ชนิดของประโยค ผ้สู อน นางสาวพิมพ์มณี พทั ธป์ ระดษิ ฐ์
ชนดิ และหนา้ ทขี่ องประโยค ความหมายและส่วนประกอบของประโยค ความหมายของประโยค ประโยค เกิดจากคาหลายๆ คา หรือวลีท่ีนามาเรียง ต่อกันอย่างเป็นระเบียบให้แต่ละคามีความสัมพันธ์กัน มี ใจความสมบูรณ์ แสดงให้รู้ว่า ใคร ทาอะไร ท่ีไหน อย่างไร เชน่ สมคั รไปโรงเรยี น ตารวจจับคนร้าย เป็นตน้
ส่วนประกอบของประโยค ประโยคหนง่ึ ๆ จะต้องมีภาคประธานและ ภาคแสดงเป็นหลัก และอาจมคี าขยายสว่ นตา่ ง ๆ ได้
1. ภาคประธาน ภาคประธานในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาท่ีทา หน้าท่ีเป็นผู้กระทา ผู้แสดงซ่ึงเป็นส่วนสาคัญของประโยค ภาคประธานนี้ อาจมีบทขยายซึ่งเป็นคาหรือกลุ่มคามา ประกอบ เพือ่ ทาใหม้ ีใจความชัดเจนย่ิงขนึ้
2. ภาคแสดง ภาคแสดงในประโยค คือ คาหรือกลุ่มคาท่ีประกอบไป ดว้ ยบทกรยิ า บทกรรมและส่วนเติมเต็ม บทกรรมทาหน้าท่ีเป็น ตวั กระทาหรือตัวแสดงของประธาน ส่วนบทกรรมทาหน้าท่ีเป็น ผู้ถูกกระทา และส่วนเติมเต็มทาหน้าท่เี สริมใจความของประโยค ให้สมบรู ณ์ คอื ทาหน้าท่คี ลา้ ยบทกรรม แต่ไม่ใชก้ รรม เพราะมิได้ ถกู กระทา
ชนดิ ของประโยค ประโยคในภาษาไทยแบ่งเปน็ 3 ชนิด ตามโครงสร้างการสอ่ื สาร ดังนี้ 1. ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคท่ีมีขอ้ ความหรอื ใจความเดียว ซ่ึง เรยี กอีกอยา่ งหนง่ึ วา่ เอกรรถประโยค เป็นประโยคท่มี ภี าคประโยคเพยี งบท เดยี ว และมีภาคแสดงหรือกริยาสาคัญเพียงบทเดียว หากภาคประธาน และภาคแสดงเพมิ่ บทขยายเข้าไป ประโยคความเดยี วนนั้ กจ็ ะเป็นประโยค ความเดยี วทีซ่ ับซอ้ นยิ่งขน้ึ
2. ประโยคความรวม ประโยคความรวม คือ ประโยคที่รวมเอาโครงสร้าง ประโยคความเดียวต้ังแต่ 2 ประโยคข้ึนไปเข้าไว้ในประโยค เดียวกัน โดยมีคาเช่ือมหรือสันธานทาหน้าท่ีเชื่อมประโยค เหลา่ น้ันเข้าด้วยกัน ประโยคความรวมเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า อเนกกรรถประโยค ประโยคความรวมแบ่งใจความออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
2.1 ประโยคทีม่ คี วามคล้อยตามกัน ประโยคความรวมชนิดน้ปี ระกอบดว้ ยประโยคเลก็ ตัง้ แต่ 2 ประโยคขึ้นไป มเี นือ้ ความคลอ้ ยตามกนั ในแงข่ อง ความเปน็ อยู่ เวลา และการกระทา ตัวอยา่ ง • ทรัพย์ และ สนิ เป็นลูกชายของพอ่ ค้ารา้ นสรรพพาณชิ ย์ • ทง้ั ทรพั ย์ และ สินเปน็ นักเรยี นโรงเรยี นมัธยมวัดนายโรง
2.2 ประโยคท่ีมคี วามขดั แย้งกัน ประโยคความรวมชนิดนี้ ประกอบด้วยประโยคเล็ก 2 ประโยค มีเนื้อความทแ่ี ย้งกันหรือแตกต่างกนั ในการกระทา หรือผลท่ี เกดิ ข้นึ ตัวอยา่ ง • พ่ีตฆี ้อง แต่ นอ้ งตีตะโพน • ฉนั เตอื นเขาแล้ว แต่ เขาไมเ่ ช่อื
2.3 ปร ะโ ยคท่ีมี ความ ให้ เลื อก ประโยค คว าม รว มชนิ ดน้ี ประกอบดว้ ยประโยคเลก็ 2 ประโยคและกาหนดให้เลือกอยา่ งใดอยา่ ง หน่ึง ตวั อยา่ ง • ไปบอกนายกจิ หรือ นายกอ้ งใหม้ าน่ีคนหน่ึง • คุณชอบดนตรีไทย หรือ ดนตรีสากล
2.4 ประโยคทม่ี ีความเป็ นเหตุเป็ นผลแก่กนั ประโยคความรวม ชนิดน้ีประกอบดว้ ยประโยคเล็ก 2 ประโยค ประโยคแรกเป็ นเหตุ ประโยคหลงั เป็ นผล ตวั อยา่ ง • เขามคี วามเพยี รมาก เพราะฉะน้นั เขา จึง ประสบความสาเร็จ • คุณสุดาไมอ่ ิจฉาใคร เธอ จึง มคี วามสุขเสมอ
ข้อสังเกต • สันธานเป็ นคาเช่ือมท่ีจาเป็ นตอ้ งมีประโยคความ รวม และจะตอ้ งใชใ้ ห้เหมาะสมกบั เน้ือความในประโยค ดงั น้นั จึงกลา่ วไดว้ า่ สนั ธานเป็ นเคร่ืองกาหนดหรือช้ีบง่ วา่ ประโยคน้นั มีใจความแบบใด
• สันธานบางคาประกอบดว้ ยคาสองคา หรือสามคาเรียงอยู่ห่าง กนั เช่น ฉะน้ัน – จึง, ท้ัง – และ, แต่ – ก็ สันธานชนิดน้ีเรียกว่า “สันธานคาบ” มกั จะมีคาอ่ืนมาคนั่ กลางอยจู่ ึงตอ้ งสงั เกตใหด้ ี • ประโยคเล็กที่เป็ นประโยคความเดียวน้ัน เมื่อแยกออกจาก ประโยคความรวมแลว้ กย็ งั สื่อความหมายเป็ นท่ีเขา้ ใจได้
3. ประโยคความซ้อน ประโยคความซ้อน คือ ประโยคท่ีมีใจความสาคัญเพียงใจความเดียว ประกอบดว้ ยประโยคความเดียวท่ีมีใจความสาคัญ เป็ นประโยคหลกั (มุขย ประโยค) และมปี ระโยคความเดียวทมี่ ีใจความเป็ นส่วนขยายส่วนใดส่วนหน่ึง ของประโยคหลกั เป็นประโยคย่อยซอ้ นอยู่ในประโยคหลกั (อนุประโยค) โดยทา หนา้ ที่แตง่ หรือประกอบประโยคหลกั ประโยคความซอ้ นน้ีเดิม เรียกว่า สังกร ประโยค
อนุประโยคหรือประโยคยอ่ ยมี 3 ชนิด ทาหนา้ ที่ ต่างกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี 3.1 ประโยคย่อยที่ทาหน้าท่ีแทนนาม (นามานุประโยค) อาจใชเ้ ป็นบท ประธานหรือบทกรรม หรือส่วนเตมิ เตม็ กไ็ ด้ ประโยคย่อยน้ีเป็นประโยคความ เดยี วซอ้ นอยใู่ นประโยคหลกั ไม่ตอ้ งอาศยั บทเชือ่ มหรือคาเชอ่ื ม ตวั อยา่ งประโยคความซอ้ นท่เี ป็นประโยคย่อยทาหนา้ ท่แี ทนนาม • คนทาดยี ่อมไดร้ ับผลดี คน...ย่อมไดร้ ับผลดี : ประโยคหลกั คนทาดี : ประโยคยอ่ ยทาหนา้ ทเี่ ป็นบทประธาน
3.2 ประโยคยอ่ ยทีท่ าหน้าท่เี ป็นบทขยายประธานหรอื บทขยายกรรม หรอื บทขยายสว่ นเติมเตม็ (คณุ านปุ ระโยค) แล้วแต่กรณี มีประพนั ธสรรพนาม (ท่ี ซึ่ง อนั ผ)ู้ เช่ือมระหว่างประโยคหลักกับประโยคยอ่ ย ตัวอย่างประโยคความซ้อนทีป่ ระโยคยอ่ ยทาหนา้ ทีเ่ ป็นบทขยาย • คนทป่ี ระพฤติดยี ่อยมคี วามเจรญิ ในชีวิต ทปี่ ระพฤติ ขยายประธาน คน - คน...ย่อมมีความเจรญิ ในชีวติ : ประโยคหลกั - (คน) ประพฤติดี : ประโยคย่อย • ฉนั อาศยั บา้ นซง่ึ อย่บู นภูเขา ซ่งึ อยู่บนภูเขา ขยายกรรม บ้าน - ฉันอาศยั บา้ น : ประโยคหลกั - (บ้าน) อย่บู นภเู ขา : ประโยคย่อย
3.3 ประโยคยอ่ ยทท่ี าหนา้ ท่เี ป็นบทขยายคากริยา หรือบทขยายคา วเิ ศษณใ์ นประโยคหลัก (วเิ ศษณานปุ ระโยค) มีคาเชอื่ ม (เช่น เมือ่ จน เพราะ ตาม ให้ ฯลฯ) ซึง่ เชื่อมระหว่างประโยคหลักกับประโยคย่อย ตัวอยา่ งประโยคความซอ้ นที่ประโยคย่อยทาหน้าท่ีเป็นบทกริยาหรือบท ขยายวเิ ศษณ์ • เขาเรยี นเกง่ เพราะเขาตัง้ ใจเรียน เขาเรยี นเก่ง : ประโยคหลกั (เขา) ต้ังใจเรยี น : ประโยคยอ่ ยขยายกรยิ า • ครูรกั ศษิ ย์เหมอื นแมร่ กั ลูก ครูรักศิษย์ : ประโยคหลัก
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: