ้ สงั เกต ข้อเสนอแนะในการนำผลงาน/นวตั กรรมไปใช้) การดำเนนิ งานอย่างเปน็ ระบบขน้ั ตอนนำไปสคู่ วามสำเรจ็ ในการปฏิบัตกิ จิ กรรมในโครงการให้ดำเนิน ลุล่วงไปดว้ ยดี นอกจากนน้ั ยังมีเงอื่ นไขอ่ืน ดงั น้ี 1. การจัดการเรียนรู้ตามแผนบูรณาการด้านสิ่งแวดล้อมของครูผู้สอน โดยใช้ฐานการเรียนรู้เป็นสื่อ การเรียนการสอน มกี ารสอดแทรกความรดู้ า้ นการจัดการสงิ่ แวดล้อมเข้าไปในแผนบูรณาการของกลุม่ สาระการ เรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ แผนกจิ กรรมลดเวลาเรียนเพมิ่ เวลารู้ สปั ดาห์ละ 2 คาบเรียน และคาบชุมนุม 1 คาบเรียน 2. ความตอ่ เนื่องและยงั่ ยนื ในการดำเนินงานในโครงการและฐานการเรยี นรู้ 3. มีแกนนำนักเรยี นและบุคลากรทเี่ ข้มแข็ง ร่วมกนั ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ให้ลลุ ่วงไปได้ ข้อเสนอแนะ 1. สง่ เสรมิ เครอื ขา่ ยในระดบั ชุมชนและหน่วยงานท่เี กย่ี วข้องใหเ้ ข้มแข็งและตอ่ เนื่องเพอื่ ความย่งั ยนื ตอ่ ไป 2. สง่ เสริมการพฒั นาและต่อยอดนวตั กรรมด้านสง่ิ แวดล้อมอยา่ งต่อเนื่อง 3. เพม่ิ จำนวนแกนนำนกั เรียนให้ไดม้ ากทสี่ ุดจากรนุ่ สู่ร่นุ เพื่อชว่ ยกันปฏบิ ตั ิกจิ กรรมการอนุรกั ษ์ สงิ่ แวดล้อมในโรงเรยี นและขยายไปสู่ชุมชนต่อไปอย่างสม่ำเสมอ การประดิษฐน์ วตั กรรมถังน้ำหมกั รกั ษ์โลกสะดวกใช้

24 9. Best Practice สอดคล้องกบั คณุ ลกั ษณะ 5 ประการของโครงการโรงเรียนสุจริต (เขยี นเฉพาะ คุณลักษณะทีส่ อดคลอ้ ง) คณุ ลักษณะ กิจกรรมที่สอดคล้อง เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ 9.1 ทักษะกระบวนการคดิ 1. การคดั เลือกฐานตา่ ง ๆ ๑. แบบสงั เกต ๒. การวิเคราะห์กิจกรรม ๒. ผลงาน ๓. การออกแบบฐาน ๓. แบบทดสอบ / ๔. การถอดบทเรยี น ๒ : ๓ : ๔ แบบสมั ภาษณ์ 9.2 มวี ินัย 1. มีความรับผิดชอบงานที่ได้รับ ๑. แบบสังเกต มอบหมาย ๒. ผลงาน ๒. การปฏิบัติตามกฎระเบียบของ โรงเรยี น / ข้อตกลงของโครงการ ๓. การตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ มอบหมาย 6.3 ซื่อสัตยส์ ุจริต 1. การปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละฐาน ๑. แบบสังเกต อยา่ งมีคณุ ภาพ ๒. ผลงาน ๒. การช่วยกันดูแลรักษาผลประโยชน์ และทรพั ย์สินตา่ ง ๆ ของแต่ละฐาน ๓. ไม่นำทรัพย์สิน หรือผลประโยชน์ สว่ นรวมมาใช้สว่ นตน 6.4 อยู่อย่างพอเพยี ง 1. การปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละฐาน ๑. แบบสงั เกต อยา่ งมคี ณุ ภาพ ๒. ผลงาน ๒. ใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั ไมฟ่ ุ่มเฟอื ย ๓. การทำบญั ชรี ายรับ-รายจ่าย ๔. การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้รัก สามคั คี ๕. การวางแผนการทำงาน การรู้เท่า ทนั การเปล่ียนแปลง 6.5 จิตสาธารณะ 1. การบำเพ็ญประโยชน์ในโรงเรียน ๑. แบบสังเกต ชมุ ชน หนว่ ยงาน วัด ๒. ผลงาน ๒. กิจกรรมพี่สอนน้องเกี่ยวกับฐาน ๓. แบบทดสอบ / ก า ร เ ร ี ย น ร ู ้ แ ก ่ น ั ก เ ร ี ย น ร ะ ดั บ แบบสัมภาษณ์ ประถมศึกษา ในเขตพ้ืนทีบ่ ริการ

25 10. กิจกรรมทส่ี อดคล้องกับปฏญิ ญาโรงเรยี นสจุ ริต ได้แก่ คณุ ลกั ษณะ กจิ กรรมท่สี อดคล้อง เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ 10.1 การปลูกฝัง การปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละฐานทั้ง ๑๐ ฐานการเรียนรู้ ๑๐ ฐาน ดว้ ยตนเอง อยา่ งมคี ณุ ภาพ 10.2 การปอ้ งกนั การเรียนการสอนตามหลักสูตรต้าน หลักสูตรดา้ นทจุ รติ ทุจริต การเห็นประโยชน์ส่วนรวม มากกวา่ ส่วนตน ระบบการคิดฐานสอง 10.3 การสรา้ งเครือขา่ ย ๑. การอบรมพัฒนาผู้บริหาร ครูและ การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ นักเรียน ให้เกิดคุณลักษณะ 5 ประการ ของโรงเรียนสุจริต ได้แก่ ทักษะ กระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต อยู่อย่างพอเพยี ง และจิตสาธารณะ ๒.การดำเนินการตามแนวทางของ ปฏิญญาโรงเรียนสุจริตทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการป้องกัน ด้านการปลูกฝัง และ ดา้ นการสร้างเครือขา่ ย

26 11.ภาคผนวก (ร่องรอย หลกั ฐาน ภาพถา่ ย ช้ินงาน ฯลฯ ) แผนบูรณาการในวชิ าเรยี นวชิ าวิทยาศาสตร์ ตามโครงการโรงเรียนปลอดขยะ แผนกจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู้ กิจกรรมอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม

27 แผนหลกั สูตรอาชีพระยะสน้ั การทำปุ๋ยหมัก-จุลนิ ทรยี ส์ งั เคราะหแ์ สง บันทึกการตรวจเขตพ้ืนที่รับผิดชอบ

28 กิจกรรมถอดบทเรียนเพ่ือสรา้ งฐานการเรยี นรูใ้ ห้แกโ่ รงเรียนใกลเ้ คียงไดเ้ ขา้ มาศึกษาขอ้ มูลด้านการจดั การ สิ่งแวดลอ้ ม ได้แก่ โรงเรียนอนุบาลตาคลี (ทหารอากาศบำรงุ ) และโรงเรยี นบา้ นหนองสีนวล การเผยแพรป่ ระชาสัมพนั ธ์กิจกรรมถอดบทเรียนด้านการอนรุ ักษ์ธรรมชาติ เยาวชนดี มีความสุจรติ ร่วมเปน็ มติ รรกั ษ์สงิ่ แวดล้อม