Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษีมูลค่าเพิ่ม

ภาษีมูลค่าเพิ่ม

Published by onusa, 2019-02-22 02:26:34

Description: พิกุล ประภามณฑล
ฝ่ายบัญชีการเงิน
GHP

Search

Read the Text Version

บทท่ี 7 การบัญชีภาษมี ูลค่าเพม่ิ ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ภาษมี ูลค่าเพมิ่ (Value Added Tax หรือ VAT) ภาษีมูลค่าเพม่ิ เป็ นภาษกี ารขายทจ่ี ัดเกบ็ จากมูลค่าของสินค้าหรือบริการ เฉพาะส่วนทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ในแต่ละข้นั ตอนการจาหน่ายสินค้าและบริการ เป็ น ภาษที ผ่ี ู้ซื้อ หรือผู้รับบริการคนสุดท้ายเป็ นผู้รับภาระ แต่การจัดเกบ็ จะให้ ผู้ประกอบการในแต่ละข้ันตอนของการจาหน่ายหรือให้บริการเป็ น ผู้เรียก เกบ็ ภาษีจากผู้ซื้อหรือผู้รับบริการแทนรัฐบาล ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ผู้มหี น้าทเี่ สียภาษมี ูลค่าเพมิ่ ผู้ประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือนิตบิ ุคคลใดกต็ าม ถ้าการประกอบกจิ การมรี ายรับเกนิ กว่า 1,200,000 บาท ต่อปี ผู้ประกอบกจิ การจะต้องมหี น้าทจ่ี ดทะเบยี นภาษี มูลค่าเพม่ิ ตามมาตรา 77/2 แห่งประมวลรัษฎากร กาหนดกจิ การทจ่ี ะต้อง เสียภาษีมูลค่าเพมิ่ ไว้ 3 ประเภท คอื 1. การขายสินค้าในราชอาณาจกั รโดยผ้ปู ระกอบการ 2. การให้บริการในราชอาณาจักรโดยผู้ประกอบการ 3. การนาเข้าโดยผู้นาเข้า ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

การคานวณภาษมี ูลค่าเพม่ิ ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษมี ูลค่าเพมิ่ ต้องทาการคานวณภาษี มูลค่าเพมิ่ ทจี่ ะต้องชาระหรือมสี ิทธิได้รับคนื โดยการคานวณจะทาเป็ น รายเดือน ดงั นี้ ภาษมี ูลค่าเพมิ่ = ภาษขี าย - ภาษซี ื้อ ส่วนต่างทเี่ กดิ ขึน้ แสดงผลดังนี้ ภาษีขาย > ภาษีซื้อ = ภาษมี ูลค่าเพมิ่ ทต่ี ้องชาระ ภาษขี าย < ภาษีซื้อ = ภาษที ม่ี สี ิทธิได้รับคนื หรือเครดติ ภาษี ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

เอกสารทใ่ี ช้ประกอบการคานวณภาษมี ูลค่าเพมิ่ ในการคานวณภาษีมูลค่าเพม่ิ จะต้องเป็ นไปตามหลกั ฐานเอกสารทเ่ี กดิ ขึน้ ในระหว่างเดอื นภาษี เอกสารทใี่ ช้ประกอบการคานวณภาษีมูลค่าเพมิ่ คอื ใบกากบั ภาษี (Tax Invoice) คอื เอกสารทผ่ี ู้ประกอบการจดทะเบยี น ในระบบภาษีมูลค่าเพม่ิ จะต้องออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้ใช้บริการ ในการขายสินค้าหรือให้บริการทกุ คร้ัง และต้องจัดทาในทนั ทที ค่ี วามรับผดิ ในการเสียภาษีมูลค่าเพมิ่ เกดิ ขนึ้ ใบกากบั ภาษแี บ่งได้เป็ น 2 ประเภท 1. ใบกากบั ภาษแี บบเตม็ รูป 2. ใบกากบั ภาษีอย่างย่อ ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ใบเพมิ่ หนี้ (Debit Note) เมือ่ ผู้ประกอบการจดทะเบยี นทข่ี ายสินค้าหรือให้บริการและนา ภาษขี ายไปรวมคานวณภาษีมูลค่าเพมิ่ ตามระบบแล้ว แต่ต่อมาต้องคานวณ ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ใหม่ เพราะมเี หตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงอนั เป็ นผลทาให้ภาษี ขายทค่ี านวณไว้ในตอนแรกมีจานวนเพม่ิ ขนึ้ เน่ืองจาก -มกี ารเพมิ่ ราคาสินค้าทข่ี ายหรือเพมิ่ ค่าบริการขนึ้ เนื่องจากสินค้ามจี านวน เกนิ กว่าทต่ี กลงซื้อขายกนั -คานวณราคาสินค้าหรือค่าบริการผดิ พลาดต่ากว่าความเป็ นจริงหรือเหตุอนื่ ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ใบลดหนี้ (Credit Note) เมอ่ื ผู้ประกอบการจดทะเบยี นท่ีขายสินค้าหรือให้บริการและนาภาษีขาย ไปรวมคานวณเพอ่ื เสียภาษมี ูลค่าเพม่ิ ตามระบบแล้ว แต่ต่อมาต้องคานวณภาษี มูลค่าเพม่ิ ใหม่ เพราะมเี หตุการณ์อย่างใดอย่างหน่ึงอนั เป็ นผลทาให้ภาษขี ายท่ี คานวณไว้ในตอนแรกมจี านวนลดลง เน่ืองจาก - มกี ารลดราคาสินค้าทขี่ ายหรือลดค่าบริการลงเนื่องจากสินค้าชารุดเสียหาย ผดิ ข้อตกลงบางอย่าง หรือบริการทใี่ ห้ไปผดิ ข้อกาหนดที่ตกลงกนั - คานวณราคาสินค้าหรือค่าบริการผดิ พลาดสูงกว่าความเป็ นจริง - ได้รับสินค้าทข่ี ายไปแล้วคนื กลบั มาเนื่องจากบกพร่อง หรือเหตุอนื่ - มีการบอกเลกิ สัญญาการซื้อขายสินค้าหรือบริการ ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ภาษขี าย คอื ภาษีมูลค่าเพมิ่ ทผ่ี ู้ประกอบการจดทะเบยี นได้เรียกเกบ็ หรือ พง่ึ เรียกเกบ็ จากผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการ เมอ่ื มกี ารขายสินค้าหรือรับ ค่าบริการ หรือ คอื ภาษีมูลค่าเพม่ิ ทผ่ี ู้ประกอบการจดทะเบยี นมีหน้าที่ เสีย ในการขายสินค้า หรือในกรณีทเ่ี ป็ นการให้บริการ ตัวอย่าง1 บริษทั เอส บี จากดั เป็ นผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ ในเดือนสิงหาคม 2547 ขายสินค้าให้แก่ลูกค้าในราคา 8,000 บาท และได้เรียก เกบ็ ภาษีมูลค่าเพมิ่ 7% ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

การคานวณ ภาษขี าย = 8,000 x 7% = 560 บาท การบนั ทกึ บญั ชี สมุดรายวนั ทว่ั ไป หน้า 1 เดบติ เครดติ พ.ศ. 25x1 รายการ เลขท่ี บญั ชี เดอื น วนั ที่ ส.ค. เงนิ สด 8,560 - ขาย 8,000 - 560 - ภาษีขาย ขายสินค้าเป็ นเงนิ สด ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

ภาษีซื้อ คอื ภาษีมูลค่าเพมิ่ ทผ่ี ู้ประกอบการจดทะเบยี นถูกผู้ประกอบการ จดทะเบียนอน่ื เรียกเกบ็ เน่ืองจากการซื้อหรือรับบริการมาเพ่ือใช้ในการ ประกอบกจิ การของตน เมือ่ ความรับผดิ ในการเสียภาษมี ูลค่าเพม่ิ เกดิ ขึน้ ตวั อย่าง2 บริษทั เอส บี จากดั เป็ นผู้ประกอบการจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพม่ิ ได้ซื้อสินค้ามาเพอื่ ขายในเดอื นสิงหาคม 2547 จานวน 20,000 บาท และได้ ถูกผู้ขายเรียกเกบ็ ภาษมี ูลค่าเพม่ิ 7% ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

การคานวณ ภาษซี ื้อ = 20,000 x 7% = 1,400 บาท การบันทกึ บัญชี พ.ศ. 25x1 สมุดรายวนั ทว่ั ไป เลขที่ หน้า 1 บญั ชี เดบติ เครดติ รายการ เดอื น วนั ท่ี ส.ค. ซื้อ 20,000 - 1,400 - ภาษซี ื้อ เงนิ สด 21,400 - ซื้อสินค้าเป็ นเงนิ สด ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

จากตัวอย่างที่ 1 และ 2 สมมติในระหว่างเดือนสิงหาคมไม่มรี ายการค้าเกดิ ขึน้ ดงั น้ัน สิ้นเดือนสิงหาคมกจิ การจะต้องสรุปโดยจัดทารายงานภาษซี ื้อ และ รายงานภาษขี าย เพอ่ื เกบ็ รวบรวมรายการทีเ่ กย่ี วกบั ภาษีซื้อและภาษีขาย ท้งั หมดทีเ่ กดิ ขึน้ ในระหว่างเดือนสิงหาคม ภาษีมูลค่าเพมิ่ = ภาษีขาย – ภาษีซื้อ = 560 – 1,400 = (840) จากการคานวณภาษีมูลค่าเพมิ่ ในกรณนี ี้ กจิ การมสี ิทธิได้รับคนื ภาษี ในจานวน 840 บาท ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

การยน่ื แบบแสดงรายการและชาระภาษมี ูลค่าเพม่ิ ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพม่ิ มหี น้าทคี่ านวณภาษแี ละ ยน่ื แบบแสดงรายการชาระภาษมี ูลค่าเพมิ่ หรือขอรับคนื ตามแบบ ภ.พ. 30 ภายในวนั ที่ 15 ของเดอื นถัดไป ณ สานักงานสรรพากรเขตในท้องท่ีทีส่ ถาน ประกอบการต้ังอยู่ ระบบภาษมี ูลค่าเพม่ิ ได้กาหนดให้ผ้ปู ระกอบการจดทะเบยี นต้องจัดทา รายงานเกย่ี วกบั การเสียภาษีมูลค่าเพมิ่ ดงั ต่อไปนี้ 1. รายงานภาษีขาย 2. รายงานภาษีซื้อ 3. รายงานสินค้าและวตั ถุดิบ ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

รายงานภาษขี าย รายงานภาษขี าย เป็ นแบบรายงาน เพอ่ื ทาการสรุปภาษี ซ่ึงทาให้ทราบ รายละเอยี ดเกยี่ วกบั มูลค่าสินค้า หรือบริการและจานวนภาษีขายท่ี ผู้ประกอบการได้เรียกเกบ็ จากลูกค้าไว้ท้งั สิ้นในเดอื นภาษีน้ัน ตามหลกั ฐาน ในเอกสารใบกากบั ภาษี รายงานภาษซี ื้อ รายงานภาษซี ื้อ เป็ นแบบรายงาน เพอื่ ทาการสรุปภาษีซื้อ ซ่ึงทาให้ทราบ รายละเอยี ดเกย่ี วกบั มูลค่าสินค้า หรือบริการและจานวนภาษีซื้อท่ี ผู้ประกอบการรายอน่ื ได้เรียกเกบ็ ไปท้งั สิ้นในเดือนภาษีน้ัน ตามหลกั ฐานใน เอกสารใบกากบั ภาษี ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์

รายงานสินค้าและวตั ถุดบิ รายงานสินค้าและวตั ถุดิบ เป็ นแบบรายงานเพอ่ื แสดงปริมาณสินค้าหรือ วตั ถุดบิ ทร่ี ับมาหรือจ่ายไปจริง และปริมาณสินค้าทค่ี งเหลอื ยู่ การจัดทา รายงานต้องมีเอกสารประกอบเป็ นใบสาคญั รับหรือจ่ายสินค้า ซ่ึงควรแยก ออกเป็ นแต่ละประเภท ชนิดและขนาด ผศ.อจั ฉราพร โชตพิ ฤกษ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook