Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอา

แนวทางการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอา

Description: แนวทางการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอา

Search

Read the Text Version

แนวทางการขับเคล่อื นงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของสำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ ค่านยิ มองค์กรในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว มีใจความตอนหนงึ่ ทวี่ า่ “... การจบั ผู้ร้ายน้ัน ไม่ถือเป็นความชอบ แต่เป็นการทำตามหน้าที่ให้ครบถ้วนเท่านั้น ... แต่จะเป็นความชอบก็ต่อเมื่อได้คุ้มครองป้องกัน เหตรุ า้ ยให้ชีวิตและทรพั ยส์ ินของข้าแผน่ ดิน (ประชาชน) ในทอ้ งท่ีนัน้ ให้อยเู่ ยน็ เปน็ สุข ...” ดังนั้น เพื่อเป็นบรรทัดฐานในการปฏิบัติงานในสายงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม สำนักงานตำรวจ แห่งชาติจงึ กำหนดคา่ นยิ มองคก์ ร (Core Values) เป็นกรอบแนวคดิ หลกั ในการปฏิบตั ิหนา้ ที่ ดังน้ี ๑.การบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) การปรากฏตัวของเจ้าหน้าท่ีตำรวจย่อมมีผลในการยับยั้งผู้ที่มีแนวโน้มจะก่ออาชญากรรม อันมาจากความ เกรงกลัวในการถูกจับกุม ดังนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจต้องแต่งเครื่องแบบและรถสายตรวจควรมีลักษณะเด่นชัด มองเห็นได้ง่าย เพื่อเป็นการข่มขวัญยับยั้งอาชญากร และจะทำให้ประชาชนเกิดความรู้สึกอบอุ่น มีความเชื่อมั่น ในความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพย์สนิ ของตนเอง ดว้ ยปรากฏว่ามตี ำรวจอยู่ทั่วไปทกุ แห่งหน นอกจากการปรากฏกายของเจ้าหน้าท่ตี ำรวจสายตรวจแลว้ การบงั คับใช้กฎหมายกบั ประชาชนจะต้องเป็นไป ด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว เสมอภาค และเป็นธรรม ไม่เลือกปฏิบัติ ทั้งเพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา และสถานภาพ ทางสงั คม ๒.มุง่ ใหค้ วามสำคญั กบั การป้องกันเพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ เหตุ (Prevention) จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ดังกล่าวข้างต้น สำนักงานตำรวจ แห่งชาติจึงได้น้อมนำมาเป็นค่านิยมองค์กร ที่มุ่งให้ความสำคัญกับการป้องกันอาชญากรรม ไม่เกิดเหตุ ไม่เกิดความ สูญเสีย ย่อมเป็นภาระหน้าที่อันดับแรก ซึ่งนอกจากการปรับปรุงระบบงานสายตรวจให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นแล้ว ขา้ ราชการตำรวจทุกพน้ื ท่ี ทุกตำแหน่ง ทกุ หน้าที่ ต้องให้ความสำคัญ และร่วมแรง ร่วมใจทำหน้าท่ปี ้องกนั อาชญากรรม โดยให้ทกุ สน./สภ. บก.น./ภ.จว. และ บช.น./ภ.๑-๙ เพิ่มประสิทธภิ าพในการป้องกันอาชญากรรม ท้ังการบรู ณาการ กำลังจากทุกฝ่าย การแสวงหาความร่วมมือจากภาคประชาชน เอกชน หน่วยงานราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น และนำเทคโนโลยีมาสนับสนุนในการปฏิบัติงาน โดยดำเนินการเชิงรุก อย่างจริงจัง สม่ำเสมอ และตอ่ เน่ือง ๓.ตำรวจคอื ประชาชนและประชาชนคอื ตำรวจ (People is the first Police) ปฏิบัติหน้าที่โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง แสวงหาความร่วมมือจากประชาชน โดยมีจุดมุ่งหมายให้ ประชาชน และชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เพราะลำพังกำลังพลตำรวจ เม่ือ เทียบกับจำนวนประชากร เป็นสัดส่วนที่เป็นข้อจำกัดประการหนึง่ ในการปฏิบัติหน้าท่ี ดังนั้น ตำรวจจะต้องเข้าไปเปน็ หุ้นส่วนกับประชาชน เกาะติดพื้นที่อย่างทั่วถึง และนำชุมชนหรือหน่วยงานอื่น ร่วมกันแก้ไขต้นเหตุแห่งอาชญากรรม หรอื ความไม่เป็นระเบยี บในชมุ ชน /๔.พรอ้ มปฏิบตั ิ…

2 ๔.พรอ้ มปฏิบตั หิ นา้ ทอ่ี ยู่เสมอ (Readiness) ในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม การปฏิบัติหน้าที่ย่อมมีผลกระทบโดยตรงต่อสวัสดิภาพของพี่น้อง ประชาชน ดงั นนั้ ข้าราชการตำรวจต้องมีความพร้อมในการปฏบิ ตั ิหน้าทอ่ี ยู่เสมอ ทง้ั ความพรอ้ มทางดา้ นร่างกาย จติ ใจ อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ เครอื่ งไมเ้ ครื่องมือตา่ งๆ ยุทธวธิ ีตำรวจ และมีความเขา้ ใจอย่างถ่องแท้ในกฎหมายท่ตี ้องปฏิบัติ และ ที่ขาดไม่ได้คือระดับการใช้กำลัง ซึ่งความพร้อมจะเกิดข้ึนไม่ได้ หากขาดการตรวจสอบ ฝึกฝน ทบทวน และศึกษา จึงเป็นหน้าที่ของผู้บังคับบัญชาทุกระดับช้ันต้องให้ความสำคัญ กำหนดวงรอบการปฏิบัติในส่วนที่เก่ียวข้องเหล่าน้ี เป็นประจำ และตอ่ เนอื่ ง เพอื่ ใหเ้ กิดขอ้ ผิดพลาด หรือเกดิ ความสูญเสียนอ้ ยทสี่ ดุ ๕.คำนึงถึงภาพลกั ษณส์ ำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ (Image) การปฏิบัติหน้าที่ในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องสัมผัสใกล้ชิดกับ ประชาชน ชุมชน และสังคม ดังนั้นข้าราชการตำรวจในสายงานนี้ จะต้องตระหนักเสมอว่า ตัวเรานั้นคือตัวแทนของ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ การปฏิบัติหนา้ ทีจ่ ึงตอ้ งเป็นไปด้วยความกระตือรอื รน้ กิริยา วาจา สภุ าพ มมี นษุ ยสมั พนั ธ์ท่ีดี กับประชาชน มีความอ่อนน้อมถ่อมตน บริการประชาชนดุจญาติมิตร มีความเห็นอกเห็นใจ และรู้จักเอาใจเขามาใส่ใจ เรา คำนึงถงึ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี หลักคำสอนทางศาสนา สถานการณ์และสภาพแวดล้อมของแต่ ละพ้ืนท่ี ไมค่ บหากับผ้มู ีอทิ ธพิ ล หรอื ผทู้ ีม่ พี ฤติการณเ์ กี่ยวข้องกบั การกระทำความผดิ และยิ่งตอ้ งชว่ ยปราบปรามกำจัด ให้หมดส้ินไป เพ่ือร่วมกันสร้างภาพลักษณอ์ นั ดีและความเช่ือมน่ั ของพีน่ ้องประชาชนท่ีมตี ่อสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๖.ให้ความสำคญั กับผเู้ สยี หาย โดยเฉพาะผูท้ ีอ่ อ่ นแอ ดอ้ ยโอกาส และนกั ท่องเทยี่ ว (Injured Person) ตระหนักเสมอว่าผู้เสียหายคือเหยื่อที่ได้รับผลกระทบจากการก่ออาชญากรรม และตำรวจเป็นผู้มีหน้าท่ี โดยตรงในการชว่ ยเหลอื แก้ไข และบรรเทาผลร้ายนัน้ โดยการปฏิบัตหิ น้าที่จะต้องไม่มีส่วนหนึ่งส่วนใดมีการกระทำท่ี เป็นการซ้ำเติมผู้เสียหาย และควรให้ความช่วยเหลือกับเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ หรือนักท่องเที่ยว เป็นกรณีพิเศษ เนื่องจากส่งผลกระทบต่อความรู้สึก และความเชื่อมั่นของประชาชนในสังคม มักเป็นที่สนใจของประชาชนและ ส่ือมวลชนเสมอๆ องคป์ ระกอบสำคัญในงานป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม สำหรับการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตใิ ห้ความสำคัญกบั องคป์ ระกอบ ๕ ดา้ น ไดแ้ ก่ ๑.ระบบฐานข้อมูลและหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสายตรวจ ๒.สายตรวจและระบบปฏิบัติการสายตรวจ ๓.ตำรวจชุมชนสมั พันธ์ ๔.การควบคมุ อาชญากรรมจากสภาพแวดลอ้ ม ๕.การปราบปรามอาชญากรรมสำคญั ตามนโยบายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัย ในชวี ติ และทรพั ย์สนิ ของประชาชน ซึ่งในการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมที่ผ่านมาของสำนักงานตำรวจแห่งชาตินั้น จะตรวจสอบ ผ่านการรายงานตามแบบรายงานที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (โดยสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ) กำหนดข้ึนและ /จะมีการประเมินผล…

3 จะมีการประเมินผลผ่านการตรวจของจเรตำรวจ โดยทุกขั้นตอนจะเป็นการดำเนินการในรูปของเอกสาร แต่สำหรับ การขบั เคลื่อนงานปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม ในปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ - ๒๕๖๕ นี้ สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ ไดน้ ำเทคโนโลยี ซ่ึงเปน็ ระบบปฏิบตั ิการทช่ี ื่อวา่ Police 4.0 เขา้ มาควบคุมการปฏิบัติในทุกงานและทุกขั้นตอนในงาน ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ตั้งแต่การกำหนดจุดตรวจบังคับ ในรูปแบบของ QR Code แทนการใช้สมุดจุดตรวจตู้แดง ในรปู แบบเดมิ ไปจนถงึ การรายงานผล การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และสถิตติ า่ งๆ ซึ่งจะเปน็ ประโยชน์ สามารถสืบค้นข้อมูล ย้อนหลัง วิเคราะห์ข้อมูลจากสถิติที่แม่นยำ ครบถ้วน ถูกต้อง รวมทั้งสามารถรายงานผลการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้เป็นรายบุคคล อันเป็นประโยชน์ที่จะส่งผลต่อประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยรวมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติต่อไป โดยรายละเอียดทสี่ ำคัญ จะได้อธบิ ายดังต่อไปนี้ ๑.ระบบฐานข้อมลู และห้องปฏิบตั กิ ารสายตรวจ หอ้ งปฏบิ ตั ิการสายตรวจ ถอื เปน็ องค์ประกอบสำคัญองค์ประกอบหน่ึงในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม โดยจะประกอบด้วยแผนผังแสดงสถิติข้อมูลต่างๆ ระบบปฏิบัติการ ระบบฐานข้อมูล ระบบการติดต่อสื่อสาร ระบบ กล้องโทรทัศน์วงจรปิด รวมทั้งแฟ้มรายงานผลการปฏิบัติในทุกๆ ด้าน นอกจากจะต้องประกอบด้วยวัสดุ ครุภัณฑ์ต่างๆ ประกอบเข้าด้วยกนั แล้ว องค์ประกอบสำคญั อีกองคป์ ระกอบหน่งึ คือ เจ้าหน้าทตี่ ำรวจท่ีทำหน้าทีธ่ ุรการ ที่จะคอยดูแล องคาพยพเหลา่ นใ้ี หเ้ ป็นระบบ ครบถว้ น สมบรู ณ์เรียบร้อย โดยหวั หน้าสถานีตำรวจและหัวหน้างานป้องกันปราบปราม จะต้องคัดเลือกกำลังพลที่มีประสิทธิภาพ มีความรู้ความสามารถ เข้าใจในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม เป็นอย่างดี มีความรอบรูเ้ ทคโนโลยี เหมาะสมกับงาน มารับผิดชอบงานด้านธรุ การนี้โดยตรง เพ่อื ใหส้ ามารถขับเคล่ือน งานปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรมได้มีประสิทธิภาพ เปน็ ไปตามวัตถุประสงค์ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และควร ดูแลบำรุงขวญั ใหค้ วามสำคัญ ถงึ สิทธิประโยชน์ตา่ งๆ ให้ครบถว้ น และจะต้องมอบหมายให้ สวป. และ/หรือ รอง สวป. เขา้ มาเปน็ หวั หน้า และ/หรอื รองหวั หนา้ เพอื่ รบั ผิดชอบโดยตรง อีกทั้งต้องให้ความสำคัญกับระบบฐานข้อมูลที่ใช้ในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ทั้งในระบบ CRIME และระบบ POLICE 4.0 ทจ่ี ะตอ้ งคำนงึ ถงึ ต้ังแต่การป้อนข้อมูลนำเขา้ ทจี่ ะตอ้ งมคี วามถูกต้อง แม่นยำ และเมื่อมีระบบ ฐานข้อมูลแล้ว ความสำคัญอีกประการหนึ่งคือการนำชุดข้อมูลดังกล่าวนั้นไปใช้ ต้องรู้จักการสืบค้น เพื่อใช้ประโยชน์ จากข้อมลู ในงานให้มากท่สี ดุ โดยจะตอ้ งให้ความสำคัญในการอบรมใหค้ วามรูก้ บั เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้เกยี่ วข้อง ระบบฐานขอ้ มลู และหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารสายตรวจจะประกอบด้วยองคป์ ระกอบสำคัญ ดงั นี้ ๑.๑ องค์ประกอบบังคบั ๑.๑.๑ แผนผังแสดงสถติ ิเปรียบเทียบคดีอาญา ๔ กลมุ่ (เปรยี บเทยี บปงี บประมาณท่ีผ่านมา กบั ปงี บประมาณปัจจุบัน) ๑.๑.๒ นาฬกิ าอาชญากรรม ให้จัดทำนาฬิกาอาชญากรรมข้ึน ๒ เรือน (เดือนปัจจุบนั กับเดือนที่ผ่านมา) โดยทำประกอบ กับแผนที่อาชญากรรม/แบ่งเขตตรวจ เพื่อจะได้ทราบถึงสถานภาพอาชญากรรมที่เกิดขึ้น ตามความเป็นจริง ซึ่งจะได้นำไป พิจารณาแนวโน้มการเกิดอาชญากรรม และวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรม สำหรับการวางแผนการตรวจต่อไป โดยใหจ้ ดั ทำดังนี้ ๑) กำหนดวงแหวนตามจำนวนของเขตตรวจ ให้เขตท่ีมสี ถิติการเกิดคดีมากอยู่วงนอก เพื่อจะไดม้ พี ้ืนท่มี ากพอ แตล่ ะวงใช้สีตา่ งกนั โดยให้ตรงกันกับสีของเขตตรวจ /กำหนดใหซ้ ีก…

4 ๒) กำหนดให้ซีกครึ่งวงกลมด้านซ้ายเป็นช่วงเวลากลางคืน ใช้สีเข้ม และครึ่ง วงกลมดา้ นขวาแทนชว่ งเวลากลางวัน ใช้สอี อ่ น ๓) ใชห้ มุดสีแทนประเภทและจำนวนคดที ่เี กิดข้ึน ๑ หมุด ตอ่ ๑ คดี เช่น - คดฆี ่า ใชห้ มดุ สแี ดง - คดีทำร้ายร่างกาย ใช้หมุดสเี หลอื ง - คดีปลน้ ทรัพย์ ใชห้ มดุ สีนำ้ เงิน - คดีชิงทรัพย์ ใช้หมุดสเี หลืองแก่ - คดวี ิ่งราวทรพั ย์ ใชห้ มดุ สเี ขียวแก่ - คดลี ักทรัพยร์ ถยนต์ ใชห้ มุดสีดำ - คดลี ักทรัพร์ ถจกั รยานยนต์ ใชห้ มุดสีเทา - คดีลกั ทรพั ยอ์ ืน่ ๆ ใชห้ มุดสนี ำ้ ตาล หรืออาจจะกำหนดเพิ่มเติมตามสถานภาพอาชญากรรมที่แตกต่างกันไปได้อีก เชน่ ลักทรัพย์ในเคหสถาน หรือชิงทรัพย์รถแทก็ ซี่ เป็นต้น ๔) ให้ปักหมุดลงในนาฬิกาอาชญากรรมและแผนที่อาชญากรรม/แบ่งเขตตรวจ เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนประเภทคดี สถานที่ และเวลาเกิดเหตุ จำนวน ๑ หมุด ต่อ ๑ คดี เพื่อนำมาเป็นข้อมูลประกอบการวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรม และปรบั แผนการตรวจต่อไป ๕) หากคดีไหนจับกุมผู้ต้องหาได้แล้วให้ใช้สีขาวแต้มหรือทำสัญลักษณ์ที่หมุด อนั นน้ั เพอ่ื แสดงว่าจบั กุมไดแ้ ลว้ ๖) เมื่อปกั หมุดครบ ๑ เดอื น ในนาฬกิ าอาชญากรรมเรือนแรกแลว้ ให้เริ่มปักหมุด เดือนที่ ๒ ในนาฬิกาอาชญากรรมเรือนที่ ๒ จนครบเดือน แล้วจึงปลดหมุด ข้อมูลอาชญากรรมของเดือนแรกออก เพื่อปักหมุดของเดือนที่ ๓ โดยให้จัดทำ สลบั กนั เชน่ นเ้ี ร่ือยไป โดยลกั ษณะของหมดุ แตล่ ะเดือนควรแตกต่างกัน ๗) นาฬิกาอาชญากรรมที่จัดแสดงในห้องปฏิบัติการสายตรวจต้องจัดทำให้เป็น ปัจจุบันอยู่เสมอ และมีข้อมูลถูกต้องตรงกันกับนาฬิกาอาชญากรรมในระบบ Police 4.0 ๑.๑.๓ แผนที่แสดงการแบ่งเขตตรวจ ๑.๑.๔ ระบบฐานข้อมูลท้องถ่ิน จะต้องดำเนินการสำรวจข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน ได้แก่ ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับ อาชญากรรม บุคคลที่เกี่ยวข้องกับอาชญากรรม สถานที่ที่เก่ียวข้องกบั อาชญากรรม ฯลฯ และกรอกข้อมูลใหค้ รบถว้ น ผ่านระบบ CRIME ๑.๑.๕ รายงานการวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรม (ทุกสัปดาห์) ตามแบบที่กำหนดไว้ใน ระบบ Police 4.0 ๑.๑.๖ รายงานผลการปฏิบัติของสายตรวจ (ทุกวัน) ตามแบบทก่ี ำหนดไวใ้ นระบบ Police 4.0 /๑.๑.๗ รายงานผลการ…

5 ๑.๑.๗ รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการเชิงรุกท่ีสำคัญท่ีสนับสนุนระบบงานสายตรวจ ในการป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม (แยกตามมาตรการ) ตามแบบท่ีกำหนดไว้ในระบบ Police 4.0 ๑.๑.๘ รายงานข้อมลู อาชญากรรม (ทุกวัน) ตามแบบทก่ี ำหนดไวใ้ นระบบ Police 4.0 ๑.๑.๙ รายงานแผนผังกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV Map) พร้อมคำสั่งมอบหมายหน้าที่ ความรับผิดชอบแบ่งเขตพื้นที่ให้เจ้าหน้าตำรวจฝ่ายป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ออกตรวจสอบพร้อมปรับปรุง ข้อมูลให้เป็นปจั จบุ นั ทุกๆ ๒ เดอื น โดยรายงานผ่านระบบ Police 4.0 ๑.๑.๑๐ แผนผังแสดงจดุ ตรวจบังคบั และจดุ ตรวจอื่น โดยแยกประเภทให้ชดั เจน ๑.๑.๑๑ สรุปสถิตพิ ร้อมข้อมูลรายละเอียดคดีแต่ละประเภท (รายเดือน) ตามแบบที่กำหนด ในระบบ Police 4.0 ๑.๑.๑๒ ศนู ยว์ ิทยุ สน./สภ. ท่ีประกอบด้วยอุปกรณส์ ำคัญดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) วิทยุที่สามารถใช้สื่อสารกับศูนย์วิทยุ บก.น./ภ.จว. และลูกข่ายได้ครอบคลุม ท้ังพ้นื ที่ ๒) วทิ ยสุ ำรอง ๓) แผนผังการติดตอ่ สอ่ื สาร ๔) โทรศัพทป์ กติ ๕) โทรศพั ท์มอื ถอื ๖) ระบบคอมพิวเตอร์ที่รองรับระบบ Police 4.0 CRIME และ ระบบรับแจ้งเหตุ ฉกุ เฉนิ Police I Lert U ๗) บนั ทึกการแจง้ วิทยุของเจา้ หนา้ ที่ตำรวจทกุ สายงาน ๑.๑.๑๓ รวบรวมกฎหมาย ระเบียบ คำส่งั (ตร.) คมู่ ือ และแนวทางการปฏิบตั ิที่เก่ียวข้องกับ งานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมไว้อย่างครบถ้วนเป็นระบบ ง่ายต่อการค้นหา มีข้อมูลเป็นปัจจุบันแยกเป็นรายปี (อยา่ งน้อย ๓ ป)ี ๑.๒ องค์ประกอบแนะนำเพื่อพัฒนาไปสู่ศูนย์ปฏิบัติการและควบคุมสั่งการการป้องกันปราบปราม อาชญากรรมของสถานตี ำรวจ (Command and Control Operations Center : CCOC) ๑.๒.๑ หน้าจอโทรทัศน์แสดงการเชื่อมโยงระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) ในพื้นที่ มาตรวจสอบ ณ CCOC โดยมีการจัดเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ทำหน้าที่ตรวจสอบภาพและประสานการปฏิบัติ กับเจ้าหน้าท่ีตำรวจสายตรวจ หรือเจ้าหนา้ ที่ตำรวจฝา่ ยอ่ืนท่ปี ฏิบัติหนา้ ทอี่ ยใู่ นพืน้ ที่ตลอดเวลา ๑.๒.๒ หนา้ จอแสดงพกิ ัด (Location) ของเจ้าหนา้ ทีต่ ำรวจสายตรวจ หรอื เจา้ หน้าที่ฝ่ายอื่น ทปี่ ฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี โดยเช่อื มโยงจากระบบ Police 4.0 เพ่อื ประโยชน์ในการสื่อสาร และควบคุมส่ังการได้อย่าง มปี ระสิทธิภาพ ๑.๒.๓ การปรับปรงุ ห้องปฏิบัตกิ ารสายตรวจให้เป็นรปู แบบของ CCOC ที่เจ้าหน้าทพี่ นักงานวิทยุ เจา้ หนา้ ทีต่ ำรวจสายตรวจกลอ้ งวงจรปิด หรอื ผู้บงั คับบญั ชา สามารถสือ่ สาร สั่งการ และควบคุมการปฏบิ ัติไปพร้อมกับ หนา้ จอ แผนที่ หรอื แผนผัง ทแ่ี สดงข้อมลู ตา่ งๆ ที่เป็นประโยชน์ในการควบคุม สั่งการ /๒.สายตรวจและ…

6 ๒.สายตรวจและระบบปฏบิ ตั กิ ารสายตรวจ ๒.๑ อำนาจหนา้ ท่ีของหวั หนา้ งานปอ้ งกันปราบปราม เป็นหัวหน้าผู้ปฏิบัติงานป้องกันปราบปราม รับผิดชอบเกี่ยวกับการวางแผน อำนวยการ สั่งการ ควบคุม กำกับ ดูแล ตรวจสอบ ติดตาม และประเมินผล ตลอดจนปฏิบัติงานในด้านงานป้องกันและปราบปราม อาชญากรรม เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา และตามพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญา งานคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบรหิ ารงานตำรวจ งานชุมชนและมวลชนสมั พันธใ์ นรูปแบบต่างๆ รวมทั้ง งานที่มีลกั ษณะเกย่ี วข้องหรือเปน็ สว่ นประกอบของงานนใี้ นเขตพนื้ ท่ขี องสถานตี ำรวจ เพือ่ ปอ้ งกนั มใิ หเ้ กดิ อาชญากรรม ข้นึ โดยจำแนกออกเป็นงานต่างๆ ดงั นี้ ๒.๑.๑ งานถวายความปลอดภัยแดอ่ งคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ พระราชินี พระบรมวงศานวุ งศ์ ๒.๑.๒ งานจัดทำแผนที่ ระบบข้อมลู อาชญากรรม รวมทงั้ การจัดระบบข้อมูลเปา้ หมายที่อาจ เกดิ อาชญากรรม และระบบขอ้ มูลทางสงั คมที่เปน็ ประโยชนต์ ่อการป้องกัน ระงบั ปราบปรามอาชญากรรม ๒.๑.๓ งานควบคมุ ผู้ตอ้ งหาและผถู้ ูกกกั ขงั ๒.๑.๔ งานควบคมุ ศนู ยว์ ิทยหุ รอื การรบั -ส่งวิทยุของสถานตี ำรวจ ๒.๑.๕ งานจัดตง้ั จุดรบั แจ้งเหตุ จดุ ตรวจ จุดสกัด และกำหนดมาตรการต่างๆ ในการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม ๒.๑.๖ งานสายตรวจและจดั ระบบปฏิบตั กิ ารสายตรวจ ๒.๑.๗ งานควบคมุ แหล่งอบายมุขและจดั ระเบยี บสังคม ๒.๑.๘ งานปราบปรามการกระทำความผดิ ตามประมวลกฎหมายอาญา และพระราชบัญญัติ ทมี่ ีโทษทางอาญา ๒.๑.๙ งานปราบปรามผู้มอี ิทธิพลและมือปืนรบั จ้าง ๒.๑.๑๐ งานพิทกั ษเ์ ด็ก เยาวชน และสตรี ๒.๑.๑๑ งานตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ๒.๑.๑๒ งานคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตำรวจ (กต.ตร.) ระดับ สถานตี ำรวจ ๒.๑.๑๓ งานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ เพื่อแสวงหาความร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐ เอกชน ประชาชน ตลอดจนการสร้างเครือข่ายการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในชุมชนและทุกภาคส่วนของสังคมในเขตพื้นที่ ของสถานีตำรวจ ๒.๑.๑๔ งานฝึกอบรมขา้ ราชการตำรวจ เจ้าหน้าท่ีรัฐ อาสาสมัคร และเครือข่ายภาคเอกชน หรอื ประชาชนอื่น ทีเ่ กี่ยวข้องกับงานปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมและสนบั สนนุ กิจการของตำรวจ ๒.๑.๑๕ งานพัฒนากำลังพล งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เทคโนโลยี เพื่อใช้ในการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม ๒.๑.๑๖ งานตรวจสอบ ประเมินผล และพัฒนาการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ นโยบาย แผนงาน และโครงการตา่ งๆ ในการปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรม ๒.๑.๑๗ งานการขา่ ว ๒.๑.๑๘ งานควบคมุ ความสงบเรยี บร้อยกรณมี ีเหตุพิเศษตา่ งๆ ในพ้นื ที่

7 ๒.๑.๑๙ งานควบคุม ตรวจสอบ ให้คำปรึกษา แนะนำ และปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงาน ความประพฤติ และระเบยี บวินัยของขา้ ราชการตำรวจ ๒.๑.๒๐ งานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม หรือตามที่ ผู้บงั คับบัญชามอบหมาย ๒.๒ อำนาจหน้าที่ของสารวัตรป้องกันปราบปราม (กรณีมีรองผู้กำกับการป้องกันปราบปรามเป็น หวั หน้างานป้องกนั ปราบปราม) ๒.๒.๑ งานตามท่ีหวั หน้างานป้องกันปราบปรามมอบหมาย ๒.๒.๒ เป็นผู้ช่วยหัวหน้างานป้องกันปราบปรามในงานตามข้อ ๒.๑.๑ - ๒.๑.๒๐ ที่กำหนด ไวใ้ นอำนาจหนา้ ทขี่ องหวั หนา้ งานปอ้ งกนั ปราบปราม ๒.๓ แนวทางการมอบหมายหนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบให้ สวป. สำหรับ สน./สภ. ที่มี สวป. มากกว่า ๑ นาย ให้ รอง ผกก.ป. จัด สวป. ทำหน้าที่เวรอำนวยการงาน ป.สน./สภ. วนั ละ ๑ นาย ผลดั เปลี่ยนหมุนเวียนกันไป โดยให้มอี ำนาจหน้าท่ีในการอำนวยการ ควบคมุ ส่งั การ การปฏิบัติ ในงานป้องกันปราบปรามทุกหน้างานในรอบวัน และต้องมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในองค์ประกอบสำคัญ ในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมทั้ง ๕ ด้าน ให้ สวป.แต่ละนายรับผิดชอบเป็นหัวหน้างานในแต่ละด้านโดยตรง เพื่อให้การขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของสถานีตำรวจประสบความสำเร็จตามวั ตถุประสงค์ของ สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ ๒.๔ คุณลกั ษณะทีด่ ขี องเจ้าหน้าทตี่ ำรวจสายตรวจ ๒.๔.๑ มีช่วงอายุที่เหมาะสมต่อการทำงาน คือช่วงอายุ ๑๘ - ๔๕ ปี ถือเป็นช่วงที่เป็นคน หนุ่มสาวทมี่ คี วามแข็งแรง คลอ่ งแคลว่ มีความมุง่ มน่ั และแรงขับในการทำงานมากกวา่ คนสูงอายุ ๒.๔.๒ มีสภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสภาพจิตใจที่เข้มแข็ง สมบูรณ์พร้อมทั้งกายและใจ เนื่องจากต้องเผชิญกับภารกิจที่มีความยากลำบาก ใช้เวลาในการปฏิบัติภารกิจในพื้นที่เป็นเวลานาน มีหน้าที่หรือ ภารกิจหลากหลาย ทัง้ ตรวจจุดตรวจ จุดเสีย่ ง การระงับเหตุ การพบปะประชาชน และตอ้ งมคี วามอดทนอดกลัน้ สูงกว่า คนท่ัวไป ๒.๔.๓ มีความรู้ความชำนาญในตัวบทกฎหมายและยุทธวิธีตำรวจ เพราะภารกิจการตรวจ ตรา ตรวจค้น การปิดล้อม จับกุม บุคคล ยานพาหนะ หรือสถานที่ ล้วนต้องมีความรู้ทั้งสองสว่ นดงั กล่าวข้างต้นอย่าง ถ่องแท้ มิเชน่ นัน้ อาจจะเกดิ ความสูญเสยี ทงั้ ตอ่ ตนเอง เพื่อนรว่ มงาน หรือประชาชนได้ ๒.๔.๔ มกี ริ ยิ าวาจาท่สี ภุ าพ ออ่ นน้อม มมี นษุ ยสมั พันธ์ดี และมที ักษะในการส่ือสารทำความ เขา้ ใจกับประชาชนไดเ้ ปน็ อยา่ งดี ๒.๔.๕ มีระเบียบวินัยสูงและยึดอุดมคติตำรวจเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน เพราะการ ทำงานของสายตรวจจะมีการใช้คำบอก คำออกคำสัง่ ขอ้ ส่งั การ และการดำรงการติดต่อส่ือสารตลอดเวลา ซ่ึงผู้ปฏิบัติ ต้องมคี วามพร้อมในการรับคำส่ัง ตรงต่อเวลา นำคำส่งั ไปปฏบิ ัติ และรายงานผลการปฏบิ ัติให้ครบถว้ น ๒.๔.๖ มคี ุณธรรมและจริยธรรม ทำงานอย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ เพราะเจ้าหนา้ ท่ตี ำรวจสายตรวจ เป็นผ้ทู ต่ี ้องเข้าไปอยตู่ รงกลางระหวา่ งข้อพิพาทของประชาชน หรือเปน็ ผู้แทนของรัฐในการบังคับใช้กฎหมายกบั ประชาชน /๒.๔.๗ มีทักษะในการ…

8 ๒.๔.๗ มีทักษะในการทำงานเป็นทีมและสามารถสร้างมิตรภาพทำงานร่วมกับประชาชน ได้เป็นอย่างดี เพราะเร่ิมต้นการปฏิบัติหน้าท่ีเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจต้องมีคู่ตรวจ ไม่โดดเดี่ยวในการตรวจ มีชุดปฏิบัติการ ทำงานกันเป็นทีม และต้องสามารถสร้างมิตรภาพ ความศรัทธาให้กับประชาชน เพื่อดึงประชาชน เข้ามามีสว่ นรว่ มในการปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม ๒.๔.๘ มีความเอาใจใส่ฝึกฝน ซักซ้อม ทบทวน และแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยูเ่ สมอ ทั้งการ ใชอ้ าวุธ ยทุ โธปกรณ์ เคร่ืองมอื ตา่ งๆ ในการปฏิบัติหน้าที่ ยทุ ธวธิ ีตำรวจ แผนเผชิญเหตุ รวมทงั้ ตวั บทกฎหมาย ระเบียบ ขอ้ บังคับ ทมี่ ีการแก้ไขเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา เพอ่ื ใหเ้ กิดความพรอ้ มและมปี ระสิทธภิ าพในการปฏบิ ัติ ๒.๔.๙ มีความสามารถในการถ่ายทอดองค์ความรู้ในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ใหก้ บั เพอ่ื นตำรวจหรือประชาชนได้เปน็ อยา่ งดี (เป็นครูท่ีด)ี ๒.๔.๑๐ มีความรู้เท่าทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อนำหรือใช้เทคโนโลยีมาช่วยสนับสนุนการ ปฏิบัติงานปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรมให้มีประสทิ ธิภาพสงู สดุ ๒.๕ ประเภทของสายตรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติกำหนดประเภทสายตรวจ พร้อมทั้งคุณลักษณะของสายตรวจแต่ละประเภท เพื่อให้แต่สถานีตำรวจ กองบังคับการ หรือตำรวจภูธรจังหวัด สามารถบริหารจัดการสายตรวจได้อย่างเหมาะสม กับสภาพการณ์ของแต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน ซี่งเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจทุกประเภทจะต้องแต่งเคร่ืองแบบ ในการปฏิบัตหิ นา้ ทตี่ ามทส่ี ำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตกิ ำหนด โดยมสี ายตรวจประเภทตา่ งๆ ดังนี้ ๒.๕.๑ สายตรวจรถยนต์ สายตรวจรถยนต์เป็นสายตรวจที่มีความสำคัญมาก สามารถตรวจตราพื้นที่ได้กว้างไกล กว่าสายตรวจประเภทอื่น โดยไม่มีข้อจำกัดเกี่ยวกับสภาพดินฟ้าอากาศ ทั้งยังสามารถติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ สนับสนุนภารกิจของสายตรวจได้ครบถว้ นเป็นอย่างดี สามารถใชใ้ นการก้าวสกัดจับคนร้ายได้อย่างมีประสิทธิภาพและ มีความปลอดภัยสงู โดยมีคณุ ลักษณะทส่ี ำคญั ดังน้ี ๑) กรณีมีรถยนต์ จำนวน ๑ คัน ต้องกำหนดให้เป็นพาหนะของหัวหน้าสายตรวจ และประกอบด้วยพลขับ จำนวน ๑ นาย เป็นคู่ตรวจ หากมีกำลังพลเพียงพอ ควรจดั เป็นพลประจำรถอกี ๑ นาย ๒) มสี ัญญาณไฟวับวาบบนหลงั คารถยนต์ และมเี คร่อื งกระจายเสียงประจำรถยนต์ ๓) มีวิทยุสื่อสารที่มีประสทิ ธิภาพในการรับ-ส่ง สามารถติดต่อสื่อสารกับศูนย์วิทยุ ได้ตลอดเวลา ๔) มีกล้องติดหน้ารถ เพื่อบันทึกเหตุการณ์ตา่ งๆ ในการปฏบิ ัติหน้าทตี่ ลอดเวลา ๕) มีอุปกรณ์ที่จำเป็นสำหรับการรักษาสถานที่เกิดเหต การให้บริการประชาชน และการระงับเหตุไว้พร้อมสรรพ ได้แก่ ถังดับเพลิง เคร่ืองเปล่งเสียง เชือกกั้น ท่ีเกิดเหตุ (Police Line) สีสเปรย์ ถงุ ทราย อุปกรณ์จบั สัตวเ์ ลื้อยคลาน ยางรถยนต์ ไม่งา่ ม ขอเกีย่ ว โลแ่ ละกระบอง เปน็ ต้น /๒.๕.๒ สายตรวจรถ…

9 ๒.๕.๒ สายตรวจรถจักรยานยนต์ สายตรวจรถจักรยานยนต์ เป็นสายตรวจที่มีประสิทธิภาพสูงสุดในการป้องกันปราบปราม อาชญากรรม ในเขตเมืองและชุมชน เพราะสามารถไประงับเหตุตามตรอกซอกซอย และไปในพื้นที่แคบๆ ได้อย่าง คลอ่ งตัวและรวดเร็ว โดยมคี ณุ ลกั ษณะทส่ี ำคัญ ดังน้ี ๑) สายตรวจรถจักรยานยนต์ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ จำนวน ๒ นาย เป็นคู่ตรวจด้วยกันเสมอ ๒) มีสัญญาณไฟวบั วาบ ๓) มกี ำบงั ลมที่มีข้อความ “สายตรวจ สน./สภ. ... พร้อมรหสั ประจำเขตตรวจ” ๒.๕.๓ สายตรวจจักรยาน สายตรวจจักรยานเหมาะสำหรับพื้นที่ท่ีไม่เอ้ืออำนวยต่อการใชร้ ถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ตรวจ แต่มพี ื้นท่มี ากกวา่ ที่จะใช้การเดนิ เท้า เช่น พน้ื ที่จัดการประชุมขนาดใหญ่ การจัดงานแสดงสินคา้ นิทรรศการ ตลาดนัด สวนสาธารณะ หรือหมู่บ้านจัดสรร เป็นต้น มีข้อดีคือ ประหยัดเชื้อเพลิง และไม่ส่งเสียงดัง มีความคล่องตัว สามารถ หยุดประชาสัมพันธป์ ระชาชนได้ดี เคลอ่ื นยา้ ยสะดวก ๒.๕.๔ สายตรวจเดินเทา้ สายตรวจเดินเท้า ถือเป็นประเภทสายตรวจที่มีความจำเป็นและเหมาะสมกับย่านศูนย์การค้า ธุรกิจ สถานีขนส่ง ตลาดนัด แหล่งท่องเที่ยว แหล่งชุมชน ที่มีประชาชนอาศัยอยู่รวมกันอย่างหนาแน่น และมี สถานภาพอาชญากรรมสูงในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซ่งึ การจัดสายตรวจเดนิ เทา้ นน้ั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม สร้างความใกล้ชิด ความอบอุ่นใจให้กับประชาชนที่พบเห็น พร้อมให้ความช่วยเหลือและ แนะนำ ตลอดจนบริการประชาชนได้อย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังสามารถประชาสัมพันธ์ และแสวงหาความร่วมมือจาก ประชาชน ในพนื้ ทีเ่ ปา้ หมายได้เป็นอย่างดี โดยมีคณุ ลักษณะทสี่ ำคญั ดงั นี้ ๑) สายตรวจเดินเท้า ๑ สาย ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ จำนวน ๒ นาย ๒) กำหนดเขตพ้ืนท่ีและความรับผิดชอบชดั เจน ๓) กำหนดหว้ งเวลาการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่แี ละการตรวจใหเ้ หมาะสมกับพื้นทเ่ี ปา้ หมาย ๒.๕.๕ สายตรวจทางเรอื สายตรวจทางเรือ เหมาะสำหรับพื้นทีท่ ี่มแี ม่น้ำลำคลอง และพื้นที่ที่ติดกับชายทะเล และไม่ สามารถใช้สายตรวจประเภทอื่นได้ จึงมีความจำเป็นต้องใช้เรือแทนพาหนะอื่น เพื่อตรวจตราป้องกันปราบปราม อาชญากรรมในลำน้ำและชายฝั่ง เช่นเดียวกับพืน้ ที่ที่มถี นนหนทาง และยังสามารถให้บริการประชาชนไดอ้ ีกด้วย เช่น กรณอี ุบตั ิภัยทางนำ้ ตา่ งๆ หรือชว่ ยเหลอื ประชาชนยามเกิดอทุ กภยั โดยมีคณุ ลักษณะท่สี ำคัญ ดังนี้ ๑) เรอื ทใ่ี ชป้ ระจำการจะต้องเป็นเรือที่มีความม่ันคงระหว่างลอยลำอยู่ในน้ำได้เป็น อยา่ งดี ๒) มเี สอ้ื ชูชพี เพียงพอสำหรับผ้ปู ฏบิ ัติงานและผปู้ ระสบภยั ๓) กรณีเป็นเรือยนต์ควรต้องมีไฟสปอตไลท์ ไม้พายสำรอง วิทยุสื่อสาร และอุปกรณ์ กระจายเสยี ง โดยเจา้ หนา้ ทต่ี ำรวจสายตรวจผูข้ ับข่ีจะต้องไดร้ บั อนุญาตใบถือทา้ ย /๒.๕.๖ สายตรวจ…

10 ๒.๕.๖ สายตรวจสนุ ัขตำรวจ สำหรับหน่วยสนับสนุนการปฏิบัติ เช่น กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล จะมีกองกำกับการสุนัขตำรวจ เป็นหน่วยงานในสังกัด ซึ่งสามารถใช้สุนัขตำรวจ ประกอบกับผู้บังคับ ออกตรวจตราในสถานที่ที่เหมาะสมและมีความจำเป็น ได้แก่ เขตพระราชฐาน สวนสาธารณะ พืน้ ทจ่ี ดั แสดงสนิ คา้ หรอื จดั การประชุมสัมมนาขนาดใหญ่ โดยมคี ุณลกั ษณะที่สำคญั ดงั น้ี ๑) สายตรวจสุนัขตำรวจ ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ผู้บังคับสุนัข จำนวน ๑ นาย คู่ตรวจ จำนวน ๑ นาย และสนุ ัขตำรวจ จำนวน ๑ ตัว ๒) กำหนดห้วงเวลาการปฏิบัติให้เหมาะสมกับความสามารถของสุนัขตำรวจ และ สภาพพื้นที่ ภูมิอากาศ โดยระยะเวลาที่เหมาะสมที่สุดไม่ควรเกิน ๔ ชั่วโมง หากจำเปน็ ต้องปฏิบัติหน้าที่เกินกว่า ๔ ช่วั โมง อตั ราการพักของสุนัขตำรวจจะ เพ่มิ มากข้นึ ๒.๕.๗ สายตรวจตำรวจมา้ เช่นเดียวกบั กองกำกับการสุนัขตำรวจ กองกำกับการม้าตำรวจ กเ็ ป็นหนว่ ยงานในสังกัดของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล ซึ่งภารกิจที่นอกเหนือจากการถวาย อารักขาและเทิดพระเกียรติแล้ว ยังสามารถให้การสนับสนุนจัดสายตรวจตำรวจม้า ออกตรวจตราตามสถานที่ต่างๆ เช่น เขตพระราชฐาน พระตำหนัก สวนสาธารณะตา่ งๆ เป็นตน้ นอกจากจะชว่ ยในการปอ้ งกนั อาชญากรรม ยังสามารถ สร้างความใกล้ชิดและอบอุ่นใจให้แก่ประชาชนผู้พบเห็น สามารถให้ความช่วยเหลือ แนะนำประชาชนในบริเวณ ใกลเ้ คยี งไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ซ่งึ ข้อจำกดั จะมีลักษณะคล้ายคลงึ กบั สายตรวจสนุ ัขตำรวจ ซ่งึ ขน้ึ อยู่กับความสามารถ ของมา้ สภาพพืน้ ท่ี และภมู ิอากาศ ๒.๕.๘ สายตรวจยามจุด ตยู้ าม จุดรับแจ้งเหตุ หรือจดุ สกดั จบั ตู้ยาม จุดรับแจ้งเหตุ หรือจุดสกัดจับ เป็นวิธีการหนึ่งที่นำมาใช้เพื่อป้องกันและปราบปราม อาชญากรรม นอกจากนี้ยังเป็นการให้บริการประชาชนที่อยูห่ ่างไกลจากสถานีตำรวจ ซึ่งการพัฒนาตูย้ ามตำรวจได้รบั อิทธิพลมาจาก ตู้ยามตำรวจญี่ปุ่น หรือ โคบัง (KOBAN) จนกระทั่งปัจจุบันได้พัฒนาไปสู่สถานีตำรวจย่อย หรือสถานี ตำรวจชุมชน (Community Police Box) เช่น สถานีตำรวจย่อยสยามสแควร์ ในพื้นที่ของสถานตำรวจนครบาลปทุม วนั เป็นต้น ยามจุด คือ การจัดเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ประจำบริเวณ หรือประจำสถานที่ เพ่ือ รกั ษาการณ์ ซ่ึงมผี ลในด้านการปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรม และการให้บรกิ ารประชาชน โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อให้ตำรวจปฏิบัติหน้าที่ประจำจุดที่กำหนด โดยมีพื้นที่รับผิดชอบในเขต จำกัด เช่น ยามจุดธนาคาร ยามจุดสถานีขนส่ง ยามจุดหมู่บ้านจดั สรร ยามจุด ชุมชนแออัด ฯลฯ ๒) เพอ่ื ใหบ้ ริการและรับแจ้งเหตุ เชน่ จดุ รับแจง้ เหตุ ๒๔ ช่วั โมง ๓) เพ่อื สกัดจับกุมคนรา้ ย ณ จดุ สกัดตามสแ่ี ยกตา่ งๆ ๔) เพ่ืออำนวยความสะดวก และบรกิ ารประชาชนในสถานทีต่ ่างๆ คณุ ลักษณะที่สำคญั ของตู้ยาม จุดรับแจง้ เหตุ หรือจดุ สกัดจับ มีดังต่อไปนี้ /1) ควรตง้ั อยใู่ นย่าน…

11 ๑) ควรตั้งอยู่ในย่านชุมชนที่มีประชาชนอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น มีความเสี่ยงต่อ การเกิดอาชญากรรม และสถานที่ตั้งตู้ยามน้ัน นอกจากประชาชนตอ้ งมองเหน็ ไดเ้ ด่นชดั เขา้ ออกไดส้ ะดวกแล้ว เจ้าหนา้ ที่ตำรวจสายตรวจประจำตู้ยามก็ต้อง สังเกตการณ์โดยรอบได้อย่างชัดเจนเช่นกัน สำหรับจุดสกัดจับ ควรตั้งอยู่ตาม ถนนใหญ่ ปากซอยทะลุได้ หรือจุดเชื่อมตอ่ ระหว่างพื้นที่ ซึ่งมักจะเป็นเส้นทาง หลบหนีของคนรา้ ย ๒) กำหนดขอบเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบชัดเจน และมีข้อมูลท้องถิ่นในเขตพื้นที่ รับผิดชอบครบถว้ น ๓) มีเจา้ หน้าทต่ี ำรวจสายตรวจ ประจำการอยา่ งน้อย ๒ นาย ตลอด ๒๔ ช่ัวโมง ๔) มีวิทยุสื่อสารที่สามารถรับ-ส่ง สื่อสารกับศูนย์วิทยุได้ตลอดเวลา พร้อมสมุด บนั ทึกการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร ๕) มีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการปฏิบัติหน้าที่ครบถ้วน ได้แก่ สมุดประจำวัน ถังดับเพลิง และเชือกก้ันสถานทเี่ กิดเหตุ ๖) ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่างและสัญญาณไฟวับวาบ เพื่อสามารถมองเห็นได้เด่นชัด ในเวลากลางคืน และมีผลในการป้องกันอาชญากรรม ๗) มยี านพาหนะท่ีมปี ระสิทธิภาพ พรอ้ มที่จะปฏบิ ตั หิ น้าทีไ่ ดท้ ันที สำหรับขอบเขตการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี การให้บริการประชาชน ข้อห้ามมิให้ปฏบิ ัติ การตรวจตรา ควบคุม การประสานงานระหว่างกัน ให้ถือปฏิบัติตามระเบียบการตำรวจไม่เกี่ยวกับคดีที่ได้กล่าวถึงหน้าที่และการ ปฏิบัตขิ องตำรวจประจำตยู้ ามไวใ้ นข้อ ๖ - ๑๑ มายึดถือเป็นแนวปฏบิ ัติโดยอนโุ ลม ๒.๕.๙ สายตรวจชมุ ชน/ตำบล สายตรวจชุมชนมีประวัติความเป็นมาจากเดิมกรมตำรวจในขณะนั้น ได้อนุมัติให้ดำเนินการ ตามโครงการตำรวจชุมชน เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยอนุมัติให้จัดตั้ง “สถานีตำรวจประจำตำบล (ตชต.)” จำนวน ๓๐๐ แห่ง ในพื้นที่ตำรวจภูธรทั่วประเทศ และในปี พ.ศ.๒๕๔๒ กรมตำรวจได้อนุมัติให้จัดตั้งสถานีตำรวจชุมชนเพิ่มเติมอีก จำนวน ๓๐๐ แห่ง และให้ดำเนินการทัง้ ประเทศ รวมทั้งในพื้นที่ของกองบญั ชาการตำรวจนครบาล ที่มีความพร้อมใน การจัดตั้งด้วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสามารถให้บริการแก่ประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล โดยเน้นในการสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน และแสวงหาความร่วมมือจาก ประชาชนเป็นหลัก ซึ่งการปฏิบัติที่สำคัญนั้นให้คัดเลือกประชาชนในพื้นที่เป็นผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานทำงานร่วมกับ เจ้าหน้าที่ตำรวจ ภายใต้การควบคุมดูแลของคณะกรรมการที่กำหนด ซึ่งต่อมาสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้พิจารณา แล้วเห็นวา่ “โครงการตำรวจชมุ ชน” เปน็ โครงการทีม่ ปี ระโยชนห์ ลายประการ คือ ๑) เป็นการแสวงหาความร่วมมือจากประชาชนในการป้องกันปราบปราม อาชญากรรม และสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนมาก ขึ้น โดยไม่เนน้ ผลการจับกุม ๒) เป็นการเพม่ิ ประสิทธภิ าพในด้านการข่าว และการให้บริการประชาชนอย่างทัว่ ถึง /3) ทำให้ประชาชน...

12 ๓) ทำให้ประชาชนเกิดความรู้สึกอบอุ่นใจที่มีเจ้าหน้าที่ตำรวจคอยดูแล และให้ ความช่วยเหลอื อย่างใกล้ชดิ ๔) สามารถแกป้ ัญหาของชุมชน และพฒั นาสภาพทางสังคมของชุมชน โดยรว่ มกับ คณะกรรมการชุมชน/หมู่บ้าน/ตำบล หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ในการจัด ระเบียบชุมชน ช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น และยังช่วย กำจดั ความเสอื่ มโทรมทางสงั คมในชมุ ชน ส่งผลตอ่ คณุ ภาพชวี ิตทีด่ ีข้ึน สำหรับสถานีตำรวจชุมชน/ตำบล ที่มีสายตรวจชุมชน/ตำบล ประจำการปฏิบัติหน้าที่น้ัน จะตอ้ งมคี ุณลักษณะทส่ี ำคญั ดงั นี้ ๑) มีความพร้อมในการจัดตั้งสถานีตำรวจชุมชน/ตำบล โดยได้รับการสนับสนุน จากภาคประชาชน หรือภาคเอกชนในชุมชน ในด้านอาคารสถานที่ทำการ รวมทั้งอุปกรณ์เครื่องไม้เครื่องมือที่จำเป็น เช่น โต๊ะ เก้าอี้ รถยนต์หรือ รถจกั รยานยนต์ท่ใี ช้ในการตรวจพื้นท่ี เปน็ ตน้ ๒) ไดร้ บั อนุมัตกิ ารจดั ตง้ั สถานีตำรวจชมุ ชน/ตำบล จากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๓) มีเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจประจำสถานีตำรวจชุมชน/ตำบล อย่างน้อยสถานี ละ ๒ นาย ๔) คัดเลือกประชาชนในชุมชนเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน ไม่น้อยกว่า ๑๐ นาย ทำหน้าที่เป็นผู้ช่วยเหลอื เจ้าพนกั งาน จัดให้มีการฝึกอบรมให้ความรู้ ข้อกฎหมาย ระเบียบ วิธี และขอบเขตการปฏิบัติให้ครบถ้วน และในการปฏิบัติหน้าที่ ให้แต่งเครอื่ งแบบตามท่สี ำนกั งานตำรวจแห่งชาตกิ ำหนด ๒.๕.๑๐ สายตรวจประเภทอืน่ ในการพิจารณาจัดสายตรวจประเภทอื่นนั้น ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของผู้บริหารงานป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมทุกระดับ ซึ่งควรพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ อาทิ เช่น สถานภาพอาชญากรรมที่มีความรุนแรง เพมิ่ มากขึ้น หรอื การปฏบิ ตั กิ ารเชิงรุก เพื่อเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรมในพ้นื ท่ี ซึ่งรูปแบบ การจัดสายตรวจประเภทอื่นที่หน่วยงานในสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติเคยปฏิบัติกันมา มีหลายรูปแบบ เช่น การจัดชุดจู่โจม หรือชุดเคลื่อนที่เร็ว ซึ่งมีลักษณะเป็นชุดปฏิบัติการ ออกปราบปรามจับกุมการกระทำความผิดที่เป็น นโยบายสำคัญ เช่น การจับกุมยาเสพติด บ่อนการพนัน ฯลฯ หรือการป้องกันเหตุที่กระทบต่อความผาสุกในการใช้ชีวิตประจำวัน ของประชาชน เช่น การจัดชดุ เคลื่อนท่ีเรว็ ออกปอ้ งกันเหตุวิ่งราวทรัพย์ หรือเหตุชิงทรัพย์ ฯลฯ หรือแม้กระท่ังการจัด สายตรวจทางอากาศ โดยใช้อากาศยานไร้คนขับ (Drone) เพื่อเพิ่มสมรรถนะการตรวจการณ์จากมุมสูง เป็นต้น ซ่ึงคุณลักษณะทีส่ ำคัญในการจัดสายตรวจประเภทอื่น คือ ๑) มีคำสงั่ จากหัวหน้าหนว่ ยแตง่ ตัง้ ชุดปฏิบตั กิ าร กำหนดอำนาจ หนา้ ท่ี และความ รับผิดชอบอย่างชัดเจน ๒) มอบหมายข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตร เป็นหัวหน้าชุด ควบคุมการปฏิบัติ และมีกำลังพลที่มีความพร้อม มีคุณสมบัติตรงต่อภารกิจ ประกอบเป็นชุด ปฏบิ ัติการทเี่ พียงพอ เหมาะสมต่อภารกิจที่ได้รบั มอบหมาย /3) จัดหาอปุ กรณ…์

13 ๓) จัดหาอุปกรณ์ อาวุธ ยุทโธปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยานพาหนะ ให้เพียงพอ เหมาะสมกับภารกิจที่ได้รบั มอบหมาย ๒.๖ อุปกรณบ์ งั คับของเจา้ หน้าทตี่ ำรวจสายตรวจ ๒.๖.๑ อาวธุ ปนื พรอ้ มกระสุนสำรอง หรอื ซองกระสุนสำรอง ทีบ่ รรจุกระสนุ สำรองไว้อย่างน้อย จำนวน ๑๐ นัด ๒.๖.๒ กุญแจมอื ๒.๖.๓ วทิ ยสุ ื่อสาร พร้อมหฟู งั ๒.๖.๔ ไฟฉาย ๒.๖.๕ เส้อื กนั ฝน ๒.๖.๖ หมวกนริ ภยั พรอ้ มกล้องตดิ หมวก ๒.๖.๗ เสอ้ื สะทอ้ นแสง ๒.๖.๘ เสือ้ เกราะกนั กระสุน ๒.๖.๙ สมดุ พก ๒.๖.๑๐ โทรศัพท์มือถอื ท่ีใช้ระบบปฏิบตั ิการ Android หรอื iOS พรอ้ มแบตเตอร่ีสำรอง อุปกรณ์แนะนำ ได้แก่ อุปกรณ์ที่สนับสนุนระดับการใช้กำลังจากเบาไปหนัก เช่น กระบอง ยดื หดได้ (ด้ิว) สเปรย์พรกิ ไทย หรอื ปนื ช็อตไฟฟ้า หรือถุงมอื ยาง หน้ากากอนามยั อุปกรณ์ปฐมพยาบาล หรือกล้องส่อง ทางไกล เป็นตน้ ๒.๗ การแบ่งเขตตรวจและการจดั สายตรวจ ๒.๗.๑ การแบง่ เขตตรวจ การแบ่งเขตตรวจในพ้ืนทรี่ บั ผิดชอบของแตล่ ะสถานีตำรวจ ให้คำนงึ ถงึ ปัจจัยตา่ งๆ ดังน้ี ๑) ต้องคำนงึ ถงึ ข้อมลู ท้องถิน่ ว่าเป็นพืน้ ทแ่ี บบใด เป็นยา่ นธุรกิจการค้า ท่ีพักอาศัย ย่านเกษตรกรรม หรืออุตสาหกรรม รวมถึงความหนาแน่นกับประชากร และ ต้องพิจารณาถึงความสัมพันธ์กับระยะเวลาในการตอบสนองและไปถึงที่เกิด เหตุ เช่น พื้นที่ย่านธุรกิจการค้า มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น ควรแบ่ง พื้นที่เขตตรวจให้สามารถไปถึงที่เกิดเหตุได้ภายในเวลา ๓ - ๕ นาที หรือพื้นที่ ย่านเกษตรกรรม มีประชาชนพักอาศัยบางตา พื้นที่เขตตรวจอาจจะกว้างกว่า และกำหนดเวลาไปถึงท่ีเกิดเหตุไมเ่ กนิ ๒๐ นาที ๒) ต้องไม่ลดจำนวนเขตตรวจตามจำนวนกำลังพลเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจที่มีอยู่ เพราะจะทำให้การบริหารจัดการไม่เป็นระบบ ขาดความสมบูรณ์ในการวิเคราะห์ เชิงพื้นทแ่ี ละสถติ ิ หากกำลังพลลดลง ใหใ้ ช้การควบเขตตรวจแทน ๒.๗.๒ รปู แบบการจดั สายตรวจ ๑) ชุดปฏิบัติการสายตรวจ แต่ละชุดปฏิบัติการ จะต้องประกอบด้วย หัวหน้าสาย ตรวจ (ข้าราชการตำรวจระดับ รอง สว. แตถ่ า้ กำลงั พลขาดแคลนสามารถ / มอบหมายให้...

14 มอบหมายให้ข้าราชการตำรวจยศ ด.ต. ทำหน้าที่แทนได้) พร้อมพลขับ ทำหน้าที่ สายตรวจรถยนต์ และเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ทำหน้าที่สายตรวจ รถจักรยานยนต์ เป็นองคป์ ระกอบพ้นื ฐาน โดยหัวหนา้ สายตรวจมหี นา้ ทีค่ วบคุม การปฏบิ ตั ิของสายตรวจทุกประเภท ณ ช่วงเวลาน้ันๆ ส่วนจะจัดจำนวน ๒ ชุด ๓ ชุด หรือ ๔ ชุดปฏิบัติการนั้น ขึ้นอยู่กับสถานภาพกำลังพล และจำนวนเขต ตรวจ ๒) ระยะเวลาในการตรวจ ผลดั ละ ๘ ชั่วโมง o ผลัดที่ ๑ เวลา ๐๐.๐๑ - ๐๘.๐๐ น. (ผลดั ดึก) o ผลดั ท่ี ๒ เวลา ๐๘.๐๑ - ๑๖.๐๐ น. (ผลัดเชา้ ) o ผลดั ที่ ๓ เวลา ๑๖.๐๑ - ๒๔.๐๐ น. (ผลัดเย็น) ๓) การเปลี่ยนผลัด แต่ละสถานีตำรวจสามารถเลือกรูปแบบการเปลี่ยนผลัดทั้งแบบ ๒ วัน/ ๓วัน/ ๔ วัน (เข้าเวรแต่ละผลัด ๒, ๓ หรือ ๔ วัน จึงจะเปลี่ยนผลัด) แต่ต้องคำนงึ ถงึ จำนวนกำลงั พล วนั พัก และประสิทธิภาพโดยรวมเป็นสำคัญ ๔) การเปลีย่ นเขตตรวจ ใหส้ ายตรวจแต่ละสาย ปฏิบตั ิหน้าทีค่ รบทัง้ ๓ ผลดั จึงจะ เปลี่ยนเขตตรวจ เช่น ผลัดละ ๒ วัน ก็ต้องเข้าผลัดดึก ๒ ครั้ง ผลัดเช้า ๒ คร้ัง และผลัดเย็น ๒ ครั้ง แล้วพัก ๒ วัน จึงจะเปลี่ยนเขตตรวจในวงรอบการปฏิบัติ หนา้ ทีถ่ ัดไป ๕) เมื่อจัดชุดปฏิบัติการสายตรวจแล้ว หากใน ๑ ชุดปฏิบัติการ มีสายตรวจ รถจักรยานยนต์ ไม่เกิน ๒ สาย ห้ามสถานีตำรวจนั้นจัดเป็น ๔ ชุดปฏิบัติการ โดยเดด็ ขาด ๖) หากไม่สามารถจัดรูปแบบการจัดสายตรวจตามแนวทางข้างต้นได้ สามารถ ปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ท้ังน้ี ให้คำนึงถึงจำนวนเจ้าหน้าท่ีตำรวจ สายตรวจผู้ปฏิบัติ ระยะเวลาการปฏิบัติหน้าที่ และระยะเวลาพัก โดยยึดวงรอบ การปฏิบัติที่รอบละ ๘ ชั่วโมงเป็นสำคัญ เช่น หากสถานีตำรวจใดจัดสายตรวจ ผลัดละ ๒๔ ชั่วโมง ก็ให้สายตรวจในผลัดนั้นๆ ปฏิบัติหน้าที่ตามวงรอบ เช่นเดียวกับข้อ ๒) กล่าวคือ ในแต่ละ ๘ ชั่วโมง ต้องตรวจจุดตรวจบังคับ ๒ คร้ัง ดังนั้น ใน ๒๔ ชั่วโมง ก็ต้องตรวจจุดตรวจบังคับ ในช่วงผลัดดึก เช้า และเย็น รวม ๖ ครั้ง เป็นต้น ๒.๘ หนา้ ท่ีของสายตรวจ ๒.๘.๑ ก่อนออกตรวจ หวั หนา้ สายตรวจ ๑) อบรมปล่อยแถวเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจทุกประเภท ก่อนเวลาปฏิบัติหน้าท่ี ๓๐ นาที โดยให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจทุกนาย ลงทะเบียนปฏิบัติหน้าที่ พร้อมรหสั สายตรวจ ผา่ นแอพพลิเคชน่ั Police 4.0 /2) ตรวจจำนวนและ…

15 ๒) ตรวจจำนวนและความพร้อมในการปฏิบัติหน้าที่ ทั้งการแต่งกาย อุปกรณ์ บังคบั และยานพาหนะ ๓) มอบหมายภารกิจตามแผนการตรวจ นโยบายของผู้บังคับบัญชา หรือภารกิจ พิเศษ เช่น ภารกิจถวายความปลอดภัยฯ หรือกรณีเกิดเหตุพิเศษในพื้นท่ี อาทิ เหตเุ พลิงไหม้ เป็นตน้ ๔) ตรวจสอบข้อมลู อาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนในรอบวันท่ีผ่านมาในระบบ Police 4.0 แล้วช้ีแจงให้เจา้ หนา้ ท่ีตำรวจสายตรวจไดร้ บั ทราบ ๕) ฝกึ ทบทวนยทุ ธวิธตี ำรวจ ๖) ตรวจความพร้อมของเจ้าหน้าท่สี ิบเวรและรว่ มกันตรวจหอ้ งควบคุม ๗) บันทึกการอบรมปล่อยแถวสายตรวจ ตามคำสั่ง ตร.ท่ี ๐๖๐๑(ปป)/๓๘๔ ลง ๙ ก.ค.๒๕๔๐ พรอ้ มข้อกำชับ สงั่ การตา่ งๆ ผา่ นระบบ Police 4.0 ๘) แจ้งความพรอ้ มในการปฏิบัตหิ น้าท่ีไปยังศนู ยว์ ทิ ยุของ บก.น./ภ.จว. ๙) ตรวจสอบความพร้อมของพนักงานวิทยุ ห้องวิทยุ หรือศูนย์ควบคุมสั่งการว่า ประสิทธภิ าพของระบบและอปุ กรณต์ ่างๆ พร้อมใชง้ านหรอื ไม่ เจ้าหนา้ ท่ีตำรวจสายตรวจ ๑) แต่งกายให้ถกู ตอ้ งตามระเบียบ ตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณบ์ ังคับของตนเอง ๒) ตรวจสอบความพรอ้ ม เตมิ นำ้ มนั และทำความสะอาดยานพาหนะ ๓) ลงทะเบยี นปฏบิ ัติหน้าที่ พร้อมรหสั สายตรวจ ผ่านแอพพลิเคชน่ั Police 4.0 ๔) ตรวจสอบและทำความเข้าใจแผนการตรวจ ๕) รับทราบขอ้ ส่งั การในการอบรมปล่อยแถวสายตรวจ ผ่านแอพพลิเคชนั่ Police 4.0 ๖) นำเสนอข้อมูลที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ ปัญหา ขอ้ ขัดขอ้ ง พร้อมทั้งแนวทางการแกไ้ ขปัญหา เพื่อใหม้ ีความพรอ้ มในการปฏิบัติ หน้าที่สงู สุดกอ่ นออกตรวจ ๒.๘.๒ ขณะออกตรวจ หัวหนา้ สายตรวจ ๑) ตรวจจุดตรวจบังคับ (จุดตรวจตู้แดงเดิม) ผ่านแอพพลิเคชั่น Police 4.0 ตามแผนการตรวจ โดยจะตอ้ งตรวจจุดตรวจบังคับทุกเขตตรวจ และในแต่ละเขต ใหต้ รวจอยา่ งน้อย ๑ ใน ๔ ของจำนวนจดุ ตรวจบังคบั ท่ีมีอยใู่ นเขตตรวจนน้ั ๆ ๒) สุ่มตรวจธนาคาร ร้านค้าทอง ร้านสะดวกซือ้ สถานีบริการน้ำมัน และ จุดเส่ยี ง จดุ ลอ่ แหลม พร้อมเปิดสญั ญาณไฟวบั วาบ ตามแผนการตรวจ ๓) ตรวจสัมพันธ์กับสายตรวจอ่นื ๔) ตั้งจุด ว.๔๓ หรือจุด ว.๔๓ เคลื่อนที่ เพื่อดำเนินการตามมาตรการตรวจค้นรถ ต้องสงสัย ตามแผนการตรวจท่ีออกโดยคำสั่งผู้บังคับบัญชาที่ถูกต้องตามกฎ และระเบียบ /5) ภารกจิ ถวายความ...

16 ๕) ภารกจิ ถวายความปลอดภัย (ถา้ มี) ๖) เยี่ยมเยียนประชาชน/ผู้เสียหาย จำนวน ๒ คน ต่อ ๑ ผลัด พร้อมบันทึกข้อมลู ลงในแอพพลิเคชั่น Police 4.0 พร้อมเชิญชวนให้ประชาชนในชุมชนทุกราย ทั้งที่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่จริงหรือเป็นประชากรแฝง เช่น เข้ามาทำงาน เข้ามา ค้าขาย ในพื้นที่อยู่เป็นประจำ เข้าร่วมเพิ่มเพื่อนใหม่ (add friends) กับบัญชี Line Official ของสถานีตำรวจ ตามแนวทางในข้อ ๓.๕.๖ และ ๓.๕.๘ ๗) ตรวจค้นบุคคล ยานพาหนะต้องสงสัย พร้อมบันทึกข้อมูลบุคคลหรือ ยานพาหนะที่อาจเกี่ยวข้องกับอาชญากรรม จำนวน ๑ คน ต่อ ๑ ผลัด พร้อม บนั ทึกขอ้ มูลลงในแอพพลิเคชน่ั Police 4.0 ๘) รับแจ้งเหต/ุ ส่ังการ/ระงบั เหตุ/เขา้ จุดก้าวสกดั จบั /จับกมุ /รายงานผล ๙) ดำเนินการตามมาตรการเชิงรุกท่ีสำคัญในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ตามแผนการตรวจที่กำหนดไว้ ๑๐)สุ่มตรวจสอบการตรวจตามแผนของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ พร้อมตรวจ สัมพนั ธ์ ๑๑)ว.๑๐ จุดตรวจตามแผนกรณมี ฝี นตก ๑๒)ร่วมประชุมอบรมปล่อยแถวสายตรวจกับหัวหน้าสายตรวจผลัดใหม่ เพื่อส่งต่อ ภารกิจและข้อมลู อาชญากรรมในรอบการปฏิบัติหนา้ ทท่ี ผี่ ่านมา ๑๓)แจ้งการ ว.๔ ไปยังศูนย์วิทยุ บก.น./ภ.จว. หรือ สน./สภ. ทุก ๑ ชั่วโมง (ตาม ความเหมาะสมของช่องการสือ่ สาร ณ ชว่ งเวลานนั้ ) ๑๔)การปฏบิ ตั ิหน้าที่อื่นตามสถานการณ์ หรอื ตามทผี่ บู้ ังคบั บัญชาสั่งการ ๑๕)กรณีไม่สามารถปฏิบัติตามแผนการตรวจได้ ให้บันทึกเหตุท่ีไม่สามารถปฏิบัติ ได้พรอ้ มช่วงเวลา ผา่ นแอพพลิเคช่นั Police 4.0 ทุกครง้ั เจ้าหนา้ ท่ีตำรวจสายตรวจ ๑) ตรวจจุดตรวจบังคับ (จุดตรวจตู้แดงเดิม) ในเขตตรวจที่รับผิดชอบ ผ่าน แอพพลิเคชั่น Police 4.0 ตามแผนการตรวจ โดยจะต้องตรวจทุกจุดอย่าง น้อย ๒ ครั้ง ๒) ตรวจธนาคาร ร้านค้าทอง ร้านสะดวกซ้ือ จุดเสี่ยง จุดล่อแหลม ในเขตรวจ ที่รับผิดชอบ ทุกจุดอย่างน้อย จุดละ ๑ ครั้ง พร้อมเปิดสัญญาณไฟวับวาบ ตามแผนการตรวจ ๓) ตรวจสัมพันธก์ ับผูบ้ ังคบั บญั ชา หัวหนา้ สายตรวจ และสายตรวจอ่ืน ๔) ตั้งจุด ว.๔๓ หรือจุด ว.๔๓ เคลื่อนที่ เพื่อดำเนินการตามมาตรการตรวจค้นรถ ต้องสงสัย ตามแผนการตรวจตามแผนการตรวจที่ออกโดยคำส่ังผู้บังคับบัญชา ท่ีถูกตอ้ งตามกฎ และระเบียบ ๕) ภารกิจถวายความปลอดภยั (ถา้ มี) /6) เยย่ี มเยยี นประชาชน...

17 ๖) เยี่ยมเยียนประชาชน/ผูเ้ สียหาย จำนวน ๒ คน ต่อ ๑ ผลัด พร้อมบันทึกข้อมลู ลงในแอพพลิเคชน่ั Police 4.0 พรอ้ มเชิญชวนให้ประชาชนในชุมชนทุกรายทั้ง ที่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่จริงหรือเป็นประชากรแฝง เช่น เข้ามาทำงาน เข้ามา ค้าขาย ในพื้นที่อยู่เป็นประจำ เข้าร่วมเพิ่มเพื่อนใหม่ (add friends) กับบัญชี Line Official ของสถานีตำรวจ ตามแนวทางในข้อ ๓.๕.๖ และ ๓.๕.๘ ๗) ตรวจค้นบุคคล ยานพาหนะต้องสงสัย พร้อมบันทึกข้อมูลบุคคลหรือ ยานพาหนะที่อาจเกี่ยวข้องกับอาชญากรรม จำนวน ๑ คน ต่อ ๑ ผลัด พร้อม บันทกึ ข้อมูลลงในแอพพลเิ คชัน่ Police 4.0 ๘) รบั แจง้ เหต/ุ ระงบั เหต/ุ เข้าจุดก้าวสกดั จับ/จับกุม/รายงานผล ๙) ดำเนินการตามมาตรการเชิงรุกท่ีสำคัญในการป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม ตามแผนการตรวจทกี่ ำหนดไว้ ๑๐)ตรวจสมั พนั ธก์ ับผบู้ ังคบั บัญชา หวั หนา้ สายตรวจ หรอื เจา้ หน้าท่ีตำรวจสายตรวจอื่น ๑๑)ว.๑๐ จดุ ตรวจตามแผนกรณมี ีฝนตก ๑๒)ว.๔ ว.๑๐ จุดตรวจเหลอ่ื มเวลา หลงั หมดเวลาปฏิบัติหน้าที่ ๑๕ นาที ตามแผนการตรวจ ๑๓)แจ้งการ ว.๔ ไปยงั ศูนยว์ ทิ ยุ บก.น./ภ.จว. หรอื สน./สภ. ทุก ๓๐ นาที (ตามความเหมาะสมของช่องการสอ่ื สาร ณ ชว่ งเวลาน้นั ) ๑๔)การปฏิบตั ิหนา้ ทอ่ี ่ืนตามสถานการณ์ หรือตามท่ีผู้บังคับบญั ชาส่งั การ ๑๕)กรณีไม่สามารถปฏิบัตติ ามแผนการตรวจได้ ให้บนั ทกึ เหตทุ ่ีไมส่ ามารถปฏิบัติได้ พร้อมช่วงเวลา ผา่ นแอพพลเิ คชั่น Police 4 .0 ทุกครั้ง ๒.๘.๓ หลงั การตรวจ หัวหนา้ สายตรวจ ๑) ลงทะเบียนออกเวรผ่านแอพพลเิ คชั่น Police 4.0 ๒) ตรวจสอบยานพาหนะ และนำเข้าที่จอดให้เรียบร้อย ตรวจสอบสิ่งของหรือ อุปกรณ์ของทางราชการ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและครบถ้วน หากสิ่งของ หรืออปุ กรณ์ของทางราชการใดจะต้องส่งคนื ให้ส่งคืนตามระเบยี บใหเ้ รียบรอ้ ย ๓) ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลอาชญากรรมของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ พนักงานวทิ ยุ หรอื ของตนเอง ในระบบ Police 4.0 วา่ ข้อมูลครบถว้ น ถูกต้อง สมบรู ณ์หรอื ไม่ และให้แจ้งยืนยนั ความถกู ตอ้ งในระบบกอ่ นออกเวรทกุ ครงั้ ๔) รายงานผลการปฏิบัติและรายงานผลการจับกุมต่างๆ ผ่านระบบ Police 4.0 พร้อมยืนยันความถกู ต้องในระบบก่อนออกเวรทกุ ครั้ง เจา้ หน้าทตี่ ำรวจสายตรวจ ๑) ลงทะเบยี นออกเวรผ่านแอพพลิเคชัน่ Police 4.0 / 2) ตรวจสอบ...

18 ๒) ตรวจสอบยานพาหนะ และนำเข้าที่จอดให้เรียบร้อย ตรวจสอบสิ่งของหรือ อุปกรณ์ของทางราชการ ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและครบถ้วน หากสิ่งของ หรืออปุ กรณ์ของทางราชการใดจะต้องส่งคนื ให้สง่ คนื ตามระเบยี บใหเ้ รยี บร้อย ๓) ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลอาชญากรรม ในระบบ Police 4.0 ว่าข้อมูล ครบถ้วน ถูกต้อง สมบูรณ์หรือไม่ ก่อนที่หัวหน้าสายตรวจจะแจ้งยืนยันความ ถูกตอ้ งในระบบก่อนออกเวรทกุ ครั้ง ๔) รายงานผลการปฏิบัติและรายงานผลการจับกุมต่างๆ ผ่านระบบ Police 4.0 พรอ้ มยนื ยันความถกู ตอ้ งในระบบก่อนออกเวรทกุ ครั้ง ๒.๙ หนา้ ทส่ี ายตรวจชุมชน/ตำบล (เพม่ิ เตมิ ) ๒.๙.๑ เข้าพบผู้นำชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน แล้วแต่กรณีเป็นประจำ ตรวจเยี่ยม ประชาชนตามหมบู่ ้านในเขตรบั ผิดชอบ วนั ละ ๓ หมู่บ้าน หมบู่ า้ นละ ๑ หลังคาเรือน และควรตรวจให้ครบทุกหมู่บ้าน ในเขตรับผิดชอบ ภายใน ๑๕ วัน พร้อมบันทึกข้อมูลบุคคลที่ตรวจเย่ียม (สมาชิกในครอบครัว) หากมีข้อร้องเรียน ความเดือดร้อน หรือความต้องการของประชาชน ให้บันทึกไว้ และดำเนินการในส่วนท่ีเก่ียวข้อง ผลเป็นประการใด ให้รายงานผลผ่านแอพพลิเคชั่น Police 4.0 ๒.๙.๒ รว่ มกบั สวป. และ/หรือ รอง ผกก.ป. จดั ทำแผนการตรวจภายในเขตรบั ผดิ ชอบ และ จัดกำลังอาสาสมคั รตำรวจบา้ น ตรวจตามแผนทีก่ ำหนด ผ่านแอพพลเิ คช่ัน Police 4.0 ๒.๑๐ หน้าที่ของ รอง สว.(ทุกสายงานใน สน./สภ.) สวป. รอง ผกก.ป. เวรอำนวยการ และ หน.สน./ สภ. หรือ ผกก.สน./สภ. หวั หนา้ สายตรวจ และเจา้ หนา้ ท่ีตำรวจสายตรวจทุกนาย ถอื เปน็ องค์ประกอบสำคญั ในการขับเคล่ือน ระบบปฏิบัติการสายตรวจระดับสถานีตำรวจ แต่ความสัมฤทธิ์ในการตรวจเพื่อป้องกันปราบปรามอาชญากรรม จะสำเร็จสมบูรณ์ไปไม่ได้เลย หากขาดความร่วมมือจากภาคส่วนอื่นในสถานีตำรวจ ซึ่งจะได้สรุปหน้าที่สำคัญของ ข้าราชการตำรวจในตำแหน่งอืน่ ๆ รวมถึงผู้บังคับบัญชาโดยตรงในงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ สวป. รอง ผกก.ป. หน.สน./สภ. หรือ ผกก.สน./สภ. ดังน้ี /รายการ..

19 รายการ ความถีใ่ นการปฏิบัติ หมายเหตุ หน.สน./สภ. ประชุมวิเคราะห์สถานภาพ รอง สว.ขึ้นไป สวป. รอง ผกก.ป. เวรอำนวยการ อาชญากรรมและวางแผนการ ตรวจ รว่ มกนั ประชมุ และวางแผน สปั ดาห์ละ ๑ ครั้ง อบรมปล่อยแถวสายตรวจ เฉพาะ รอง สวป. ๕ ครั้ง/สัปดาห์/ ๕ ครั้ง/ ๒ ค ร ั ้ ง / ดำเนินการตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติของ ( ท ำ ห น ้ า ท่ี ราย สัปดาห์ สัปดาห์ หน้าที่หัวหน้าสาย เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจและ หัวหน้าสาย ข้อมูลอาชญากรรมในรอบวันที่ ตรวจ) ให้ปฏิบัติ ทุกวนั ทกุ วนั ตรวจ ขอ้ ๒.๘.๑ ผา่ นมา (๐๐.๐๑ - ๒๔.๐๐ น.) ทุกครง้ั ท่เี ข้าเวร ส ุ ่ ม ต ร ว จ จ ุ ด ต ร ว จ บ ั ง คั บ (ครอบคลุมทุกเขตตรวจ) ครั้งละ ทกุ วัน ให้ธุรการงาน ป. ๗ จุด ในเวลา ๑ ช่ัวโมง ๓๐ นาที ด ำ เ น ิ น ก า ร เ ป็ น ตรวจท้องที่ในจุดเสี่ย งจุ ด วงรอบทกุ วัน ล่อแหลม ธนาคาร ร้านค้าทอง ร้านสะดวกซื้อ ครั้งละ ๖ จุด ใน ๓ ครั้ง/สัปดาห์/ ๒ ค ร ั ้ ง / ๑ ครั้ง/ เวลา ๑ ชั่วโมง ๓๐ นาที (นอก ราย สัปดาห์ สปั ดาห์ เวลาปฏิบัตหิ น้าท่ปี กต)ิ ซักซอ้ มแผนเผชญิ เหตุ ๒ ครง้ั /สปั ดาห/์ ราย ๑ ครง้ั /เวร ๑ ครั้ง/ สำหรับเวร (ยกเว้นสายงานสอบสวนและธรุ การ) สัปดาห์ อำนวยการ ครงั้ ละ ๗ จุด ในเวลา ๒ ช่ัวโมง หน.สน./สภ.เป็นผู้อำนวยการซกั ซ้อมแผนเผชญิ เหตุ เดือนละ ๑ ครง้ั ใชก้ ำลังทกุ ฝ่าย โดยก่อนการออกตรวจจะต้องลงทะเบียนออกตรวจผ่านแอพพลิเคชน่ั Police 4.0 พร้อมแจ้งวิทยุไป ให้ศูนย์วิทยุ สน./สภ. และ บก.น./ภ.จว. ทราบทุกครั้ง จากนั้นให้แจ้งวิทยไุ ปยังศูนย์วิทยุ สน./สภ. หรือ บก.น./ภ.จว. (ตามความเหมาะสม) ทราบถึงการปฏิบัติทุก ๓๐ นาที และเมื่อเสร็จสิ้นการตรวจให้ลงทะเบียนเลิกปฏิบัติหน้าที่ผ่าน แอพพลเิ คช่ัน Police 4.0 พรอ้ มแจ้งวทิ ยไุ ปใหศ้ ูนย์วทิ ยุ สน./สภ. และ บก.น./ภ.จว. ทราบอกี ครงั้ เช่นกนั ๒.๑๑ จดุ ตรวจบงั คับ (จุดตรวจตูแ้ ดงเดมิ ) จุดตรวจบังคับ หรือจดุ ตรวจตู้แดงเดิม เปน็ มาตรการปฏบิ ัตทิ ่ีสำคัญของระบบงานสายตรวจ โดยสามารถ ใช้กับสายตรวจทุกประเภท ท้ังสายตรวจรถยนต์ สายตรวจรถจักรยานยนต์ สายตรวจเดินเท้า ฯลฯ โดยยังประโยชน์ ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ ออกตรวจได้ครอบคลุมทั้งพื้นที่ หรือเป็นเครื่องมือในการกำหนดเส้นทางการตรวจ ของเจา้ หน้าที่ตำรวจสายตรวจ เพอ่ื ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม โดยมคี ุณลักษณะและแนวปฏิบัติที่สำคัญ ดงั นี้ ๒.๑๑.๑ การกำหนดจุดตรวจบังคับ ตอ้ งให้ครอบคลุมพื้นที่ท่ีกำหนดเป็นเขตตรวจทุกทิศทุกทาง ในแตล่ ะเขตตรวจเพ่อื ใหเ้ จ้าหนา้ ทตี่ ำรวจสายตรวจตรวจไดค้ รอบคลมุ ทงั้ เขตตรวจ ๒.๑๑.๒ จำนวนจุดตรวจบังคับ นอกจากต้องคำนึงถึงปริมาณพื้นที่ที่รับผิดชอบของแต่ละ เขตตรวจ และของสถานีตำรวจโดยรวมแล้ว ยังต้องคำนึงระยะเวลาและเส้นทางในการเดินทางที่ใช้ในการออกตรวจ ของแตล่ ะเขตตรวจ โดยจำนวนจุดตรวจบงั คับไมค่ วรตำ่ กว่า ๑๐ จดุ ตรวจในแต่ละเขตตรวจ /๒.๑๑.๓ จดุ ตรวจบงั คับ...

20 ๒.๑๑.๓ จุดตรวจบังคับ เป็นจุดตรวจที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันอาชญากรรม ในการ กำหนดจุดตรวจบังคับนอกจากจะต้องคำนึงถึงสภาพและขนาดของพื้นที่ สภาพชุมชน ถนน ตรอก ซอย และเส้นทาง การสัญจรของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจให้ครอบคลุมทั่วพื้นท่ีแล้ว จะต้องคำนึงถึงสถานภาพอาชญากรรมในช่วงเวลานั้นๆ หรือเปน็ สถานทส่ี ำคญั บ้านบคุ คลสำคัญ ซง่ึ มคี วามจำเป็นต้องป้องกันเหตุเป็นพิเศษ หรือสถานที่ที่ประชาชนพักอาศัย หรือมารวมกลุ่มกันอย่างหนาแน่น สถานที่เปลี่ยว เส้นทางเปลี่ยว หรือเส้นทางโจร เป็นสำคัญด้วย ซึ่ง รอง ผกก.ป. และ สวป. สามารถพิจารณาเปลยี่ นแปลงไดต้ ามสถานการณ์ ๒.๑๑.๔ จุดตรวจบังคับจะต้องจัดทำออกมาในรูปแบบของ QR Code ผ่านระบบ Police 4.0 และมใี จความสำคญั ว่า เป็นจุดตรวจท่ี ... เขตตรวจที่ ... ของ สน./สภ.ใด ๒.๑๑.๕ ใหเ้ จ้าหน้าทีต่ ำรวจสายตรวจ หรือเจ้าหน้าทีต่ ำรวจผู้มาตรวจจดุ ตรวจบงั คับ ทำการ สแกน QR Code และดำเนินการตามขัน้ ตอนตา่ งๆ ผ่านระบบ ด้วยตนเองทุกคร้ัง ๒.๑๑.๖ ในการตรวจจุดตรวจบงั คบั ใหเ้ จ้าหน้าท่ีตำรวจสายตรวจ หรือเจา้ หนา้ ท่ตี ำรวจผู้มาตรวจ หยุดสังเกตการณ์โดยใช้เวลาพอสมควรที่จะสังเกต บุคคล ยานพาหนะ หรือสิ่งผิดปกติได้อย่างรอบคอบ หากสงสัย ให้ทำการตรวจค้น หรือตรวจสอบ และหมายความรวมถึงการประชาสัมพันธ์กบั ประชาชนในพื้นที่ด้วย ไม่ใช่แค่การวิ่ง มาสแกน QR Code แลว้ ก็ผละออกจากพื้นท่ีไปอยา่ งรวดเรว็ ๒.๑๒ จุดตรวจอื่น (ธนาคาร ร้านค้าทอง ร้านสะดวกซื้อ สถานีบริการน้ำมัน และจุดเสี่ยง จุด ลอ่ แหลม) นอกจากการกำหนดจุดตรวจบังคับข้างต้นแล้ว ธนาคาร (หมายความรวมถึงสถาบันการเงิน หรือจุด บริการทางการเงิน ที่มีเงินสดหมุนเวียน) ร้านค้าทอง ร้านสะดวกซื้อทุกแห่ง และสถานีบริการน้ำมัน ยังเป็นสถาน ประกอบการที่มีความเสี่ยงในการก่ออาชญากรรม รวมถึงจุดเสี่ยง จุดล่อแหลมต่างๆ จึงให้ทุกสถานีตำรวจกำหนดจุด ตรวจสำหรับสถานประกอบการ และจุดเสี่ยง จุดล่อแหลมเหล่านี้ โดยให้นำแนวทางการกำหนดจุดตรวจบังคับ มาใช้ โดยอนุโลม เพ่ือเป็นข้อมลู ใหเ้ จา้ หน้าทต่ี ำรวจสายตรวจ หรือเจ้าหน้าทต่ี ำรวจอื่นได้ออกตรวจเพื่อป้องกันอาชญากรรม ตามแผนหรอื เกณฑก์ ารตรวจของเจา้ หน้าทต่ี ำรวจแตล่ ะฝ่าย สำหรับจุดเสี่ยง จุดล่อแหลม ซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีมีสภาพแวดล้อมเอื้ออำนวยต่อการเกิดอาชญากรรม ให้พจิ ารณาจากสถานท่ีต่างๆ ดงั น้ี ๒.๑๒.๑ สะพานลอยคนข้าม ๒.๑๒.๒ ป้ายรถโดยสารประจำทาง หรอื จุดจอดรถแทก็ ซี่ ๒.๑๒.๓ สวนหยอ่ ม หรือสวนสาธารณะ ๒.๑๒.๔ บา้ นรา้ ง ตกึ รา้ ง หรือสถานทร่ี กรา้ ง ซ่ึงมกั จะมีคนเรร่ ่อน คนเก็บของเก่า ผู้มั่วสุมดืม่ สรุ า เล่นการพนัน เสพยาเสพติด ไปมั่วสมุ รวมกลมุ่ กนั ๒.๑๒.๕ ถนน ตรอก ซอย เสน้ ทางลัด ๒.๑๒.๖ รมิ ทางรถไฟ และสถานรี ถไฟ ทกุ ประเภท ๒.๑๒.๗ ใต้สะพาน คอสะพาน หรือเชงิ สะพาน ทกุ ประเภท ๒.๑๒.๘ ริมคลอง บึง แมน่ ำ้ ฝาย ห้วย เข่อื น หาด ฯลฯ ๒.๑๒.๙ หมบู่ ้าน คอนโดมิเนยี ม อพาร์ทเมนท์ เกสต์เฮ้าส์ หอพกั บ้านเช่า ฯลฯ /๒.๑๒.๑๐ สถานทก่ี ่อสร้าง…

21 ๒.๑๒.๑๐ สถานท่ีกอ่ สร้างทางรถไฟ และรถไฟฟา้ ๒.๑๒.๑๑ ที่สาธารณะและทวี่ า่ งเปลา่ ซ่งึ เจ้าของไมไ่ ด้ทำประโยชน์ ๒.๑๒.๑๒ สถานที่อืน่ ๆ ท่ีเข้าขา่ ยเช่นว่าน้ี ๒.๑๓ การจดั ทำแผนการตรวจ การจัดทำแผนการตรวจถือเป็นเคร่ืองมือสำคัญอันหนึ่งในการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมระดับ สถานีตำรวจ เพราะจะต้องใช้สถิติข้อมูลอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในพื้นที่จริง ร่วมกับการประชุมระดมความคิดเห็นจาก เจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่ายในสถานีตำรวจ เพื่อร่วมกันวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรมที่เกิดขึน้ ในพื้นที่ ทำให้เจ้าหน้าที่ ตำรวจทุกฝ่ายรู้เท่าทันสถานการณ์ที่เกิดขึ้น และร่วมปฏิบัติตามแผนที่กำหนดขึ้นในการป้องกันปราบปราม อาชญากรรมได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ โดยในการจดั ทำแผนการตรวจ มีข้อกำหนดทต่ี ้องดำเนนิ การ ดงั นี้ ๒.๑๓.๑ ให้หัวหน้าสถานีตำรวจจัดการประชุมวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรม เพื่อจัดทำ แผนการตรวจของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจทุกสัปดาห์ โดยควรกำหนดให้เจ้าหน้าที่ตำรวจระดับ รอง สว.ขึ้นไปทุกนาย ทุกฝ่ายเข้ารว่ มประชุม ๒.๑๓.๒ ในการวเิ คราะหส์ ถานภาพอาชญากรรม ให้ใชข้ อ้ มลู อาชญากรรมท่ีเกิดขึน้ จริง จาก การบันทึกของเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ เจ้าหน้าที่ตำรวจฝ่ายสืบสวน และเจ้าหน้าที่ตำรวจฝ่ายสอบสวน ในระบบ Police 4.0 โดยไม่คำนึงว่าเหตุที่เกิดขึ้นจะอยู่ในสารบบคดีอาญาหรือไม่ อีกทั้งให้นำข้อมูลข่าวสารอื่นๆ มาใช้ ประกอบการวิเคราะห์ดว้ ย ๒.๑๓.๓ แผนการตรวจต้องมีความชัดเจน ปฏิบัติได้จริง ตรวจสอบได้ และสามารถแก้ไข ปญั หาอาชญากรรมได้ โดยคำนึงถึงวตั ถปุ ระสงค์และเป้าหมายทสี่ ำคัญ ดงั นี้ ๑) เพื่อควบคุมอาชญากรรมให้เกิดน้อยที่สุด โดยมีเป้าหมายที่จะลดสถิติการเกิด คดีอาญาประเภทที่สามารถป้องกันได้ จำพวก Street Crimes ให้อยู่ในระดบั ต่ำ ๒) เพื่อสร้างภาพพจน์และศรัทธาจากประชาชนให้มีความรู้สึกว่าได้รับความ คุ้มครองจากเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจให้ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน แล้ว อย่างเต็มกำลังความสามารถ โดยมีเป้าหมายในการให้บริการประชาชน ได้ทุกรปู แบบและต่อเน่อื ง ๓) เพ่อื สร้างความมน่ั ใจในการปฏบิ ัตหิ น้าทข่ี องเจ้าหน้าทตี่ ำรวจสายตรวจ ๔) เพื่อสร้างความสัมพันธ์และความเขา้ ใจอันดีระหว่างเจ้าหนา้ ที่ตำรวจสายตรวจ และประชาชนทั่วไป โดยมีเป้าหมายในการพบปะเยี่ยมเยียนประชาชนอย่าง สมำ่ เสมอ และมกี ารประชาสัมพันธ์อยา่ งทวั่ ถงึ ๒.๑๓.๔ ในแผนการตรวจ ๑ ผลัด ต้องมีจุด ว.๑๐ อย่างน้อย ๓ จุด (ไม่รวมจุดก้าวสกัดจับ จุด ว.๑๐ เมอื่ ฝนตก หรอื จดุ ว.๑๐ จดุ ตรวจเหล่อื มเวลากอ่ น ว.๑๔) และระยะเวลาทกี่ ำหนดในแผนการตรวจตอ้ งต่อเนื่องกนั ๒.๑๓.๕ กำหนดจุด ว.๔ ว.๑๐ ในการดำเนินการมาตรการเชิงรุกที่สำคัญในการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมทส่ี อดคล้องกบั สถานภาพอาชญากรรมตามชว่ งเวลา เช่น ชว่ งเวลา ๐๗.๐๐ - ๐๘.๐๐ น. และ ช่วงเวลา ๑๕.๐๐ - ๑๖.๐๐ น. ควร ว.๑๐ หน้าสถานศึกษาตามมาตรการป้องกันเหตุนักเรียนทะเลาะวิวาท (เหตุ ๖๐๐) หรอื ชว่ งเวลา ๒๓.๐๐ - ๒๔.๐๐ น. ให้ ว.๔ ตามมาตรการตวี งสุรา เปน็ ต้น /๒.๑๓.๖ กำหนดจุด...

22 ๒.๑๓.๖ กำหนดจุด ว.๑๐ กรณีเข้าจุดก้าวสกัดจับ โดยให้คำนึงถึงสถานภาพอาชญากรรม และเสน้ ทางหลบหนีของคนร้าย ๒.๑๓.๗ กำหนดจดุ ว.๑๐ กรณีฝนตก โดยใหค้ ำนงึ ถึงสถานภาพอาชญากรรม และทัศนวิสัย ในการสงั เกตการณข์ องเจ้าหนา้ ท่ตี ำรวจสายตรวจผูป้ ฏิบตั ิ ๒.๑๓.๘ กำหนดจดุ ว.๑๐ จดุ ตรวจเหล่ือมเวลาก่อน ว.๑๔ กอ่ นออกเวร ๕ นาที ต่อเนื่องไป รวม ๒๐ นาที เพอื่ แกป้ ัญหาช่วงเวลาท่ีเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจเปล่ียนผลัด ทำใหข้ าดกำลังเจา้ หน้าที่ตำรวจสายตรวจ ในพ้ืนท่ี ๒.๑๓.๙ เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจทุกประเภท ต้องมีแผนการตรวจ โดยให้หัวหน้าสถานี ตำรวจกำหนดแผนการตรวจผา่ นระบบ Police 4.0 ๒.๑๓.๑๐ เมื่อมีการกำหนดแผนการตรวจไปแล้ว ให้หัวหน้าสถานีตำรวจ หัวหน้างาน ปอ้ งกนั ปราบปราม และผู้ช่วยหัวหน้างานป้องกันปราบปราม ร่วมกนั ควบคุม ตดิ ตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติ แก้ไขปัญหา และประเมินผล เพือ่ นำมาปรับปรงุ แผนการตรวจตอ่ ไป ๒.๑๔ การจดั รปู แบบออกตรวจ ในการกำหนดแผนให้สายตรวจออกตรวจตราป้องกันเหตุนั้น อาจกำหนดรูปแบบในการออกตรวจ ได้หลายแบบ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม กำลังพล เครื่องมืออุปกรณ์ ยานพาหนะ และสถานภาพอาชญากรรม โดยมรี ูปแบบออกตรวจ ดงั น้ี ๒.๑๔.๑ การตรวจประจำเขต คือ การจัดสายตรวจ ตรวจตรารับผิดชอบประจำในเขตตรวจ ใดเขตตรวจหนึ่งตลอดเวลาการปฏิบัติหนา้ ท่ี การตรวจแบบนี้ สายตรวจสามารถตรวจตราได้อยา่ งทัว่ ถึง เพราะประจำ อยูใ่ นเขตตรวจเปน็ เวลานาน และสามารถสร้างความคนุ้ เคยกับประชาชนในพ้ืนที่ได้เป็นอยา่ งดี เป็นผลดีต่องานตำรวจ ชุมชนสัมพันธ์ แต่อย่างไรก็ตามการตรวจประจำเขตอาจมีข้อเสีย กล่าวคือ ทำให้สายตรวจเกิดความเบ่ือหน่าย เพราะ ต้องตรวจตราในเขตแคบๆ อย่างจำกัดตลอดเวลา นอกจากนี้หากมีเหตุร้ายในเขตตรวจอื่น ซึ่งสายตรวจต้องไป รวม กำลงั ชว่ ยเหลือ จะขาดความรู้ ความชำนาญพื้นท่ีในเขตตรวจนัน้ ซึง่ ไม่เคยตรวจตรา อาจทำใหก้ ารเดินทางไปยังท่ีเหตุ ล่าช้า และขีดความสามารถการปฏิบัติการในบริเวณที่เกิดเหตุไม่เพียงพอ และประการสุดท้ายได้แก่การที่สายตรวจ ประจำเขตมคี วามคนุ้ เคยกบั ประชาชนอยา่ งแนน่ แฟน้ อาจทำใหก้ ารออกตรวจลาดตระเวนมีน้อย เน่อื งจากอาจใช้เวลา สว่ นใหญพ่ ูดคยุ สังสรรคก์ ับประชาชนและการปราบปรามอาจไดผ้ ลนอ้ ย อนั เนื่องมาจากความเกรงใจกันและกนั ได้ ๒.๑๔.๒ การตรวจหมุนเขต คือ การตรวจที่ตรงกันข้ามกับการตรวจประจำเขต กล่าวคือ เป็นการจัดสายตรวจให้ตรวจตรารับผิดชอบอยู่ในเขตตรวจใดเขตตรวจหนึ่งในช่วงเวลาจำกัด เช่น ๑ หรือ ๒ ชั่วโมง แลว้ ให้หมนุ เวียนไปตรวจเขตใกล้เคียง โดยมีสายตรวจเขตอ่ืนเขา้ ไปตรวจแทนท่ี หมุนเวียนกนั ไปจนเสร็จสิ้นการปฏิบัติ หน้าที่ ผลดีของการใช้รูปแบบน้ี ทำให้สายตรวจทกุ คันมีความชำนาญในพื้นที่ทั่วถึงและครอบคลุม มีขีดความสามารถ ในการปฏิบัติงานได้ทุกเขตตรวจ ไม่เกิดความจำเจ เบื่อหน่าย แต่มีข้อจำกัด คือ การที่ต้องตรวจตราไปทุกเขต อาจทำให้ ความชำนาญ ความคุ้นเคยกับพื้นที่ หรือประชาชน มีน้อยกว่าแบบแรก แต่ถ้าปฏิบัติต่อเนื่องนานๆ ไป ก็ย่อมพัฒนา ความรู้ความชำนาญในเรือ่ งนไ้ี ด้เช่นกัน ๒.๑๔.๓ การตรวจข้ามสถานี คือ การกำหนดให้สายตรวจตรวจข้ามเขตสถานีตำรวจตรงบริเวณ รอยต่อตะเข็บของสถานีใกล้เคียง โดยการกำหนดจุดตรวจของสถานีหนึ่งให้ล่วงล้ำไปในเขตของอีกสถานีหนึ่ง /ที่มเี ขตติดต่อกัน…

23 ที่มีเขตติดต่อกัน และกำหนดให้สายตรวจที่รับผิดชอบเขตตรวจติดต่อ ตรวจข้ามเขตเข้าไปตรวจในเขตตรวจของอีกสถานี หนึ่งด้วย การกระทำเช่นนี้เท่ากับเป็นการอุดช่องโหว่ที่คนร้ายหรือผู้กระทำผิดมักหลบซ่อนตัวอยู่ตามรอยตะเข็บหรือ เขตติดต่อของสถานีตำรวจ อันเป็นพื้นที่ห่างไกล ที่สายตรวจมักตรวจไปไม่ถึง ซึ่งจะทำให้รอยต่อของแต่ละสถานีมีตำรวจ เข้าไปตรวจตราอยเู่ สมอ ๒.๑๔.๔ การตรวจกระจายกำลัง คือ การตรวจแบบนำกำลังสายตรวจไปปล่อยลงตามจุดต่างๆ แล้วให้สายตรวจออกตรวจตราในรัศมีใกล้เคียง และเมื่อตรวจได้ในระยะหนึ่งก็รับกำลังสายตรวจไปปล่อยตรวจในจุดอ่ืน ต่อไป การตรวจแบบนี้มักจะใช้กับการตรวจย่านชุมชนหรือหมู่บ้านที่แต่ละจุดอยู่ห่างไกลกันและจำเป็นต้องเตรียม รถยนต์บรรทกุ กำลงั ไปปลอ่ ยตามจุด รูปแบบการตรวจที่กล่าวมาทั้ง ๔ แบบนี้ ในการปฏิบัติของสถานีอาจเลือกรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรืออาจใช้หลายรูปแบบผสมผสานกันไป เพื่อให้เกิดความเหมาะสมและประสิทธิภาพสูงสุดสำหรับการป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมต่อไป ๒.๑๕ การควบคุมตรวจสอบการปฏิบัตงิ านสายตรวจ การควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ของสายตรวจเป็นการมุ่งพิจารณาถึงประสิทธิผลการปฏิบัติหน้าที่ สนองตอบต่อความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ประกอบด้วย การใช้ระบบ ควบคมุ ท่สี ำคัญ ๓ สว่ นคอื ๒.๑๕.๑ การควบคุมการปฏิบัติหน้าที่ประจำปกติของตำรวจ โดยผู้บังคับบัญชาและโดยอาศัย กระบวนการตรวจราชการของตำรวจ ท่มี ผี ลในทางปฏิบัตอิ ยา่ งจริงจัง ๒.๑๕.๒ การควบคุมโดยการกวดขันวินัยของตำรวจจากผู้บังคับบัญชาอย่างเด็ดขาดจริงใจ และการรับพิจารณาเก่ยี วกบั การรอ้ งทุกข์ของประชาชนต่อการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีมิชอบของตำรวจ ๒.๑๕.๓ การวิจัยและประเมินผลการปฏิบัติหน้าที่ของตำรวจ เพื่อประโยชน์ต่อการกำหนด แผนปฏิบัตงิ านสายตรวจที่มปี ระสทิ ธิภาพต่อไป แต่อย่างไรก็ตามจุดมุ่งหมายหลักของการควบคุมบังคับบัญชาตำรวจจะต้องเกี่ยวข้องกับประเด็น สำคญั ๓ ประการ คือ ๑) เพอื่ ป้องกนั มิใหส้ ายตรวจใช้อำนาจหนา้ ที่ในทางมิชอบ ๒) เพื่อเสริมความมั่นใจแก่ฝา่ ยบรหิ ารว่าสายตรวจเคารพและปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ในการดำรงรักษา ระเบยี บวนิ ยั ภายในหน่วยงาน ๓) เพื่อติดตามและประสานการปฏิบัติงานของสายตรวจให้ไปสู่วัตถุประสงค์และเป้าหมายของ หนว่ ยงาน ตามหลักการบริหาร การควบคุมตรวจสอบการปฏิบัติงานอยู่นั้น ถือว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ทั้งน้ี เนื่องจากหากมีการปฏิบัติที่ผิดพลาด บกพร่อง หรือมีอุปสรรคใดๆ เกิดขึ้น ผู้คุมตรวจสอบจะได้รีบหาแนวทาง และ วิธีการตักเตือนแก้ไขมิให้เกิดความเสียหายใหญ่โต และยังมีจุดมุ่งหมายเพื่อตรวจสอบดูว่างานที่ได้รับมอบหมายให้ไป ปฏบิ ัติจดั ทำดำเนินไปตามแผนท่ีกำหนดไว้หรือไม่ มีวธิ ีการปฏบิ ัตถิ ูกต้องตามหลักการทดี่ ีหรือไม่ ตลอดจนถือเป็นขวัญ และกำลงั ใจให้แก่เจา้ หน้าท่ผี ู้ปฏบิ ัติซงึ่ จะเกิดความรู้สกึ ว่าผบู้ งั คบั บัญชาไม่ทอดทิ้ง ยังมีความห่วงใยพวกเขาอยู่ /๒.๑๖ การตง้ั จุดตรวจ…

24 ๒.๑๖ การตัง้ จดุ ตรวจ ๒.๑๖.๑ ความหมายสำคญั ๑) จดุ ตรวจ หมายถงึ สถานที่ที่เจา้ พนักงานตำรวจออกปฏิบตั หิ น้าที่ตรวจค้น เพ่ือ จับกุมผู้กระทำความผิดในเขตทางเดินรถ หรือทางหลวงในกรณีปกติเป็นการ ชั่วคราว โดยมีกำหนดระยะเวลาเท่าที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการปฏิบัติ หน้าที่ดังกล่าว แต่ต้องไม่เกิน ๒๔ ชั่วโมง และเมื่อเสร็จสิ้นภารกิจแล้วจะต้อง ยบุ เลิกจดุ ตรวจดังกลา่ วทันที ๒) จุดสกัด หมายถึง สถานที่ที่เจ้าพนักงานตำรวจออกปฏิบัติหน้าที่ตรวจค้น เพื่อ จับกุมผู้กระทำความผิดในเขตทางเดินรถหรือทางหลวง ในกรณีที่มีเหตุการณ์ ฉุกเฉินหรือจำเป็นเร่งด่วนเกิดขึ้นเป็นการชั่วคราว และจะต้องยุบเลิกเมื่อเสร็จ ส้ินภารกจิ ดังกล่าว ๓) ด่านตรวจ หมายถึง สถานที่ทำการที่เจ้าพนักงานตำรวจออกปฏิบัติหน้าที่ ในการตรวจค้นเพ่ือจับกุมผู้กระทำความผิดในเขตทางเดินรถ (ความหมายตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๓๕) โดยระบุสถานที่ไว้ชัดแจ้งเป็นการถาวร การตั้ง ด่านตรวจจะต้องได้รับการอนุมัติจาก ครม. หรือผู้มีอำนาจตามกฎหมายว่าด้วย ทางหลวง หรือ กอ.รมน.แล้วแต่กรณี ๒.๑๖.๒ ความสำคัญของการตัง้ จดุ ตรวจ และจดุ สกัด ๑) เพ่ือควบคมุ พน้ื ที่ล่อแหลมตอ่ การเกดิ อาชญากรรม ๒) เพื่อเป็นการป้องกันปราบปรามการกระทำผดิ กฎหมาย ๓) เพื่อเปน็ การปิดเส้นทางและตดั ชอ่ งโอกาสคนร้ายหลบหนี ๔) เพอ่ื ตรวจคน้ บุคคล หรอื ยานพาหนะทผ่ี า่ นเขา้ ออกพื้นที่ ๕) เพื่อคน้ หาสง่ิ ผิดกฎหมาย อาวธุ เคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการกระทำผิด ๒.๑๖.๓ หลกั การพ้นื ฐานของการต้งั จุดตรวจ จดุ สกดั ๑) การตั้งด่านตรวจ จุดตรวจ หรือจุดสกัด ในเขตทางเดินรถหรอื ทางหลวง ต้องมี นายตำรวจช้ันสญั ญาบตั รเปน็ หัวหนา้ ควบคมุ และได้รบั อนมุ ัตจิ ากผู้บังคับบัญชา โดยจะต้องแต่งเครื่องแบบในการปฏิบัติหน้าที่ และการตั้งจุดตรวจ หรือจุดสกัด ให้ทุกหน่วยประสานการปฏิบัติระหว่างหน่วยใกล้เคียงให้ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิด ความซำ้ ซ้อนกนั ๒) การปฏิบัติในการตรวจค้น จับกุม ต้องปฏิบัติตามกฎหมายวิธีพิจารณาความ อาญา, ประมวลระเบียบการตำรวจเกี่ยวกับคดีว่าด้วยการนั้น, คำสั่ง ตร.ที่ ๑๗๘/๒๕๖๔ เรื่องการบันทึกภาพและเสียงการตรวจค้นจับกุม และการ สอบสวนคดอี าญา และคู่มือการตั้งจุดตรวจเพื่อบังคับใช้กฎหมายวา่ ด้วยจราจร ทางบกและความผิดที่เกี่ยวกับรถหรือการใช้ทาง และคู่มือยุทธวิธี่ตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ โดยเครง่ ครดั /3) มีแผงก้นั แสดง…

25 ๓) มีแผงกั้นแสดงเครื่องหมายว่า “หยุดตรวจ” และควรจัดให้มีสิ่งกีดขวางหรือ สัญญาณอื่นใดให้เป็นที่สังเกตได้ง่ายในระยะไกล เช่น กรวยยางคาดสีสะท้อน แสง เพื่อช่วยป้องกันอุบตั เิ หตุทอ่ี าจเกิดขึ้น ๔) ในเวลากลางคืนต้องให้มีแสงส่องสว่างให้มองเห็นได้อย่างชัดเจน ในระยะ ไม่น้อยกว่า ๑๕๐ เมตร กอ่ นถงึ จุดตรวจ ๕) กำหนดเขตพื้นที่ปลอดภัยไว้สำหรับเป็นบริเวณตรวจค้น เพื่อให้เกิดความ ปลอดภัยทั้งแก่ผู้ต้องสงสัยที่ถูกตรวจค้นและเจ้าหน้าที่ตำรวจระหว่างทำการ ตรวจคน้ ๖) ควรวางกำลงั สว่ นหนงึ่ ไว้บริเวณทางแยกหรือจดุ กลับรถก่อนถึงจุดตรวจหรือจุด สกัด เพื่อไว้ทำจุดสกัดกั้นหรอื ไล่ติดตามผู้ทีเ่ ล้ียวหรือกลับรถหลบหนกี ารตรวจ ค้น ๗) พึงใช้ความระมัดระวังและตั้งอยู่ในความไม่ประมาททุกขณะทำการตรวจค้น และควรมีการตดิ ต้งั กล้อง CCTV บนั ทึกภาพการตรวจค้นไว้ตลอดด้วย ๘) พงึ เป็นผู้มีมารยาททด่ี ีงามและรักษากิริยาวาจาระหว่างการตรวจค้น เช่น ไม่ส่องไฟ บริเวณใบหน้าประชาชนผู้ถูกตรวจค้นโดยตรง และรู้จักใช้คำพูดที่สุภาพ เช่น สวัสดีครบั ขอโทษครบั ขอบคุณครับ ๙) ใช้ความสังเกตและให้ความสนใจเป็นพิเศษแก่พาหนะที่มีลักษณะพิรุธ เช่น รถจักรยานยนต์ที่ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน หรือพับงอแผ่นป้ายทะเบียนเพื่อบดบัง อำพรางหมายเลข หรอื พาหนะทมี่ กี ารดัดแปลงสภาพ ๑๐)ในการปฏิบัติการตั้งจุดตรวจหรือจุดสกัด ให้คำนึงถึงความปลอดภัยของ เจา้ หนา้ ทต่ี ำรวจผปู้ ฏิบัติงานและประชาชน ไม่ก่อให้เกดิ ปัญหาความเดือดร้อน แก่ประชาชนผูใ้ ช้ทางโดยไมจ่ ำเป็น ๒.๑๖.๔ หลักการพจิ ารณาในการต้ังจดุ ตรวจ จดุ สกดั ๑) สภาพภูมปิ ระเทศท่ีปลอดภยั ต่อการปฏบิ ัติทงั้ ต่อเจ้าหน้าท่ีตำรวจและประชาชน ๒) สภาพภมู ิอากาศ ฝนไม่ตก/แดดไมร่ อ้ นจัด ๓) สภาพการจราจรไม่หนาแน่น ไมต่ ดิ ขัด ๔) เป็นพื้นท่ที ่ีเกี่ยวกับความมัน่ คง ๕) เป็นพ้นื ที่ทม่ี ีการเกดิ อาชญากรรมสงู ๖) เปน็ เสน้ ทางทค่ี นรา้ ยมกั ใช้ในการหลบหนี ๒.๑๖.๕ อุปกรณแ์ ละเครือ่ งมือในการตง้ั จดุ ตรวจจุดสกดั ๑) รถยนต์สายตรวจ รถจกั รยานยนต์ ท่ีมีไฟส่องสัญญาณ ๒) แผงกั้นจุดตรวจ โดยมีแสงไฟส่องสว่างให้มองเห็นได้อย่างชัดเจนในระยะไม่ น้อยกวา่ ๑๕๐ เมตร ในเวลากลางคนื กอ่ นถงึ จดุ ตรวจ /3) แผงประชาสัมพนั ธ์...

26 ๓) แผงประชาสัมพันธ์ก่อนถึงจุดตรวจค้น “ขออภัยในความไม่สะดวก” หรือแผงเตือน “จดุ ตรวจข้างหนา้ โปรดลดความเร็ว” ๔) กรวยยางจราจรสีส้ม วางก่อนถึงจุดตรวจค้น ตามแนวช่องทางเดินรถ รวมถึง การรกั ษาพน้ื ทีป่ ลอดภยั ๕) กระบองไฟสญั ญาณบอกตำแหน่ง ๖) ไฟฉาย/สปอตไลท์ ประจำรถยนต์สายตรวจ และบรเิ วณจุดตรวจคน้ ๗) เครอื่ งขายเสยี งแบบมือถือ ๘) เครอ่ื งตรวจโลหะแบบมอื ถอื ๙) อุปกรณ์ตรวจใต้ทอ้ งรถ ๑๐)กล้องถา่ ยภาพ/กลอ้ งบันทกึ ภาพ/CCTV ๑๑)ตวั สกัด (ขวาก) ๒.๑๖.๖ ขั้นตอนการปฏบิ ัติ การควบคุม การตรวจสอบการปฏบิ ัติ ๑) เรียกแถวตรวจยอดกำลังพล ตรวจความพร้อมของเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติ โดยลงทะเบียนการปฏิบัติหน้าที่ผ่านระบบ Police 4.0 รวมทั้งอุปกรณ์ เครือ่ งมือ เครอื่ งใช้ในการต้งั จุดตรวจ ๒) อบรมชี้แจงสถานภาพอาชญากรรม การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจในช่วงเวลา ที่ผ่านมา แนวนโยบายและคำสั่งของผู้บังคับบัญชา และข้อราชการต่างๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ ง ๓) กำหนดตัวเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติในแต่ละส่วนของพื้นที่จุดตรวจ และทำ ความเขา้ ใจกับบทบาทหนา้ ทีข่ องแต่ละคนใหช้ ัดเจน ๔) การตั้งจุดตรวจ หรือจุดสกัด ให้รายงานทางศูนย์วิทยุ ให้ผู้บังคับบัญชาทราบ เมื่อเริ่มต้นและในระหว่างการปฏิบัติหน้าที่ตรวจค้นของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ผู้ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ควบคุมจะต้องกำกับดูแลการปฏิบัติให้เป็นไปตามระเบียบ กฎหมาย เพื่อมิให้เจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ระหว่างปฏิบัติหนา้ ที่ ๕) เมือ่ เสรจ็ ส้นิ การปฏบิ ัติให้รายงานผลการปฏิบัติผา่ นทางศูนยว์ ิทยุ และในระบบ Police 4.0 ๒.๑๗ การสกัดจบั การสกัดจับถือเป็นขั้นตอนสำคัญขั้นตอนแรกในการจับกุมคนร้ายหลังก่อเหตุ และเจ้าหน้าที่ตำรวจ ทุกฝ่ายที่อยู่ในพื้นที่ ทั้งเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ จราจร ฝ่ายสืบสวน ต้องรีบเข้าจุดก้าวสกัดจับที่กำหนด เม่ือเจ้าหน้าที่ตำรวจในทุกสถานีตำรวจเข้าจุดก้าวสกัดจับ จะเปรียบเสมือนการขึงตาข่ายท่ัวพ้ืนที่เพื่อดักจับคนร้าย ท่ีกำลังหลบหนี โดยมคี ุณลักษณะและแนวปฏบิ ัตทิ ่ีสำคญั ดังนี้ /๒.๑๗.๑ ให้หวั หนา้ …

27 ๒.๑๗.๑ ให้หัวหนา้ สถานตี ำรวจกำหนดจดุ ก้าวสกัดจบั ในระบบ Police 4.0 ในรูปแบบ QR code และในแผนการตรวจให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่ายที่อยู่ในพื้นที่ ครอบคลุมทุกเขตตรวจ โดยเฉพาะเส้นทางที่คาดว่า คนรา้ ยจะใช้เป็นเสน้ ทางหลบหนี ๒.๑๗.๒ ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจที่รับผิดชอบเขตตรวจที่เกิดเหตุ รีบเดินทางไปยังสถานที่ เกิดเหตุโดยเร็วที่สุด เพื่อหาข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับตำหนิรูปพรรณของคนร้าย ยานพาหนะที่ใช้ ทรัพย์สินที่ได้ไป เส้นทางหลบหนี และอาวุธที่ใช้ แล้วแจ้งสกัดจบั ไปยังศูนย์วิทยุ บก.น./ภ.จว. หรือ สน./สภ. โดยเร็วที่สุด แล้วรายงาน ให้หวั หนา้ สายตรวจทราบ ๒.๑๗.๓ ให้หัวหน้าสายตรวจ รีบเดินทางไปยังสถานที่เกิดเหตุ เพื่อหาข้อมูลเพิ่มเติม แล้ว แจ้งข้อมูลเพิ่มเติมนั้นให้ศูนย์วิทยุทราบ และให้หัวหน้าสายตรวจรายงานผู้บังคับบัญชาทราบตามลำดับชั้น ถึงหัวหน้า สถานีตำรวจ เพื่อให้ผู้บังคับบญั ชาพิจารณาส่งั การ ๒.๑๗.๔ ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่าย ว.๑๐ ประจำจุดก้าวสกัดจับ พร้อมสแกน QR Code ใช้เวลาประมาณ ๒๐ - ๓๐ นาที หลังจากนั้นให้ หัวหน้าสายตรวจ หรือ สวป.(เวร) หรือ รอง ผกก.ป. หรือหัวหน้า สถานตี ำรวจ แลว้ แต่กรณี พจิ ารณาสั่งให้เลิก ว.๑๐ ๒.๑๗.๕ การซักซ้อมการสกัดจับ ให้มีการซักซ้อม โดยแบ่งการซักซ้อมออกเป็น ๒ ระดับ ตามวงรอบ ดงั นี้ ๑) ระดับ บก.น./ภ.จว. ให้ ผบก. หรือ รอง ผบก.(ที่รับผิดชอบงานป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม) เป็นผู้อำนวยการซักซ้อม โดยใช้กำลังทุก สน./สภ. เขา้ รว่ มการซกั ซ้อม และใหป้ ระสาน บก./ภ.จว. ข้างเคียงใหท้ ราบหรือเพอ่ื รว่ มปฏิบัติ โดยกำหนดวงรอบการซกั ซอ้ มอยา่ งน้อยทุก ๒ เดอื น ๒) ระดับ บช.น./ภ.๑ - ๙ ให้ ผบช. หรือ รอง ผบช.(ที่รับผิดชอบงานป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรม) เป็นผู้อำนวยการซักซ้อม โดยใช้กำลังทุก สน./สภ. ในทุก บก.น./ภ.จว. เข้าร่วมการซักซ้อม โดยกำหนดวงรอบการซักซ้อม อย่างนอ้ ยทกุ ๓ เดือน ๒.๑๘ มาตรการเชิงรุกสำคญั ทส่ี นบั สนุนระบบงานสายตรวจในการปอ้ งกนั ปราบปรามอาชญากรรม การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่ ที่มีพื้นฐานจากข้อมูลท้องถิ่น การสำรวจจุดเสี่ยง จุดล่อแหลม การวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรมที่เกิดขึ้น จนนำมาสู่การจัดระบบสายตรวจ และแผนการตรวจนั้น หากสถิติ อาชญากรรมเพิ่มสูงขึ้น และผู้บรหิ ารงานป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรมมองในบริบทนี้เพียงบริบทเดียว โดยการเพ่ิม กำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ หรือเพิ่มความถี่ในการตรวจให้มากขึ้นกว่าเดิม ย่อมไม่ส่งผลสัมฤทธิ์ในการมุ่งลดสถิติ อาชญากรรม หรือแกไ้ ขปัญหาในพนื้ ทใ่ี หล้ ดลงได้ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องกำหนดมาตรการเชิงรุก ที่เปรียบเสมือนกลยุทธ์ในการป้องกันอาชญากรรม เพิ่มเติม และแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด โดยในส่วนนี้สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้กำหนดมาตรการเพื่อให้หน่วยปฏิบัติ นำไปใช้แก้ปัญหาให้เหมาะสมแต่ละพื้นที่ ซึ่งมีสถานการณ์แตกต่างกัน โดยมีแนวคิดที่ว่าไม่จำเป็นต้องนำมาตรการ เชิงรุกเหล่านี้ไปใช้ทุกมาตรการ แต่อยากให้ภายในสถานีตำรวจร่วมกันวิเคราะห์วางแผน ทำนายไปในอนาคตข้างหน้าว่า ในพื้นท่ีเราเองนน้ั ควรใชม้ าตรการใด เพื่อป้องกนั เหตใุ ด และหากเกิดปญั หาอาชญากรรมขนึ้ ในพ้ืนที่ ต้องนำมาตรการ /ไปใชใ้ นการแก้ไข…

28 ไปใช้ในการแก้ไขปัญหา ตอ้ งตอบผบู้ งั คบั บัญชาหรอื จเรตำรวจทีไ่ ปตรวจสอบการปฏิบัตวิ ่า เมอื่ เกิดปัญหาอาชญากรรม ขึ้นในพื้นที่แล้ว ได้ทำอะไรไปเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาหรือบรรเทาผลร้ายที่เกิดกับประชาชนและสังคมแล้วบ้าง และ หากมีแนวคิดในการกำหนดมาตรการใหม่ ก็ขอให้นำแนวทฤษฎีอาชญาวิทยา อาทิ ทฤษฎีป้องกันอาชญากรรมตาม สถานการณ์ (Situation Crime Prevention) และทฤษฎีสามเหลี่ยมอาชญกรรม (Crime Triangle Theory) มาใช้ เป็นกรอบในการกำหนดมาตรการนั้นๆ โดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติไดก้ ำหนดมาตรการทีค่ วรนำมาใช้ ดงั น้ี ๒.๑๘.๑ มาตรการยดึ รถต้องสงสยั จากสถิติอาชญากรรมที่ผ่านมา คนร้ายที่ก่อเหตุส่วนใหญ่มักใช้รถจักรยานยนต์เป็น ยานพาหนะในการกระทำผิด และรถจักรยานยนต์ที่ใช้ในการกระทำความผิดเหล่านั้น ก็มักไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน หรือใช้วัสดอุ น่ื ปดิ บงั แผ่นป้ายทะเบียนไว้ หรอื ไม่มีหลักฐานแสดงความเปน็ เจา้ ของรถ ดังนั้น จึงต้องมีมาตรการในการตดั ชอ่ งโอกาสของคนร้ายในการกระทำความผิด โดยการนำ มาตรการยึดรถต้องสงสัยมาใช้บังคบั โดยกำหนดให้เจ้าหนา้ ที่ตำรวจสายตรวจหรือเจ้าหน้าท่ีตำรวจฝ่ายอืน่ ที่ทำหน้าที่ ป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม ไมว่ า่ จะเป็นเจา้ หน้าที่ตำรวจจราจร หรือเจ้าหน้าทต่ี ำรวจฝ่ายสืบสวน ท่ีปฏิบัติหน้าท่ี อยู่ในพื้นที่ ตรวจค้นจับกุมรถต้องสงสัยที่มีลักษณะเหล่านั้น คือ ไม่ติดแผ่นป้ายทะเบียน ใช้วัสดุอื่นปิดบังแผ่นป้าย ทะเบียน หรอื ผขู้ บั ขี่ไม่มหี ลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของรถ พรอ้ มแนวคิดประกอบการสังเกตคือ “หนา้ โจร วัยโจร รถโจร” แล้วนำผู้ขับขี่ ผู้ซ้อน รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ต้องสงสัยนั้น มาถ่ายรูปทำประวัติผ่านแอพพลิเคชั่น Police 4.0 และตรวจยึดรถที่ไม่มีหลักฐานแสดงความเป็นเจ้าของรถส่งมอบพนักงานสอบสวนดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป (สารบบการตรวจยึดรถต้องสงสัยทุกคันจะถูกบันทึกไว้ในระบบ Police 4.0 และเมื่อเจ้าของรถนำหลักฐานมาแสดง เพ่อื ขอรับรถคนื ใหพ้ นกั งานสอบสวนผู้รับผดิ ชอบดำเนนิ การตามอำนาจหน้าที่ และบันทกึ ผลการดำเนนิ การผ่านระบบ Police 4.0 ให้เรียบร้อยทุกครั้ง) ซึ่งเดิมเรามีความเชื่อว่า เมื่อบุคคลถูกถ่ายรูปทำประวัติไว้ที่สถานีตำรวจแล้ว จะไม่กล้า ก่อเหตุอีก แต่สำหรับการดำเนินการผ่านระบบ Police 4.0 นี้ ยิ่งต้องประชาสัมพันธ์ให้บุคคลที่ถูกทำประวัติทราบวา่ ข้อมูลที่บันทึกนี้ จะสามารถใช้สืบค้นได้ในอนาคต เพื่อเป็นการป้องปรามพฤติกรรมของบุคคลที่มีความเสี่ยงในการกอ่ อาชญากรรม ๒.๑๘.๒ มาตรการพิทักษเ์ ด็กและเยาวชน ในปัจจบุ ันมแี นวโน้มท่ีผู้กระทำความผิดจะเป็นกลุ่มเด็กและเยาวชนมากข้ึน ดังน้ันเจ้าหน้าที่ ตำรวจสายตรวจจึงมีความจำเป็นต้องนำมาตรการตาม พ.ร.บ.คุ้มครองเด็ก พ.ศ.๒๕๔๖ มาใช้บังคับให้เป็นไปตาม กฎหมาย โดยกำหนดให้สถานีตำรวจ กำหนดจดุ ตรวจ QR Code ทีเ่ ปน็ แหล่งมวั่ สุมของเดก็ และเยาวชน เช่น รา้ นเกมส์ หรืออินเตอร์เน็ต สถานบริการ หรือแหล่งมั่วสุมอื่นๆ และออกตรวจตามแผน หากหลังเวลา ๒๒.๐๐ น. พบเด็กและ เยาวชนอยู่ตามลำพัง ในสถานที่ดังกล่าวเหล่านั้น หรือสถานที่อื่น โดยไม่มีบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง อยู่ด้วย ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจนำตัวเด็กและเยาวชนนั้นมาที่สถานีตำรวจ เพื่อถ่ายรูปทำประวัติผ่านแอพพลิเคชั่น Police 4.0 และติดต่อบิดา มารดา หรือผู้ปกครอง มารับตัวไป (เมื่อมีผู้มารับตัวก็ให้ลงรายละเอียดที่สำคัญผ่าน แอพพลิเคชั่น Police 4.0 เช่นกัน) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครอง ได้รับรู้พฤติกรรมของบุตรหลาน และใหม้ ีส่วนร่วมรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโดยการชว่ ยดูแลบตุ รหลานของตนเอง นอกจากนย้ี ังเปน็ การป้องกนั เหตุท่อี าจเกิดขึ้นกับ เด็กและเยาวชน โดยมิต้องรอให้เหตุน้ันเกิดข้ึนก่อน อีกทั้งในทางกลับกันยังเป็นการป้องปรามมิให้เด็กและเยาว ชน ที่มีความเสีย่ งในการกอ่ อาชญากรรมได้ก่อเหตุ ตามสุภาษติ ไทยที่วา่ “ตดั ไฟเสียแตต่ น้ ลม” /ในการปฏิบตั ิ…

29 ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับมาตรการพิทักษ์เด็กและเยาวชน เพื่อให้การดำเนินการแก้ไข ปัญหาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยั่งยืน ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจประสานงานกับหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง เช่น กระทรวงการ พฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ เป็นตน้ ๒.๑๘.๓ มาตรการตีวงสุรา มาตรการตีวงสุรา เป็นยุทธวิธีหนึ่งของตำรวจในการป้องกันไม่ให้มีเหตุร้ายเกิด กล่าวคือ ตำรวจจะตอ้ งเข้าไปประชาสัมพันธต์ ักเตือนประชาชนที่ด่ืมสุราในที่สาธารณะ รา้ นอาหาร ใหเ้ ลกิ ดมื่ และกลับที่พัก เม่ือ ถึงเวลาที่เหมาะสม หากปล่อยให้ดื่มสุราต่อไปจนขาดสติ อาจจะไปก่อเหตุทะเลาะวิวาทหรือไปกระทำความผิดอื่นๆ เช่น ความผิดต่อทรัพย์ ชีวิต ร่างกาย หรือเพศ เป็นต้น ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันเหตุ จึงกำหนดให้สถานีตำรวจ กำหนดจุดตรวจ QR Code ในพื้นที่เสี่ยงหรือสถานบริการที่อาจเกิดการมั่วสุมดื่มสุรา และให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสาย ตรวจออกตรวจสอบและสลายวงสุราในพื้นที่ดังกล่าวเหล่านั้น หรือในที่สาธารณะ หรือวงสุราที่ส่งเสียงดังก่อความ เดือดร้อนรำคาญให้แก่ประชาชนอื่น เช่น ที่พักคนงานก่อสร้างที่นั่งมั่วสุมดื่มสุราร้องรำทำเพลงส่งเสียงดัง เป็นต้น รวมทั้งให้มีการตรวจสอบจับกุมผู้จำหน่ายสุราโดยไม่ได้รับอนุญาต และจำหน่ายสุราในเวลาที่ห้ามจำหน่าย ตามท่ี กำหนดไว้ใน พ.ร.บ.สรุ า พ.ศ.๒๕๒๔ เพื่อเป็นการตัดโอกาสหรอื ปัจจัยที่จะทำใหเ้ กิดเหตุไปเสีย และให้รายงานผลการ ปฏบิ ตั ิเป็นประจำทุกครั้งผา่ นแอพพลเิ คชน่ั Police 4.0 เรอ่ื งปญั หาการดม่ื สรุ าของประชาชนบางกล่มุ อาจจะเปน็ การก่อความเดือดร้อนให้กับพ่ีน้อง ประชาชนในพื้นที่ และอาจจะเป็นสาเหตุในการกระทำความผิดกฎหมาย ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาให้มี ประสิทธิภาพในกรณีที่เป็นการกระทำความผิดที่ซ้ำซาก ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจประสานงานกับหน่วยงานปกครองส่วน ท้องถ่นิ เชน่ ผูอ้ ำนวยการเขต ผใู้ หญบ่ า้ น กำนนั ฯลฯ เพือ่ วางแผนและร่วมกนั แก้ไขปญั หาดังกล่าว ๒.๑๘.๔ มาตรการป้องกันเหตนุ ักเรยี นทะเลาะวิวาท (เหตุ ๖๐๐) มาตรการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระงับความรุนแรงของปัญหานักเรียนทะเลาะวิวาท ไม่ให้เกิด ผลกระทบกับความปลอดภัยของประชาชนในพื้นที่ สำหรับสถานีตำรวจที่มีปัญหาหรือความเสี่ยงที่นักเรียนจะก่อเหตุ ทะเลาะวิวาทกันนั้น ควรประสานกับสถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการร่วมกันวางแผนและแก้ไขปัญหา ดังกลา่ ว โดยใชม้ าตรการเชิงรกุ เขา้ ไปสบื สวนหาข่าวในสถาบันการศึกษาเพ่ือหาขอ้ มูล ประวัตินกั เรยี น นักศึกษา ที่เป็น กลุ่มเส่ียง มแี นวโนม้ จะก่อเหตุ และเฝ้าระวังติดตามความเคลื่อนไหว หรอื เชิญตัวมาพดู คุยทำความเขา้ ใจ ปรับทัศนคติ พร้อมถ่ายรูปทำประวัติ นอกจากนี้ควรมีการประสานขอความร่วมมือในการตรวจค้นอาวุธตามสถานศึกษาต่างๆ หรือ จัดสายตรวจ ว.๑๐ บริเวณหน้าสถานศึกษาหรือป้ายรถประจำทางใกลเ้ คยี ง หรือจุดลอ่ แหลมต่างๆ ทมี่ ักมีกลุ่มนักเรียน นักศึกษา มารวมกลุ่มกัน หากตรวจพบนักเรียน นักศึกษาที่ต้องสงสัยให้ทำการตรวจค้น และประชาสัมพันธ์ให้กลุ่ม นกั เรยี น นกั ศกึ ษา สลายตวั ไป ในการดำเนินการตามมาตรการนี้นั้น แต่ละสถานีตำรวจต้องบูรณาการกำลังทุกฝ่ายร่วม ปฏิบัติ และหากปัญหามีแนวโน้มขยายวงกว้าง หรือทวีความรุนแรง เกินกว่ากำลังเฉพาะสถานีตำรวจจะรับมือได้ ให้ประสานไปยัง บก.น./ภ.จว. รว่ มแก้ไขปัญหา โดยกำหนดให้แตล่ ะสถานีตำรวจกำหนดจุดตรวจ QR Code ตามมาตการน้ี และดำเนินการในรายละเอยี ดตา่ งๆ พรอ้ มรายงานผลการปฏิบัติผา่ นระบบ Police 4.0 ๒.๑๘.๕ มาตรการล็อคลอ้ ป้องกันรถจักรยานยนต์หาย ในพืน้ ทย่ี า่ นธุรกจิ การค้าหรอื พนื้ ทที่ มี่ ีประชาชนมารวมตวั กันเปน็ จำนวนมาก เช่น ตลาดนัด /สถานท่จี ัดงาน…

30 สถานที่จัดงานนิทรรศการ หรือที่พักอาศัยจำพวก แฟลต อพาร์ตเมนท์ หรือบ้านเช่า มักจะเกิดเหตุ คนร้าย ลกั รถจกั รยานยนต์อยู่เสมอ โดยสาเหตสุ ่วนหน่ึงมาจากการขาดการป้องกันของเจ้าของทรัพย์ทีเ่ พยี งพอ เช่น ลืมกุญแจ รถทิ้งคาไว้ หรือลืมล็อคคอรถจักรยานยนต์ เป็นต้น ซึ่งนอกจากการประชาสัมพันธ์และขอความร่วมมือจาก ผูป้ ระกอบการในการจดั พนักงานรักษาความปลอดภยั หรอื ติดต้ังระบบกล้องโทรทัศนว์ งจรปิด ณ จุดที่มีความเส่ียงต่อ การเกิดเหตุแล้วนั้น มาตรการเชิงรกุ ท่ีสถานีตำรวจควรดำเนินการ เพื่อป้องกันเหตแุ ละบรรเทาผลร้ายที่อาจเกิดขึน้ กบั พี่น้องประชาชนผู้สุจริต เป็นการตัดช่องโอกาสในการกระทำความผิด และเป็นการกระตุ้นความตระหนักรู้ในการ ป้องกันรักษาทรัพย์สินของตนเองไปในคราวเดียวกัน จึงกำหนดให้แต่ละสถานีตำรวจ กำหนดจุดตรวจ QR Code ณ บริเวณพื้นที่ที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดเหตุลักทรัพย์รถจักรยานยนต์ และมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจหรือ เจ้าหน้าที่ตำรวจฝ่ายสืบสวนไปตรวจสอบบริเวณดงั กล่าวตามแผนการตรวจ ว่ามีรถจักรยานยนต์ที่มีความเสี่ยงในการ เกิดเหตุหรือไม่ หากพบให้ดำเนินการเก็บรักษากุญแจไว้ (ถ้ามี) และดำเนินการล็อคล้อรถจักรยานยนต์ พร้อมติดแผ่นป้าย ประชาสัมพนั ธ์ตามมาตรการและเบอร์โทรศัพท์ของห้องปฏิบัติการสายตรวจ เพื่อจักได้แจ้งเจา้ หนา้ ที่มาปลดล็อคและ/ หรือส่งมอบกุญแจคืนให้เจ้าของรถ พร้อมประชาสัมพันธ์การป้องกันรถหายต่อไป โดยให้รายงานผลการปฏิบัติผ่านระบบ Police 4.0 ๒.๑๘.๖ มาตรการปล่อยแถวในชมุ ชน ตลอดเวลาที่ผ่านมาทุกสถานีตำรวจมักจะปล่อยแถวและทำกิจกรรมต่างๆ ก่อนออกตรวจ ที่ห้องปฏิบัติการสายตรวจ แต่เนื่องจากในปัจจุบันสำนักงานตำรวจแห่งชาติได้กำหนดให้นำเทคโนโลยีระบบ Police 4.0 มาใช้ในการดำเนินงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมท้ังประเทศ สามารถช่วยลดภาระการดำเนินการ ทางเอกสารไปได้จำนวนมาก รวมถึงสมุดตรวจตู้แดงด้วย ดังนั้น เพื่อเป็นการแสดงพลังในการปฏบิ ัติหน้าที่ (Show of Force) และสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนในความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน อีกทั้งส่งเสริมภาพลักษณ์อันดี ของสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ จึงให้ทกุ สถานีตำรวจพิจารณาให้มีการอบรมปล่อยแถวสายตรวจในชุมชน หมู่บ้าน หรือ ย่านธุรกิจการค้า ในช่วงเวลา ๐๗.๓๐ น. และช่วงเวลา ๑๕.๓๐ น. หรือหากพื้นที่ใดมีสถานบริการหรือสถานประกอบการ คล้ายสถานบรกิ าร จะพจิ าณาอบรมปลอ่ ยแถวสายตรวจ ณ สถานทีด่ งั กล่าว ในช่วงเวลา ๒๓.๓๐ น. ดว้ ยกไ็ ด้ ๒.๑๘.๗ มาตรการ ว.๔ รปู ขบวนรถ ในรูปแบบการตรวจทผี่ ่านมานน้ั ในทุกสถานตี ำรวจจะจัดระบบสายตรวจเป็นสาย แตล่ ะสาย กำหนดให้เป็นคู่ตรวจ และออกตรวจในเขตพื้นรับผิดชอบ มีการรวมชุดปฏิบัติการปฏิบัติร่วมกันเป็นครั้งคราวตาม แผนการตรวจอยู่บ้าง เช่น การตั้งจุด ว.๔๓ เคลื่อนท่ี หรือการปิดล้อมตรวจค้นตามที่หัวหน้าสายตรวจ หรือ ผู้บังคับบัญชาสั่งการ นอกเหนือจากที่กล่าวมาแล้ว แทบจะไม่มีการรวมชุดปฏิบัติการร่วมกันอีกเลย ซึ่งในการดำเนิน มาตรการบางมาตรการนั้น มีความจำเป็นต้องอาศัยการทำงานร่วมกันเป็นทีม มาตรการ ว.๔ รูปขบวนรถ จึงเป็นการ รวมชุดปฏิบัติการ จัดขบวนเปิดไฟวับวาบตรวจไปพร้อมกันเป็นรูปขบวนรถ ถือเป็นมาตรการเชิงแสดงกำลัง หรือ Show of Force โดยการเคลื่อนท่ีของคนหมู่มาก จะเป็นการปฏิบัติการเชิงจิตวิทยาท่ีส่งผลต่อทั้งคนดีและคนไม่ดี ทั้งยังเป็นการเสริมสร้างความรักความสามัคคีในหมูค่ ณะและการทำงานเป็นทีม ซึ่งสามารถสนับสนุนมาตรการที่มอี ยู่ ทั้งมาตรการตีวงสุรา มาตรการตรวจค้นรถจักรยานยนต์ต้องสงสัย หรือมาตรการป้องกันรถแข่งในทางได้เป็นอย่างดี ดังนั้นจึงกำหนดให้ทุกสถานีตำรวจไปพิจารณานำมาตรการ ว.๔ รูปขบวนรถน้ี ไปพิจารณากำหนดใช้ตามช่วงเวลา ที่เหมาะสม และตอ้ งกำหนดในแผนการตรวจใหช้ ดั เจน /๒.๑๙ การเผชิญเหตุ...

31 ๒.๑๙ การเผชญิ เหตุและแผนเผชญิ เหตุ เจา้ หนา้ ท่ตี ำรวจสายตรวจเป็นกำลงั ท่ีออกปฏบิ ัติงานอยู่ในพ้ืนที่ตลอด ๒๔ ชัว่ โมง เป็นเจา้ หน้าที่คนแรก ที่ต้องเข้าตรวจสอบและระงับเหตุ กรณีที่มีเหตุต่างๆ เกิดขึ้นในพื้นที่ ซึ่งที่ผ่านมายังพบข้อบกพร่องในขั้นตอนการปฏิบัติ เม่อื เกดิ เหตุ ท้ังขาดความรู้ ไมก่ ลา้ ตดั สินใจ ไม่เขา้ ใจในหน้าท่วี ่าจะต้องทำอะไรบ้าง ไมท่ ราบขน้ั ตอนว่าจะต้องทำสิ่งใด ก่อน-หลัง หรือเมื่อได้ปฏิบัติไปแล้ว ปฏิบัติได้ไม่ครบถ้วน รวมทั้งการสั่งการ ควบคุม ของหัวหน้าสายตรวจ หรือ ผบู้ ังคับบัญชาทีเ่ ก่ียวข้อง ทไี่ ม่มปี ระสทิ ธภิ าพ ทำให้ผลการปฏบิ ัติไมป่ ระสบผลสำเร็จเท่าท่ีควร หรอื อาจเกดิ ความเสียหาย ดังนั้นเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจ และเจ้าหน้าที่ตำรวจฝ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องทุกคน ต้องรู้หลักการและ ขนั้ ตอนในการปฏบิ ัติเม่ือมีเหตุ เพอื่ ให้สามารถปฏบิ ตั ิงานได้อย่างถูกต้อง รู้จักหนา้ ท่ีของตนเอง เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดยสำนกั งานตำรวจแหง่ ชาตกิ ำหนดให้ทุกสถานีตำรวจต้องจัดทำแผนเผชิญเหตุ และจัดใหม้ กี ารซกั ซ้อมแผนเผชิญเหตุ อย่เู ปน็ ประจำ โดยมหี ลักการสำคัญในการเผชิญเหตุและการจัดทำแผนเผชญิ เหตุ ดงั นี้ ๒.๑๙.๑ มาตรฐานการปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าทีต่ ำรวจผ้เู ผชิญเหตุคนแรก เม่อื มเี หตุเกิดข้ึน เจ้าหนา้ ทต่ี ำรวจท่ีไดร้ ับแจ้ง หรอื พบเหตุการณ์ จะต้องรีบเดินทางไปท่ีเกิดเหตุ เข้าระงับเหตุ และจัดการกับเหตุนั้นๆ ตามแผนเผชิญเหตุที่กำหนดไว้ทันที เว้นแต่ผู้บังคับบัญชาจะสั่งการไว้เป็นอย่างอืน่ หรือมอบหมายภารกจิ นน้ั ๆ ใหก้ บั หน่วยอ่ืนปฏบิ ตั แิ ทน โดยการดำเนนิ การให้อยภู่ ายใต้กรอบของกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน และพิจารณาตามความเหมาะสมกบั สถานการณ์ ทั้งการชว่ ยเหลือผ้บู าดเจบ็ การดแู ลทรพั ย์สนิ ตา่ งๆ และการบังคับใช้กฎหมาย ๒.๑๙.๒ ข้ันตอนการปฏิบัติของเจ้าหน้าท่ตี ำรวจผู้เผชญิ เหตคุ นแรก ๑) กอ่ นเผชิญเหตุ - วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้รับ โดยวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นตามหลัก ได้แก่ ใคร ทำอะไร ทไี่ หน เมอื่ ไร ทำไม และอย่างไร - รายงานศูนย์วิทยุและผู้บังคับบัญชาทราบ เป็นการยืนยันสถานการณ์ ที่เกิดข้ึน และรายงานถึงสภาพแวดลอ้ มในทีเ่ กิดเหตุในทนั ที - ขอกำลังสนับสนุน การขอกำลังสนับสนุน หรือขอความช่วยเหลือในกรณี จำเป็น เช่น คนร้ายมีจำนวนมากกว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจ หรือมีผู้ได้รับบาดเจ็บ จำนวนมากอยบู่ ริเวณทเี่ กดิ เหตุ เปน็ ต้น ๒) ขณะเข้าเผชิญเหตุ - ให้ประเมินสถานการณ์และความเสี่ยง โดยประเมินจากบริเวณที่เกิดเหตุ ในมุมมองของสถานการณ์ขณะนั้น และเตรียมแผนสำรอง หากเหตุการณ์ ยกระดับความรุนแรง อย่ารีบเร่งเข้าสถานที่เกิดเหตุหรือแสดงตัวทันที เม่ือถงึ ทีเ่ กิดเหตุ ซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายได้ - ช่วยเหลือผทู้ ี่ไดร้ บั บาดเจ็บ โดยให้การช่วยเหลอื ทางการแพทย์แก่ผู้ที่ได้รับ บาดเจ็บทกุ คนในบรเิ วณทเี่ กดิ เหตุ - ปฏิบัติการตามแผนเผชิญเหตุและตามยุทธวิธี กรณีจำเป็นเร่งด่วน ให้เข้า ระงับเหตุตามลำดับการใช้กำลัง โดยพิจารณาความเหมาะสมตามสัดส่วน ตามสถานการณ์และพฤติการณข์ องคนร้าย และสภาพแวดล้อม /- ปิดก้ันพน้ื ท…่ี

32 - ปดิ ก้นั พื้นที่ และรักษาสถานที่เกิดเหตุ พิจารณาอพยพบุคคลท่ีไม่เกี่ยวข้อง ออกจากที่เกิดเหตุ การป้องกันไม่ให้บุคคลเข้าและออกจากพื้นที่น้ัน ตลอดจนการรักษาสถานที่เกิดเหตุให้คงสภาพเดิมไว้ให้มากท่สี ุดเท่าท่ีจะทำได้ เพื่อป้องกันมิให้พยานหลักฐานตา่ งๆ สูญหาย หรือถูกทำลาย การปิดกั้นที่ เกิดเหตอุ าจดำเนินการโดยบุคคล เชือก แผงก้ัน เครอื่ งหมายหรือแผ่นป้าย แสดงการห้ามเขา้ บริเวณทีเ่ กิดเหตุ ๓) หลังเขา้ เผชญิ เหตุ - ให้สรปุ ขอ้ มลู เบ้ืองต้นและรายงานเหตุให้ศูนย์วทิ ยุทราบและลงข้อมูลในระบบ Police 4.0 - เมื่อเสร็จสิ้นภารกิจ ต้องกลับสู่สถานะที่มีความพร้อม มีความตื่นตัว สำหรับการปฏิบัติหน้าที่และการให้ความชว่ ยเหลือในกรณตี ่อไปโดยทนั ที ๒.๑๙.๓ การจัดทำแผนเผชญิ เหตุ ๑) ต้องจัดทำแผนเผชิญเหตุให้ครอบคลุมทุกเหตุที่อาจเกิดขึ้นได้ในเขตพื้นท่ี รับผิดชอบ ผา่ นระบบ Police 4.0 ๒) กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่าย ทุกระดับ ไว้อย่างชัดเจน เป็นขั้น เป็นตอน เรียงลำดับก่อนหลัง สามารถเข้าใจได้ง่าย รวมถึงการปฏิบัติ ในการรายงานเหตุดว้ ย ๓) มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการควบคุม สั่งการ ของแต่ละแผนให้ ชัดเจนว่าเป็นผู้ใด และหากผรู้ ับผิดชอบหลักไม่อยู่ ผรู้ บั ผิดชอบรองในลำดับถัดมา คือใคร เพ่ือจกั ไดด้ ำเนนิ การแทนไดโ้ ดยอัตโนมัติ ๔) ในการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ ต้องประชุมชี้แจงให้เจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่าย ท่เี กีย่ วข้อง เขา้ ใจในการปฏิบตั ิทุกขน้ั ตอนอยา่ งแท้จริง ๕) ในการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ ต้องคำนึงถึงความปลอดภยั ของผูร้ ่วมปฏิบัตแิ ละ ประชาชนบริเวณใกล้เคียง โดยต้องทำการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและ ประชาชนทราบลว่ งหนา้ และหา้ มใชอ้ าวธุ ทกุ ชนิดโดยเดด็ ขาด ๖) ให้หัวหน้าสถานีตำรวจเป็นผู้อำนวยการซักซ้อมแผนเผชิญเหตุ โดยใช้กำลัง เจ้าหน้าที่ตำรวจทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนอื่น อาสาสมัครตำรวจบ้าน หรืออาสาจราจร (ถ้าม)ี อย่างนอ้ ยเดอื นละ ๑ ครง้ั โดย รายงานผลการปฏิบัติพร้อมภาพถ่ายผา่ นระบบ Police 4.0 ๒.๑๙.๔ แผนเผชิญเหตุท่ีควรมีในทุกสถานตี ำรวจ ๑) การรกั ษาสถานทีเ่ กดิ เหตุ ๒) เหตุเกยี่ วกับทรัพย์ เชน่ วงิ่ ราวทรัพย์ ชงิ ทรพั ย์ หรือปล้นทรัพย์ ฯลฯ ๓) เหตปุ ระทษุ ร้ายต่อชวี ติ รา่ งกาย ๔) เหตุพยายามอัตวินบิ าตกรรม /5) เหตุจับตวั ...

33 ๕) เหตจุ บั ตวั ประกัน ๖) เหตุคนวิกลจริตอาละวาด ๗) เหตุคนรา้ ยกราดยงิ ในทีส่ าธารณะ (Active Shooter) ๘) เหตกุ ล่มุ ผู้ชมุ นุมเรยี กรอ้ ง ๙) เหตุเพลงิ ไหม้ ๑๐)เหตุพบวตั ถตุ ้องสงสัย ๑๑)เหตปุ ดิ ลอ้ มตรวจคน้ พื้นท่เี ป้าหมาย ๑๒)เหตกุ ลมุ่ นกั เรยี นทะเลาะวิวาท ฯลฯ ๓.ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ การป้องกันปราบปรามอาชญากรรมตามทฤษฎีบังคับใช้กฎหมายผา่ นระบบงานสายตรวจ ไม่ใช่องค์ประกอบ สำคัญองค์ประกอบเดียวที่จะสามารถควบคุมอาชญากรรมในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งได้ แต่การแสวงหาความร่วมมือจาก ประชาชน และรับข้อมลู ขา่ วสารจากประชาชนโดยตรง เพื่อนำไปใชใ้ นการปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรมตามทฤษฎี ตำรวจชุมชนสัมพันธ์นั้น ถือเป็นองค์ประกอบสำคัญอันเป็นที่ประจักษ์ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ว่ามีส่วนสำคัญ เป็นอย่างมากในการควบคุมอาชญากรรมในพนื้ ที่ ตำรวจชุมชนสัมพันธ์ คือ กระบวนการสร้างเสริมความเข้าใจที่ดีระหว่างประชาชนกับตำรวจ ให้ความรู้แก่ ประชาชนในการป้องกันตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน ตลอดจนสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนมสี ่วนร่วมและสนับสนุน ตำรวจในการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาอาชญากรรม ยาเสพติดใหโ้ ทษ และอุบัติภยั รวมทัง้ ปัญหาอืน่ ๆ ที่มีในชุมชน โดย ตระหนักว่าปัญหาดังกลา่ วเปน็ ปญั หาสว่ นรวมของสังคมซึ่งทกุ ฝ่ายจะต้องรว่ มมือกันป้องกันและแก้ไข จะเห็นได้ว่างานตำรวจชุมชนสัมพันธ์มีความรับผิดชอบในการดำเนินกิจกรรมที่มีลักษณะถาวรและชั่วคราว ในหลายลักษณะตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่ เช่น รับผิดชอบการตรวจเยี่ยมชุมชน ซึ่งเป็นงานที่ต้องปฏิบัติ เป็นประจำทุกเดือน รับผิดชอบโครงการอบรมให้ความรู้นักเรียน นักศึกษา ซึ่งเป็นโครงการชั่วคราว แต่ดำเนินการ บอ่ ยครั้งในแต่ละปี เปน็ ตน้ ดังนั้น เพอื่ ใหง้ านตำรวจชุมชนสัมพนั ธใ์ นสถานีตำรวจประสบความสำเร็จ จะต้องประกอบ ไปด้วยองคป์ ระกอบสำคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้ ๓.๑ ชุดปฏบิ ัติการตำรวจชุมชนสัมพนั ธ์ หัวใจของงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ที่แท้จริง คือ ตำรวจทุกนายในสถานีตำรวจต้องเป็นตำรวจชุมชน สัมพันธ์ แต่เพื่อให้มีผู้รับผิดชอบที่ชัดเจน หัวหน้าสถานีตำรวจต้องร่วมกับหัวหน้างานป้องกันปราบปราม คัดเลือก บุคลากรท่ีเหมาะสมเป็นชุดปฏิบัติการตำรวจชุมชนสัมพันธ์ขึ้นจำนวน ๑ ชุด (พิจารณาจำนวนตามความเหมาะสม โดยจะมที ง้ั ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีเป็นชุดปฏบิ ัตกิ ารตำรวจชมุ ชนสัมพนั ธ์หลักแต่เพยี งหน้าทีเ่ ดียว หรอื ปฏิบัติหน้าท่ีตำรวจชุมชน สัมพันธ์และปฏิบัติหน้าที่อื่นในสถานีตำรวจด้วยก็ได้) และมอบหมายให้ สวป. หรือ รอง สวป. แล้วแต่ระดับของ สถานีตำรวจ จำนวน ๑ นาย เป็นหัวหนา้ ผรู้ บั ผดิ ชอบ โดยควรพิจารณาจากคุณสมบตั ิ ดังตอ่ ไปนี้ ๓.๑.๑ มีอุดมการณ์และความประพฤติดี กล่าวคือ ต้องเห็นกับประโยชน์ส่วนรวม มีความ เสียสละ และประพฤติปฏิบัติตนเป็นตัวอย่างที่ดีแก่ประชาชนและผู้อื่น เช่น ไม่มั่วสุมหรือข้องเกี่ยวกับอบายมุข นอกจากนั้นจะตอ้ งเป็นผมู้ ีความมงุ่ ม่ันตั้งใจจริงในการทำงาน เพ่อื สร้างศรทั ธาใหเ้ กดิ กับประชาชน /๓.๑.๒ มีมนุษยสัมพันธ์..

34 ๓.๑.๒ มีมนุษยสัมพันธ์ดี สามารถเข้ากับประชาชนได้ เจ้าหน้าที่ตำรวจทีม่ ีลักษณะดังกล่าว จะชว่ ยให้การทำงานเขา้ กับประชาชนได้ดี ไม่สรา้ งปญั หา ขจดั ขอ้ ขัดแย้งกับประชาชนในพ้ืนท่ีได้ ๓.๑.๓ มีบุคลิกดี มีลักษณะเป็นผู้นำ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ อดทนอดกลั้น บุคลิกภาพ ของเจ้าหน้าที่ตำรวจเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยจูงใจและสร้างศรัทธา จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพยายามคัดเลือก ผปู้ ฏิบตั งิ านท่มี บี คุ ลกิ ภาพดี องอาจ สงา่ ผ่าเผย แต่งกายสะอาด รู้จักใชว้ าจาทสี่ ภุ าพ นุ่มนวล มสี มุ้ เสยี งนา่ ฟังเหมาะสม ท่ีจะเปน็ ผนู้ ำประชาชนในชุมชนได้ อกี ทั้งร่างกายจะต้องมคี วามสมบรู ณ์พร้อมที่จะเผชิญต่ออปุ สรรคในพน้ื ที่ทุกรปู แบบ ๓.๑.๔ มีไหวพริบปฏภิ าณ สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม รวมท้ัง สามารถปรบั รูปแบบของการปฏิบตั ิงานใหเ้ ขา้ กับสภาพชมุ ชนและพน้ื ทีไ่ ด้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๓.๑.๕ ผ่านการอบรมด้านการประชาสัมพันธ์และชุมชนสัมพันธ์มาก่อน ผู้ที่จะปฏิบัติงาน ชุมชนสัมพันธ์จะต้องมีความรู้ความเข้าใจในงานด้านการประชาสัมพันธ์และชุมชนสัมพันธ์อย่างถ่องแท้ มิฉะนั้นแล้ว จะไม่ทราบเลยว่าจะต้องทำอะไร เมื่อใด และอย่างไรให้ถูกต้องตามวัตถุประสงค์และเปา้ หมายที่แท้จริงของสำนักงาน ตำรวจแหง่ ชาติ ๓.๑.๖ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสม ความรู้เป็นสิ่งสำคัญในการถ่ายทอดให้ประชาชน เกิดความเข้าใจ ในแต่ละชมุ ชนจะมปี ระชาชนทมี่ ีพืน้ ฐานความรู้แตกต่างกัน ในบางพ้ืนทท่ี ป่ี ระชาชนมีความรู้ โดยเฉลี่ย ในระดับอุดมศึกษาอาจจำเป็นที่จะต้องเลือกใช้เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีความรู้ทัดเทียมกัน หากพื้นที่ใดมีประชาชนที่มีความรู้ ปานกลางและข้ันพืน้ ฐานก็อาจเลอื กใช้เจ้าหน้าที่ตำรวจทีม่ ีความรู้ระดับที่เหมาะสม ผสมผสานกันเพื่อให้สอดคล้องกับ ความสามารถในการรับรู้ของประชาชนในพื้นที่ อย่างไรก็ตามความรู้ในด้านชุมชนสัมพันธ์นั้นทุกคนจะต้องได้รับ การฝกึ อบรมและปรบั พนื้ ฐานความรใู้ ห้เท่าเทียมกัน เพื่อท่จี ะไดส้ ามารถทำงานแทนกันได้ ๓.๑.๗ มีความรู้ความสามารถพิเศษ ความรู้ความสามารถพิเศษมีส่วนช่วยเสริมงานด้าน ชุมชนสัมพันธ์ได้เป็นอย่างดี การอบรมหรือชี้แนะประชาชนในลักษณะการถ่ายทอดความรู้ด้านตัวบทกฎหมายหรือ ข้อแนะนำตามคู่มือที่แจกจ่ายแต่เพียงอย่างเดียว อาจไม่ประสบความสำเร็จเสมอไป แต่ถ้าตำรวจท่ีเข้าไปปฏิบัติงาน ในชุมชนมีความสามารถพิเศษ เช่น ช่างไม้ ช่างเครื่องยนต์ การเกษตร หรือการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ฯลฯ การช่วยเหลือ และร่วมกิจกรรมกับประชาชนโดยใช้ความสามารถพิเศษดังกล่าว ย่อมช่วยสร้างความเขา้ ใจ ความเห็นอกเห็นใจ และ สนบั สนุนให้การปฏิบัติงานชุมชนสัมพันธ์ได้ผลดีย่ิงข้ึน ดังนัน้ ในทีมงานที่ทำหน้าที่ชดุ ปฏิบัติการชุมชนสัมพันธ์ควรจะมี เจา้ หน้าท่ีตำรวจทมี่ คี วามรคู้ วามสามารถพิเศษดังกล่าวอย่างน้อยหนึ่งคนเข้าร่วมงานดว้ ย ๓.๒ อุปกรณ์ทจ่ี ำเป็นในการปฏิบัตงิ านตำรวจชมุ ชนสมั พนั ธ์ การเตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ ความพร้อมของเครื่องมือเครื่องใช้ ย่อมมีส่วนช่วยในการปฏิบัติงาน ชุมชนสัมพันธ์เป็นอย่างมาก ถ้าใช้การบรรยายใหความรู้แก่ประชาชนอย่างเดียว ผู้ฟังอาจเกิดความเบื่อหน่ายได้ นอกจากนั้นความรู้พื้นฐานของผู้ฟังแต่ละคนไม่เท่ากัน ผู้ฟังบางคนอาจเข้าใจได้ดีเมื่อรับฟังเพียงครั้งเดียว แต่บางคน เมื่อฟังแล้ว ๒ - ๓ ครั้ง ก็ยังอาจไม่เข้าใจ และไม่บังเกิดผลเท่าที่ควร ฉะนั้นผู้บริหารงานชุมชนสัมพันธ์ควรเตรียมการ ดา้ นงบประมาณเพอื่ จัดหาเคร่อื งมือเคร่ืองใชใ้ นการปฏบิ ัติงานชุมชนสัมพันธ์อยา่ งนอ้ ย ดังน้ี ๓.๒.๑ เครื่องขยายเสยี ง พร้อมเคร่อื งกำเนดิ ไฟฟา้ ขนาดเลก็ ๓.๒.๒ ไวทบ์ อรด์ ๓.๒.๓ เคร่อื งฉายโปรเจคเตอร์ พร้อมจอฉาย /๓.๒.๔ กลอ้ งถา่ ยภาพ…

35 ๓.๒.๔ กลอ้ งถา่ ยภาพนิง่ และภาพเคล่ือนไหว ๓.๒.๕ คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพา ๓.๒.๖ เอกสารแนะนำใหค้ วามรแู้ กป่ ระชาชน ๓.๓ การส่งเสรมิ ให้ประชาชน ชุมชน ทอ้ งถิน่ และองคก์ รมสี ่วนรว่ มในกิจการตำรวจ ให้สถานีตำรวจดำเนินการตามระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ว่าด้วยการส่งเสริมให้ประชาชน ชมุ ชน ท้องถิ่นและองค์กรมีสว่ นร่วมในกิจการตำรวจ ซ่งึ กำหนดรูปแบบการมสี ว่ นร่วม แบ่งออกเปน็ ๓ รปู แบบทส่ี ำคัญ คือ ๓.๓.๑ การมีสว่ นร่วมของประชาชนทวั่ ไป ซ่งึ แบ่งเป็น ๒ ส่วน คอื ๑) เครอื ข่ายชุมชนลักษณะปฏบิ ัติการ ซึ่งประกอบดว้ ยรปู แบบอาสาสมัครที่สำคัญ ๒ รูปแบบ คือ อาสาสมคั รตำรวจบา้ น และอาสาจราจร ๒) เครือข่ายชุมชนลักษณะแนวร่วม เป็นการเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมและ สนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าพนักงานตำรวจ เช่น ตั้งเครือข่ายเพื่อ ติดต่อสื่อสารระหวา่ งสมาชิกเพื่อแจ้งขา่ วอาชญากรรม การสร้างชมุ ชนเข้มแขง็ และความรว่ มมอื ในลกั ษณะเพ่อื นบ้านเตือนภยั เปน็ ตน้ ๓.๓.๒ การมีส่วนร่วมขององค์กร ได้แก่ องค์กรหรือมูลนิธิต่างๆ โดยการประสานงาน ช่วยเหลือ หรือสนับสนุนการปฏิบัติแก่เจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้แก่ ศูนย์กู้ชีพนเรนทร หน่วยกู้ภัยหรือบรรเทาสาธารณภัย อาสาสมัครปอ้ งกนั ภัยฝา่ ยพลเรือน มลู นิธิปอ่ เตก็ ตงึ๊ หรือมลู นธิ ริ ว่ มกตัญญู เป็นต้น ๓.๓.๓ การมีส่วนร่วมของพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชน โดยการให้ทุกสถานีตำรวจ สร้างเครือข่ายแนวร่วมพนักงานรักษาความปลอดภัยเอกชนในพื้นที่ เพื่อสนับสนุนงานตำรวจในการรักษาความ ปลอดภยั ให้กบั ประชาชน ชมุ ชน และทอ้ งถิน่ โดยให้ดำเนินการตาม พ.ร.บ.ธุรกิจรกั ษาความปลอดภยั พ.ศ.๒๕๕๘ โดยให้ทุกสถานีตำรวจ ถือปฏิบัติตามระเบียบดังกล่าวโดยเคร่งครัดในทุกข้ันตอน ตั้งแต่ การคัดเลือก การฝึกอบรม การฝึกทบทวน ตลอดจนวาระการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งเครื่องแบบที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ได้กำหนดไว้ โดยให้จัดทำทะเบียน รายละเอียดของอาสาสมัครและแนวร่วมแต่ละประเภทไว้ตามที่กำหนดในระบบ Police 4.0 ๓.๔ แผนการปฏบิ ัติงานตำรวจชมุ ชนสัมพันธ์ ในการปฏิบัติงานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ หัวหน้าสถานีตำรวจโดยคำแนะนำของหัวหน้างานป้องกัน ปราบปรามอาชญากรรมต้องกำหนดแผนการปฏิบัติงานไว้ทุกเดือน โดยให้ปรากฏกิจกรรม วัน เวลา สถานท่ี ผู้รับผิดชอบ ผู้ร่วมปฏิบัติ หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง พร้อมผู้ประสานงานที่ชัดเจน และให้กำหนดแผนไว้ล่วงหน้าอย่างน้อย ๑ เดือน เสมอ และให้รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติให้หัวหน้าสถานีตำรวจ ผ่านหัวหน้างานป้องกันปราบปราม อาชญากรรมทราบทุกเดือน ๓.๕ การตรวจเยี่ยมชุมชน การตรวจเยี่ยมชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่อรับทราบข้อมูลข่าวสาร ปัญหาความเดือดร้อน แลกเปลี่ยน ทัศนคติ ความคิดเห็น รับทราบความต้องการของประชาชน และเพือ่ ค้นหา ตรวจสอบบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ท่ีมีความ เสย่ี งในการกอ่ อาชญากรรมหรือเปน็ ภยั ตอ่ ความม่นั คงของชาติ โดยมีขน้ั ตอนการปฏิบตั ิดงั น้ี /๓.๕.๑ กำหนดแผนการ…

36 ๓.๕.๑ กำหนดแผนการตรวจเย่ียมโดยกำหนดวนั เวลาและชมุ ชนเป้าหมายไว้ลว่ งหน้า ๓.๕.๒ ตรวจเยยี่ มตามแบบท่ีกำหนดไวใ้ นระบบ Police 4.0 ๓.๕.๓ ประชาสัมพันธใ์ หป้ ระชาชนในชมุ ชนเป้าหมายทราบล่วงหนา้ ๓.๕.๔ กำหนดตัวข้าราชการตำรวจจากทุกฝ่าย ทุกระดับ ในแผนการตรวจเยี่ยมแต่ละคร้ัง และใหม้ กี ารประชมุ ช้แี จงวตั ถปุ ระสงค์และซักซ้อมแนวทางการปฏบิ ัตใิ ห้ทุกนายทราบก่อนการตรวจเยี่ยม ๓.๕.๕ จัดทำคู่มือ เอกสาร หรือคำแนะนำต่างๆ สำหรับแจกประชาชนในการตรวจเยี่ยม เช่น แนวทางการป้องกันอาชญากรรมเบื้องต้น แนวทางการแจ้งเบาะแสหรือแจ้งเหตุด่วนเหตุร้าย ความรู้เบื้องต้น เกยี่ วกับยาเสพตดิ หรือผลการปฏบิ ัตงิ านของสถานีตำรวจ เป็นต้น ๓.๕.๖ จัดตั้งบัญชี Line Official ของแต่ละสถานีตำรวจ เพื่อรองรับการเพิ่มเพื่อนใหม่ (Add friends) กับประชาชนในพื้นที่ (ทั้งประชาชนที่อาศัยอยู่จริงและประชากรแฝงในพื้นที่) เพื่อเป็นช่องทางการ สื่อสารกับประชาชนในพื้นท่ี ทั้งการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทีน่ ่าสนใจต่างๆ และรับเรื่องร้องเรียนจากประชาชน ในพน้ื ท่ี โดยกำหนดให้หัวหน้าสถานีตำรวจ หัวหน้างานแตล่ ะฝ่าย และชดุ ปฏิบตั กิ ารตำรวจชุมชนสมั พันธ์ เป็น Admin ของบัญชีผู้ใช้ทำหน้าที่สื่อสารกับประชาชน รวมทั้งรวบรวมเรื่องร้องเรียนเสนอหัวหน้าสถานีตำรวจพิจารณาสั่งการ และผลการดำเนนิ การเป็นเชน่ ไรให้แจ้งให้ประชาชนทราบทุกครัง้ ๓.๕.๗ ขอความร่วมมือหน่วยงานอื่นในพื้นที่ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ร่วมตรวจเยี่ยม และ/ หรอื รว่ มให้บริการประชาชน เช่น บริการตัดผมฟรี ตรวจรักษาโรคเบอื้ งต้น หรือฝกึ อาชีพเสริม เป็นต้น ๓.๕.๘ ออกตรวจเยี่ยม ตามวัน เวลา และสถานที่ที่กำหนดตามแผน โดยจะต้องเข้าตรวจ เยี่ยมทุกครัวเรือนและบันทึกข้อมูลบุคคลในครัวเรือนทุกคน (หากพบว่าเป็นกลุ่มเส่ียงให้ดำเนินการแยกประเภท ในระบบให้ครบถว้ นด้วย) ในชมุ ชนทีถ่ กู กำหนดเปน็ เปา้ หมาย (หากไม่สามารถตรวจครบได้ในคราวเดียว ให้ดำเนินการ ในคราวต่อไป) และเชิญชวนให้ประชาชนในชุมชนทุกรายทั้งที่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่จริงหรือเป็นประชากรแฝง เช่น เข้ามาทำงาน เข้ามาค้าขาย ในพื้นที่อยู่เป็นประจำ เข้าร่วมเพิ่มเพื่อนใหม่ (add friends) กับบัญชี Line Official ของสถานตี ำรวจ ๓.๕.๙ รวบรวมข้อมูล ปัญหาความเดือดร้อนและความต้องการของประชาชนในชุมชน ตามแบบ ที่กำหนดในระบบ Police 4.0 แล้วรายงานให้หัวหน้าสถานีตำรวจทราบ เพื่อพิจารณาสั่งการ และให้ผู้ที่ได้รับมอบหมาย ไปดำเนินการ รายงานผลและเกบ็ รวบรวมไว้เปน็ ผลการปฏิบตั ิ ๓.๕.๑๐ กำหนดใหท้ กุ สถานตี ำรวจออกตรวจเย่ยี มชมุ ชนเดือนละ ๒ ครงั้ ส่วนระดับ บช./ภ. หรือระดับ บก.น./ภ.จว. หัวหน้าหน่วย จะด้วยตนเอง หรือสั่งการมอบหมายให้ระดับ รอง ผบช. หรือ รอง ผบก. (แล้วแต่กรณ)ี เขา้ ร่วมตรวจเยยี่ มตามความเหมาะสมดว้ ยก็ได้ ๓.๖ งานและโครงการสำคัญทีต่ ้องดำเนินการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้เคยกำหนดให้งานตำรวจชุมชนสัมพันธ์ทุกสถานีตำรวจดำเนินโครงการ กิจกรรมต่างๆ มาตลอด แต่สำหรับแนวทางการขับเคลื่อนในปี พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๕ จะกำหนดแนวทางให้ชัดเจน ดังตอ่ ไปนี้ ๓.๖.๑ ปรับเปลี่ยนโครงการฝากบ้านกับตำรวจ ไปสู่งานประจำ โดยมอบหมายให้ทุกสถานี ตำรวจประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบ และดำเนินการแจ้งข้อมูลการฝากบ้าน กรณีไม่อยู่บ้านเป็น /ระยะเวลาตงั้ แต่…

37 ระยะเวลาตั้งแต่ ๔ วันขึ้นไป (รวมวันเดินทางไปและวันเดินทางกลับ) ผ่านแอพพลิเคชั่น Police 4.0 ได้ทุกห้วงเวลา โดยไม่จำเป็นจะต้องเป็นช่วงเทศกาลหยุดยาวอีกต่อไป เมอื่ สถานีตำรวจรับทราบข้อมูลแลว้ ก็ดำเนินการสร้างจุดตรวจ QR Code และเขา้ ตรวจตามแผนทใ่ี ชค้ วามร่วมมือจากทุกฝ่ายในสถานตี ำรวจ ๓.๖.๒ โครงการส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่นและองค์กรมีส่วนร่วมในกิจการตำรวจ โดยดำเนินการใหเ้ ป็นไปตามหลักการที่ระบุไว้ตามข้อ ๓.๓ เช่น โครงการอบรมอาสาสมัครตำรวจบ้าน โครงการอบรม อาสาจราจร โครงการอบรมสมาชิกแจ้งข่าวอาชญากรรม โครงการอบรมพนักงานรักษาความปลอดภัยในพื้นที่ หรือ การประชุมแสวงหาความร่วมมอื กบั องคก์ รหรอื มูลนิธใิ นพน้ื ท่ี เป็นต้น ๓.๖.๓ โครงการที่เสริมสร้างให้ชุมชน สถานประกอบการ หรือพื้นที่เข้มแข็ง เช่น โครงการ เซฟตี้โซน หรือโครงการพื้นที่ปลอดภัย โครงการชุมชน/หมู่บ้าน ปลอดอาชญากรรม ปลอดยาเสพติด ปลอดอบายมุข โครงการโรงงาน/สถานประกอบการ โรงเรียน มัสยิด สขี าว โครงการจัดระเบียบรอบสถานศกึ ษา เปน็ ต้น ๓.๖.๔ โครงการ D.A.R.E. โดยกำหนดให้งานและโครงการตามข้อ ๓.๖.๑, ๓.๖.๒ และ ๓.๖.๔ จะต้องดำเนินการให้ครบถ้วน ส่วนตามขอ้ ๓.๖.๓ ใหด้ ำเนินการอยา่ งน้อย ๒ โครงการต่อปี ๔.การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดล้อม จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน ตามพื้นที่ต่างๆ ยังคงมีพื้นที่ที่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการก่อ อาชญากรรม ไม่ว่าจะเป็นพืน้ ที่รกรา้ งว่างเปล่า บ้านร้าง ตึกร้าง ต้นไม้สูงใหญ่จนบดบงั แสงสวา่ ง หรือพื้นที่ที่แสงสว่าง ไม่เพียงพอ ฯลฯ สำนักงานตำรวจแห่งชาติตระหนักถึงความสำคัญในปัจจัยที่จะเอื้ออำนวยให้เป็นโอกาสในการเกิด อาชญากรรม จึงกำหนดให้การควบคุมอาชญากรรมจากสภาพแวดล้อมเป็นองค์ประกอบหลักที่จะต้องดำเนินการ ในการขับเคล่ือนการป้องกันปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวม โดยมุ่งให้ทุกสถานีตำรวจเร่งดำเนินการเชิงรุก เพ่ือขจัดปจั จัยเสย่ี งดังกลา่ วใหห้ มดไป โดยกำหนดให้ทุกสถานีตำรวจดำเนินการดังตอ่ ไปน้ี ๔.๑ ดำเนินการสำรวจจุดเสี่ยง จุดล่อแหลม ตามข้อ ๒.๑๐ ว่าจุดเสี่ยง จุดล่อแหลม แต่ละประเภท นั้นมีกี่แห่ง มีปัจจัยเสี่ยงอย่างไร เช่น เป็นที่เปลี่ยว มืด มีแสงสว่างน้อย ต้นไม้ปิดบังแสงสว่าง มีต้นไม้ พุ่มไม้ ต้นหญ้า ปกคลมุ หนาทึบ เปน็ ต้น แลว้ บันทึกรายละเอียดการสำรวจไวใ้ นระบบ Police 4.0 พร้อมแนวทางการดำเนินการแกไ้ ข ๔.๒ ประสานขอความร่วมมือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็นต้น เพื่อร่วมกันดำเนินการแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้อยู่ในสภาพที่ปลอดภัย ไม่ล่อแหลมหรือเสี่ยงที่จะเป็น โอกาสให้เกิดอาชญากรรม พร้อมรายงานผลการดำเนินการผ่านระบบ Police 4.0 อาทิ ๔.๒.๑ ปรับภูมทิ ศั น์ โดยตดั ตน้ ไม้ ถางหญ้า ตดิ หรอื เปลี่ยนหลอดไฟฟา้ ๔.๒.๒ เสริมมาตรการป้องกัน กำหนดเป็นจุดตรวจ QR Code หรือจุดตรวจของเจ้าหน้าที่ เทศกิจ อปพร. รวมท้ังขอความร่วมมือให้เปน็ จดุ รวมพลของกล่มุ มลู นิธิ หรืออาสาสมัครตา่ งๆ ๔.๒.๓ ติดต้ังกล้องโทรทศั นว์ งจรปดิ ๔.๓ กำหนดมาตรการหรือแผนในการปิดล้อมตรวจค้น จุดเสี่ยง จุดล่อแหลม ทั้งช่วงค่ำ หรือช่วงเชา้ หรอื ตามช่วงวันเวลาทีเ่ หมาะสม ๔.๔ ตดิ ป้ายประชาสัมพันธ์เตอื นประชาชนให้เพม่ิ ความระมดั ระวงั /๔.๕ สำหรับจดุ เสย่ี ง…

38 ๔.๕ สำหรับจุดเสี่ยง จุดล่อแหลม ประเภทคอนโดมิเนียม อพาร์ทเมนท์ เกสต์เฮ้าส์ หอพัก บ้านเช่า และหมูบ่ า้ น ใหด้ ำเนินการประชาสัมพนั ธ์ขอความร่วมมือเจา้ ของ/ผปู้ ระกอบการ ดำเนินการดงั นี้ ๔.๕.๑ เพิม่ แสงสวา่ งทางเดนิ ทางเขา้ -ออก ๔.๕.๒ จัดที่จอดรถให้เพยี งพอและใหม้ ีพนักงานรักษาความปลอดภยั เฝา้ จุด ๔.๕.๓ จดั ใหม้ เี จ้าหนา้ ทร่ี กั ษาความปลอดภยั ตรวจตราโดยรอบ ๔.๕.๔ ตดิ ต้งั กล้องโทรทศั นว์ งจรปิด ๔.๕.๕ จดั ทำบัญชผี เู้ ช่า ผู้พกั อาศัย อยา่ งเปน็ ระบบ ๔.๕.๖ สังเกตพฤติกรรมผู้พักอาศัย หากพบความผิดปกติ ให้รีบแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจเข้าทำ การตรวจสอบ ๕.การปราบปรามอาชญากรรมสำคัญตามนโยบายสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีผลกระทบต่อความ ปลอดภัยในชวี ิตและทรพั ยส์ ินของประชาชน อาชญากรรมบางประเภทโดยตัวของมันเองนัน้ หากเกิดข้ึนในสงั คมจะเป็นปจั จยั สำคญั ที่ส่งต่อให้อาชญากรรม ประเภทอื่นเกิดขึ้นตามมาในสังคม ส่งผลกระทบต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่ง ส่วนใหญ่ สำนักงานตำรวจแห่งชาติได้กำหนดไวใ้ นคดีอาญากลุ่มที่ ๔ ความผดิ ทรี่ ัฐเปน็ ผูเ้ สยี หาย มรี ายละเอียดคือ - ความผดิ เกี่ยวกับยาเสพติด - ความผิดเกย่ี วกบั อาวธุ และวตั ถรุ ะเบิด - ความผิดเกย่ี วกบั การพนัน - ความผิดเกย่ี วกับวัตถุ ส่อื สิ่งพมิ พล์ ามกอนาจาร - ความผดิ เก่ยี วกบั พ.ร.บ.คนเข้าเมือง - ความผดิ เก่ียวกับการป้องกนั และปราบปรามการค้าประเวณี - ความผิดเก่ียวกบั สถานบริการ - ความผดิ เกี่ยวกับการควบคุมเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ หรอื คดีท่ีเป็นนโยบายสำคัญของรัฐบาล ในคดอี าญากลุ่มที่ ๓ คดีความผิดพิเศษ ท่ีว่าดว้ ย ความผดิ ตาม พ.ร.บ. ปอ้ งกนั และปราบปรามการค้ามนุษยฯ์ เป็นตน้ โดยกำหนดให้ทุกสถานตี ำรวจตอ้ งมมี าตรการในการดำเนนิ การและมผี ลการปฏิบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี ๕.๑ จัดทำข้อมลู ทอ้ งถนิ่ ของสถานบริการและแหลง่ อบายมุขในพื้นทไี่ ว้ในระบบ CRIME ๕.๒ ออกคำสัง่ มอบหมายพ้ืนทีร่ ับผดิ ชอบความผิดเก่ียวกับอบายมุข ๕.๓ จดั การประชุมช้แี จงผู้ประกอบการสถานบรกิ ารหรอื สถานประกอบการท่คี ล้ายสถานบรกิ ารเป็นประจำ ๕.๔ แจ้งเตือน ประชาสัมพันธ์ และ/หรือขอความร่วมมือในการงดจำหน่ายสุราหรือเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ไปยงั สถานบรกิ าร หรอื สถานประกอบการท่ีคลา้ ยสถานบริการ เน่ืองในวันสำคัญทางศาสนา หรืองานราช พธิ สี ำคัญ ๕.๕ กำหนดแผนการปิดล้อมตรวจค้นและจดั ระเบียบสังคมสถานบริการในพืน้ ทเี่ ป็นประจำทุกเดือน ๕.๖ กำหนดแผนการปิดล้อมตรวจค้นและจับกุมเป้าหมายความผิดเก่ียวกับยาเสพติดเปน็ ประจำทุกเดอื น /๕.๗ กำหนดแผน…

39 ๕.๗ กำหนดแผนสุ่มตรวจหาสารเสพติดตามสถานที่เป้าหมาย เช่น โรงงาน สถานประกอบการ หรือ ชมุ ชน เป็นประจำทกุ เดอื น ๕.๘ ดำเนินการส่งผู้เสพยาเสพติดไปรับการบำบัดที่สถานบำบดั ยาเสพติด โดยให้จัดทำสถิติ ประวัติ ผลการดำเนนิ การผา่ นระบบ Police 4.0 ๕.๙ ใหห้ ัวหนา้ สถานีตำรวจซกั ถามผู้ต้องหาในความผิดฐานเสพยาเสพติด หรอื มยี าเสพติดไว้เพ่ือเสพ หรอื เพอ่ื จำหน่าย เพอื่ ขยายผลถึงผคู้ า้ รายยอ่ ย รายใหญ่ ผู้ผลติ หรือเครือข่ายกลุ่มผู้ค้ายาเสพติด ๕.๑๐ ให้หัวหน้าสถานีตำรวจตรวจสอบและเร่งรัดเพื่อดำเนินการตามมาตรการยึดทรัพย์ มาตรการ สมคบ และความผดิ ฐานฟอกเงินกับผทู้ ่เี กี่ยวขอ้ งกบั ยาเสพติด เป้าหมายของงานปอ้ งกันปราบปรามอาชญากรรม ตามยุทธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) มีรายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับงาน ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ดงั นี้ ๑. เป้าหมายการพัฒนาระยะที่ ๑ (๕ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๕)) ๑.๑ ตัวชี้วัดเปา้ หมาย - ระดบั ความหวาดกลวั ภัยอาชญากรรมของประชาชน ไมเ่ กนิ ร้อยละ ๔๐ ๑.๒ ตัวชี้วัดเป้าหมาย - ความพึงพอใจและความเชื่อมั่นใจของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของตำรวจ ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๘๐ ๒. ประเด็นยุทธศาสตร์ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๑ การเสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติและการรักษาความมั่นคง ภายในประเทศ เปา้ หมาย ๑. สถาบนั พระมหากษัตริยม์ คี วามมน่ั คงปลอดภยั ๒. ประเทศมคี วามม่ันคงปลอดภยั ตวั ชวี้ ดั เป้าหมาย ๑. ถวายความปลอดภยั เปน็ ไปอยา่ งสมพระเกียรติ ต้องตามพระราชประสงค์ ๒. ประชาชนในพื้นที่มีความสงบสุขและมีความเชื่อมั่นจากการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ที่ เกย่ี วกับความมน่ั คงของรัฐ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การเพิ่มศักยภาพในการบังคับใช้กฎหมาย การอำนวยความยุติธรรมทางอาญาและการ ให้บรกิ ารประชาชนอย่างเสมอภาคเปน็ ธรรม เป้าหมาย ๑. ประชาชนมีความปลอดภยั ชีวิตและทรัพย์สิน สังคมมีความสงบเรียบร้อย ๒. ประชาชนได้รับการอำนวยความยุติธรรมทางอาญาและการบริการด้วยความสะดวก รวดเร็ว เสมอภาค และเปน็ ธรรม ๓. สนับสนุนขีดความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ /ตัวช้ีวัดเป้าหมาย…

40 ตวั ช้ีวดั เปา้ หมาย ๑. ระดับความพึงพอใจและความเชอ่ื มั่นของผ้เู สียหายตอ่ การปฏิบัติงานของตำรวจเพ่ิมขึ้น ๒. ระดับความหวาดกลวั ภัยอาชญากรรมของประชาชนลดลง ๓. อตั ราการเกิดคดตี ่อประชากรแสนคน (๑.กลมุ่ ชวี ติ ร่างกาย และเพศ ๒.กลุม่ ทรพั ย)์ ๔. สถติ ใิ นการไมแ่ จง้ ความคบื หนา้ ของการดำเนินคดีต่อผู้เสียหายลดลง ๕. ประชาชนมีช่องทางในการเขา้ สกู่ ระบวนการยุติธรรมของตำรวจเพ่ิมขึ้น ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยของสงั คมอย่างย่งั ยนื เปา้ หมาย ๑. มีการบรูณาการและร่วมมือกันของภาคีเครือข่าย ซึ่งประกอบด้วย ประชาชน ชุมชน ท้องถิ่น ภาคเอกชนและภาคประชาสงั คม ในการรกั ษาความสงบเรยี บร้อยของชมุ ชนและสงั คม ๒. ประชาชนมีความปลอดภยั ในชีวิตและทรพั ยส์ นิ สังคมมคี วามสงบเรยี บร้อย ตัวช้วี ัดเปา้ หมาย ๑. จำนวนภาคีเครือขา่ ยทเ่ี ข้ามามสี ่วนร่วมในกจิ การตำรวจเพม่ิ ขึน้ ๒. ระดับความพึงพอใจของภาคเี ครือข่ายต่อการเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในกิจการของตำรวจเพิ่มขึน้ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๔ การพัฒนาองค์กรใหท้ นั สมยั มงุ่ สู่ความเป็นเลศิ เป้าหมาย ๑. การจัดองค์กรมีความเหมาะสม มีความพร้อมทางด้านทรัพยากรทางการบริหาร และนำระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒. ระบบการบรหิ ารงานบุคคลมปี ระสทิ ธิภาพ สามารถขับเคล่อื นองค์กรให้บรรลุผลสมั ฤทธิ์ ๓. ข้าราชการตำรวจมีความเป็นมืออาชีพ มีความรู้ ทันสมัย เชี่ยวชาญในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการ ปฏบิ ัตงิ าน ๔. ขา้ ราชการตำรวจมีความภาคภูมิใจในการปฏบิ ัติหนา้ ท่ี มคี วามรัก เช่อื มนั่ และศรัทธาตอ่ องค์กรตำรวจ ๕. เปน็ องคก์ รที่ได้รับการยอมรบั ในเรื่องความโปร่งใส ตัวชว้ี ดั เปา้ หมาย ๑. ขดี สมรรถนะของบุคลากรในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีเพิ่มขึน้ ๒. คณุ ภาพชวี ิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจเพ่มิ ข้ึน ๓. ระดับความพงึ พอใจของข้าราชการตำรวจตอ่ การบริหารงานของสำนกั งานตำรวจแห่งชาตเิ พ่ิมขึ้น ๔. มีทรัพยากรทางการบริหารที่ทันสมัย ครบถ้วนทุกภารกิจและบริหารจัดการองค์กรด้วยระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๕. ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) เพ่มิ ขน้ึ /คำแนะนำ…

41 คำแนะนำในการปฏิบัติ ๑. ในการดำเนินการตามแนวทางการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของสำนักงานตำรวจ แห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ – ๒๕๖๕ นี้ หากหน่วยในสังกัดหน่วยใด พบข้อขัดข้องหรือปัญหาในการ ปฏิบัติตามแนวทางฯ ดังกล่าว ให้รายงานข้อขัดข้องหรือปัญหานั้น พร้อมแนวทางแก้ไขปัญหาหรือข้อเสนอแนะผ่าน ผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น มายังสำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ผ่านกองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ ตำรวจ) ทราบ เพ่อื ดำเนินการปรับปรงุ แกไ้ ขตอ่ ไป ๒. หากหน่วยงานในสังกัดหน่วยงานใด คิดค้นโครงการที่เป็นนวัตกรรม ที่มีส่วนช่วยในการพัฒนางาน ป้องกันปราบปรามอาชญากรรม และได้ผ่านการทดลองใช้มาสักระยะหนึ่งแล้ว เห็นว่าเป็นประโยชน์ สามารถแก้ไข ปัญหาอาชญากรรมในพ้ืนท่ีได้ หรือสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมได้ โดยไม่เป็นการเพิ่มภาระงานให้มากขึ้นแล้ว ให้รายงานโครงการดังกล่าว เสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น มายัง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ผ่านกองแผนงานอาชญากรรม สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ) เพื่อนำมาพิจารณาศึกษา วิเคราะห์ ในการพัฒนาแนวทางการขับเคลื่อนงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ ให้มีความทนั สมัยและมีประสทิ ธิภาพต่อไป ๓. ให้ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการและกองบังคับการ หรือผู้บังคับบัญชาที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ กำกับดูแลงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของแต่ละกองบัญชาการและแต่ละกองบังคับการ ให้ความสำคัญ กับแนวทางการขับเคลื่อนฯ นี้ โดยให้ควบคุม ติดตาม ตรวจสอบ กำหนดนโยบาย หรือสั่งการ ให้เป็นไปตามแนวทาง การขับเคล่ือนฯ น้ี ทง้ั การตรวจสอบผลการปฏิบัติโดยตรงจากระบบ POLICE 4.0 หรือการสุ่มตรวจสอบการปฏิบัติในพื้นท่ี หากพบปัญหา ข้อขัดข้อง ให้รีบแก้ไขและให้คำแนะนำ ไม่ปล่อยให้ผู้ปฏิบัติทำงานแต่เพียงลำพัง การดูแลเอาใจใส่ ความใกลช้ ดิ และการรักษาระยะห่างทเี่ หมาะสม จะนำมาซ่ึงความสำเร็จขององค์กรในภาพรวม อ้างองิ ๑.ระเบียบสำนักงานตำรวจแห่งชาติ วา่ ด้วยการสง่ เสรมิ ให้ประชาชน ชมุ ชน ท้องถนิ่ และองค์กรมสี ว่ นร่วมในกจิ การตำรวจ พ.ศ.๒๕๕๑ สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ. ๒.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ๒๕๕๓. คมู่ อื การปฏบิ ตั ิงานของตำรวจสายตรวจ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พต์ ำรวจ. ๓.ยทุ ธศาสตร์สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาติ. ๔.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. ๒๕๕๙. คู่มือการปฏิบัติมาตรฐานสำหรับเจ้าหน้าที่ตำรวจสายตรวจและเจ้าหน้าที่ ตำรวจผู้ประสบเหตุ ๒๕๕๙. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พต์ ำรวจ. ๕.กองแผนงานอาชญากรรม. ๒๕๕๙. การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก โดย ทฤษฎีสามเหลี่ยมอาชญากรรม. กรงุ เทพฯ : พมิ พ์ครงั้ ที่ ๒. โรงพิมพ์ตำรวจ. ๖.กองบัญชาการตำรวจนครบาล. ๒๕๖๑. คู่มือการบรหิ ารงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ๔.๐. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ดอกเบี้ย. ๗.สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาต.ิ ๒๕๖๑. คมู่ ือการบริหารงานป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พต์ ำรวจ. ๘.สำนกั งานตำรวจแหง่ ชาต.ิ ๒๕๖๑. คู่มือการการควบคุมและการจัดสายตรวจ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ตำรวจ. ๙.สำนกั งานตำรวจแห่งชาติ. ๒๕๖๑. คมู่ ือยทุ ธวธิ ีตำรวจ. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ตำรวจ. ๑๐.แนวทางการขับเคลือ่ นงานป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ สำนักงานตำรวจแหง่ ชาติ.