คำนำ เอกสารประกอบการเรยี น “ชุดอารยธรรมโบราณ” รายวิชา อารยธรรมโลก ส ๓๒๑๐๒ สาระประวัติศาสตร์ กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาหรบั นกั เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๕ เล่มนี้เป็นเลม่ ท่ี ๒ อารยธรรมอยี ิปต์ การจัดทาเอกสารประกอบการเรยี นชดุ น้ีจัดทาข้ึนโดยการประมวลความร้จู ากหนงั สอื ต่างๆ ที่ หลากหลายแลว้ นามาพฒั นาให้อย่ใู นรปู แบบท่ีเป็นระบบ เพื่อใหค้ รูผสู้ อนไดใ้ ช้เปน็ แนวทางในการจัด ประสบการณ์ และทกั ษะการเรยี นรู้แกน่ ักเรียนใหส้ อดคลอ้ งตามตวั ช้วี ดั ของหลกั สูตร มีกิจกรรมและคาถาม ท่เี น้นใหผ้ ู้เรยี นสามารถ เรียนรไู้ ดด้ ้วยตนเอง เน้นใหผ้ ้เู รียนพัฒนาพฤตกิ รรมดา้ นความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านยิ มและทักษะกระบวนการ เพอ่ื พฒั นาผู้เรียนใหม้ ีคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ และได้เรยี นรู้ด้วยการ ปฏบิ ัติจริงดว้ ยตนเองตามความสามารถของแต่ละ บุคคล และมกี ารวดั ผลประเมนิ ผลด้วยวิธีการทีห่ ลากหลาย อนั จะสง่ ผลให้ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียน ให้สงู ข้นึ ผู้จดั ทาหวงั เป็นอย่างยงิ่ ว่าเอกสารประกอบการเรยี นรูช้ ดุ นจี้ ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การจัดการเรียนการสอน และ จะช่วยใหน้ ักเรยี นเกิดการเรยี นรู้อยา่ งสมบรู ณ์ พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นใหม้ ปี ระสิทธิภาพมาก ยิง่ ขึ้นและเพอ่ื เปน็ พ้ืนฐานในการศึกษาเรื่องอน่ื ๆต่อไปในอนาคต วรากร นลิ คุณ ผจู้ ดั ทา
สำรบญั หนำ้ ๑ เร่อื ง อำรยธรรมอียิปต์ ๒ สภาพทตี่ ้งั ทางภมู ิศาสตร์ ๓ ปัจจัยที่มีผลตอ่ การสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมอยี ิปต์ ๙ พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ ความเจรญิ ดา้ นวิทยาการและมรดกสาคัญทางอารยธรรมอียปิ ต์
อำรยธรรมอียปิ ต์ ๑. สภำพทตี่ ั้งทำงภมู ิศำสตร์ อารยธรรมลมุ่ แมน่ ้าไนล์ หรือ อารยธรรมอยี ปิ ต์โบราณ มจี ุดกาเนิดอย่ทู างตอนเหนอื ของทวีปแอรรกิ า บริเวณสองฝั่งแม่น้าไนลท์ ่มี ีลักษณะเปน็ แนวยาว ต้งั แตป่ ากแมน่ า้ ไนล์ซ่ึงเป็นตอนปลายสุดของแม่น้าไปจนถงึ ตอน เหนอื ของประเทศซดู านในปจั จบุ ัน ทาให้แบ่งลกั ษณะภูมปิ ระเทศของล่มุ นา้ ไนล์แบ่งไดเ้ ป็น ๒ บริเวณ คือ อียิปตล์ ำ่ ง (Lower Egypt) ตัง้ อยทู่ ร่ี ำบบรเิ วณปำกแมน่ ้ำ ไนล์ มลี กั ษณะเป็นรปู พัดหรือ เดลตำ ซง่ึ อำรยธรรมโบรำณ ของอยี ิปตเ์ จริญขนึ้ บรเิ วณน้ี อียิปตบ์ น (Upper Egypt) อยู่ ในบรเิ วณที่แมน่ ำ้ ไนลไ์ หลผ่ำน หบุ เขำไปจนถงึ ตน้ แมน่ ้ำตอน ในทวีป ลักษณะเปน็ ท่รี ำบ แคบๆ ขนำบดว้ ยหน้ำผำและ ทะเลทรำย ภาพที่ ๑ แผนที่อารยธรรมอียปิ ต์ แหลง่ ท่มี า : https://baugchamp.wordpress.com/category ลักษณะเชน่ นที้ าให้ดินแดนลุม่ น้าไนล์ไดร้ ับความอุดมสมบรู ณอ์ ยูเ่ สมอและถูกล้อมรอบด้วยทะเลทรายทาใหม้ ี ปราการทางธรรมชาตปิ ้องกันศัตรูจากภายนอก ด้วยสภาพภูมิประเทศท่ีเป็นทะเลทรายและป้องกนั การรกุ รานจากชาติ อืน่ ๆ โดยธรรมชาติ ชาวอยี ิปต์จึงอยู่อย่างสนั โดษ สามารถพฒั นาอารยธรรมใหม้ คี วามต่อเนอ่ื งและมน่ั คงไดเ้ ป็น ระยะเวลาอันยาวนาน มอี ิทธพิ ลตอ่ ความเจริญกา้ วหน้าทางศลิ ปวิทยาการของโลกตะวันตกในสมัยต่อมา กลายเปน็ อู่ อารยธรรมของโลกตะวนั ตกคกู่ ับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย ดังนนั้ จงึ มคี ากล่าวท่วี ่า “Egypt is the gift of the Nile = อียปิ ตเ์ ปน็ ของขวัญจากแม่น้าไนล์”
๒. ปจั จัยทมี่ ีผลตอ่ กำรสร้ำงสรรค์อำรยธรรมอยี ิปต์ อารยธรรมอียิปตไ์ ด้ช่อื วา่ เปน็ ของขวัญจากแม่นา้ ไนล์ เนือ่ งจากลักษณะท่ตี ้งั ของอยี ปิ ตแ์ ละสภาพภูมิศาสตร์ มอี ิทธิพลต่อการดารงชีวิต การประกอบอาชพี และการสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมอยี ิปต์ นอกจากน้แี ลว้ ระบอบการ ปกครองตลอดจนภูมปิ ัญญาของชาวอยี ปิ ต์ก็เป็นปัจจยั สาคญั ทส่ี ่งเสริมการสรา้ งสรรคอ์ ารยธรรมของอียิปต์ ภาพที่ ๒ รมิ ฝง่ั แมน่ ้าไนล์ แหล่งท่ีมา : http://www.pantown.com/board/php?id=๓๖๙๕๓&area=๓&name=board๕&topic= ๕๕&action=view ๒.๑ สภำพภมู ศิ ำสตร์ที่ตง้ั ของอำรยธรรมอียิปต์ สภาพภมู ิศาสตรข์ องอยี ปิ ต์โดยท่ัวไปมีลักษณะรอ้ นและแห้งแล้ง พ้นื ที่สว่ นใหญ่เปน็ เขตทะเลทรายซึ่งไมเ่ ออ้ื ต่อการเพาะปลูก ยกเวน้ บริเวณ ๒ ฝง่ั แม่น้าไนลท์ ีม่ ักมีนา้ ท่วมขงั เปน็ ประจาในชว่ งฤดูฝน นา้ ฝนและหมิ ะทีล่ ะลายจาก ยอดเขาในเขตท่ีราบสงู เอธโิ อเปยี จะไหลจากตน้ แมน่ ้าไนล์ และทว่ มลน้ สองฝ่ังแม่น้าตั้งแตเ่ ดือนกันยายนของทุกปี ตะกอนและโคลนท่นี า้ พดั พามาทับถมกลายเป็นปุ๋ยท่ีดีสาหรบั การเพาะปลกู บริเวณทีล่ ุ่มริมฝงั่ แมน่ า้ อียิปต์จึงไดร้ บั ความอุดมสมบรู ณอ์ ย่เู สมอเพราะดินตะกอนทับถมกลายเป็นพื้นท่ที ่ีมคี วามอุดมสมบรู ณ์ตลอดสองฝั่ง แต่ลกั ษณะ ธรรมชาติ ดังกลา่ วน้ีช่วยให้ชาวอยี ปิ ต์เพาะปลกู ได้เพียงปลี ะครงั้ เทา่ น้ัน จึงตอ้ งใชภ้ มู ปิ ัญญาแกไ้ ขข้อจากัดของสภาพ ภมู ิศาสตร์ ด้วยการขุดคลองขนาดส้ันๆ เพอื่ สง่ น้าเขา้ ไปในเขตทะเลทรายทแี่ หง้ แลง้ จนสามารถขยายพ้นื ท่ีทา การเกษตรและทาการเพาะปลกู ไดป้ ีละ ๒-๓ ครง้ั นอกจากนี้ผ้นู าชาวอียปิ ต์โบราณยังใช้วิธีคานวณจัดแบง่ ท่ีดนิ ที่ สามารถเพาะปลูกได้ ให้กบั ประชาชนอยา่ งทั่วถึง กลา่ วได้ว่าการทาชลประทานและระบบจัดสรรที่ดินช่วยใหช้ าว อียปิ ตต์ ั้งถิ่นฐาน อยใู่ น ดนิ แดนทแี่ หง้ แลง้ ได้ต่อเนอ่ื งนานถงึ ๖๐๐๐ ปี โดยไมต่ ้องอพยพยา้ ยถิน่ ฐานไปแสวงหาทท่ี ากิน ใหม่เหมอื นชนชาตอิ ่ืน ความได้เปรยี บทางธรรมชาติ เนือ่ งจากประเทศอียปิ ต์เป็นดนิ แดนที่ลอ้ มรอบด้วยทะเลทรายกวา้ งใหญซ่ ่ึงเป็น ส่วนหน่ึงที่เชื่อมตอ่ กับทะเลทรายซาฮารา่ ทางด้านตะวันตก ทาใหม้ ีปราการธรรมชาติในการป้องกันศตั รูจากภายนอก ประกอบกบั แม่น้าไนล์มคี วามยาวมากท่สี ุดในโลกและใชเ้ ป็นเส้นทางเดนิ ทพั ท่ีสาคญั จึงยากต่อการรุกรานและโจมตี จากขา้ ศึกภายนอก ซงึ่ ชาวอียปิ ต์สามารถหลบหนีจากการรกุ รานและย้ายไปเตรียมการรับมอื ขา้ ศึกทางพื้นทตี่ อนในได้ นอกจากน้แี ม่นา้ ไนล์ยงั เปน็ เขตอุดมสมบรู ณ์ทจ่ี ากัดอยตู่ ามบรเิ วณสองฝากฝั่ง ทาให้คนอาศยั อย่เู พพาะบริเวณนเี้ อื้อ
ให้การปกครองทาไดโ้ ดยงา่ ย โดยอาศยั การควบคุมการเดนิ เรือในแม่นา้ ไนล์ ผปู้ กครองสามารถคุมการเคลอ่ื นไหวของ คนและการคา้ เจรญิ และการทีป่ ากแมน่ า้ ไนล์ไหลออกทางทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนียนทาใหก้ ารขนสง่ สนิ คา้ ทาได้สะดวก ทา ให้เมอื งอเล็กซานเดรยี เปน็ ศูนยก์ ลางการค้าและเมืองทา่ ท่ีสาคัญของอียปิ ต์ ดงั น้นั จากลกั ษณะทตี่ งั้ ของอียปิ ต์ทีถ่ กู ปิดลอ้ มดว้ ยพรมแดนธรรมชาติที่สาคัญ คอื ทะเลเมดิเตอร์เนยี น แมน่ า้ ไนลแ์ ละทะเลทรายจงึ ชว่ ยป้องกนั การรกุ รานจากภายนอก กลายเป็นปจั จัยสาคัญทร่ี วมดนิ แดนใหเ้ ป็นอันหนึง่ อนั เดยี วกนั ส่งผลให้การค้าเจรญิ เกดิ การสร้างสรรค์อารยธรรมและวิทยาการตา่ งๆ ทาให้ชาวอียิปต์สามารถพฒั นาและ หล่อหลอมอารยธรรมได้ตอ่ เนื่องยาวนานและมเี อกลกั ษณ์โดดเดน่ เป็นของตนเอง ภาพท่ี ๓ อารยธรรมอียปิ ต์ แหลง่ ทม่ี า : http://alizah.co/map-of-ancient-egypt/
๒.๒ ทรพั ยำกรธรรมชำติ แมว้ า่ พ้นื ทสี่ ว่ นใหญข่ องอยี ิปตจ์ ะเป็นทะเลทรายที่แห้งแลง้ แตบ่ รเิ วณสองฝัง่ แมน่ ้าไนลก์ ป็ ระกอบด้วย หินแกรนติ และหินทราย ซึ่งเปน็ วสั ดุสาคัญท่ีชาวอียปิ ตใ์ ช้ในการก่อสร้างและพฒั นาความเจรญิ รุ่งเรอื งทางด้าน สถาปัตยกรรม วัสดุเหลา่ นมี้ ีความคงทนแขง็ แรงและช่วยรักษามรดกทางด้านอารยธรรมของอยี ปิ ต์ให้ปรากฏแก่ ชาวโลกมาจนกระท่งั ทุกวนั นี้ นอกจากน้ี ต้นออ้ โดยเพพาะปาปริ ุส ซงึ่ ขึ้นชุกชุมบรเิ วณสองฝงั่ แม่นา้ ไนล์ก็กลายเปน็ วัสดธุ รรมชาติสาคญั ทีช่ าวอียิปตใ์ ช้ทากระดาษ เรยี กวา่ กระดาษปาปริ สุ ทาให้เกดิ ความก้าวหน้าในการบนั ทกึ และ สรา้ งผลงานดา้ นวรรณกรรม ๒.๓ ภูมปิ ญั ญำของชำวอยี ิปต์ ชาวอยี ปิ ต์เป็นชนชาติทม่ี ีความสามารถในการคิดคน้ เทคโนโลยีและวิทยาการความเจรญิ ดา้ นตา่ งๆ เพ่ือแก้ ปัญหาการดารงชีวิต ความเช่อื ทางศาสนาและการสรา้ งความเจรญิ รุ่งเรอื งให้แกจ่ กั รวรรดิอียิปต์ เช่น ความรูท้ าง คณิตศาสตร์ เรขาคณติ และริสิกส์ ได้ส่งเสริมความเจรญิ ในด้านการก่อสร้างและสถาปัตยกรรม ความรู้ดา้ นดารา ศาสตร์ชว่ ยใหช้ าวอียปิ ตป์ ระดษิ ฐ์ปฏิทนิ รนุ่ แรกๆของโลก ความสามารถในการประดิษฐ์อกั ษรภาพทเี่ รยี กว่า “อกั ษร เฮยี โรกลิริก”(Hieroglyphic) ทาใหเ้ กิดการบันทึกเร่ืองราวท่เี ก่ยี วกบั ศาสนาและราโรห์ และความเจรญิ ทางการ แพทยก์ ็ทาให้ชาวอียิปต์สามารถคิดคน้ วธิ ผี า่ ตัดเพื่อรกั ษาผปู้ ววย ตลอดจนใชน้ ้ายารักษาศพไม่ให้เน่าเป่อยในการทามมั มี่ ความเจรญิ ทางวทิ ยาการและภูมปิ ญั ญาเหล่านที้ าใหส้ งั คมอียิปต์เจรญิ ร่งุ เรอื งต่อเนือ่ งหลายพันปี สามารถหลอ่ หลอม อารยธรรมของตนให้กา้ วหนา้ และเปน็ รากฐานของอารยธรรมตะวนั ตกในเวลาตอ่ มา ภาพที่ ๔ มมั ม่ี แหล่งทีม่ า : https://www.baanjomyut.com/library_๒/origin_of_civilization/๐๒.html
๒.๔ ระบบกำรปกครอง จักรวรรดิอียปิ ตม์ ีระบอบการปกครองทม่ี ่นั คง ชาวอยี ิปต์ยอมรบั อานาจและเคารพนับถอื ราโรห์หรอื กษตั รยิ ์ ของตนประดุจเทพเจา้ องค์หน่งึ ดงั นั้นราโรห์จงึ มอี านาจเดจ็ ขาดในการปกครองและบริหารประเทศ ทงั้ ดา้ นการเมือง และศาสนา โดยมีขนุ นางเปน็ ผชู้ ่วยในดา้ นการปกครอง และมพี ระเปน็ ผชู้ ่วยดา้ นศาสนา การที่ราโรห์มอี านาจเด็จขาด สูงสุดทาให้อียปิ ต์พัฒนาอารยธรรมของตนไดต้ อ่ เนื่อง เพราะราโรหส์ ามารถสรา้ งสรรคแ์ ละพฒั นาความเจริญตาม แนวนโยบายของตนได้เต็มท่ี เชน่ การพัฒนาพ้นื ท่กี ารเกษตรในเขตทะเลทรายที่แหง้ แลง้ ด้วยการคิดคน้ ระบบ ชลประทาน การสรา้ งพีระมิดหรอื สสุ านขนาดใหญไ่ วเ้ พ่ือเก็บรักษาพระศพของราโรห์ตามความเชื่อทางศานาของชาว อยี ปิ ตเ์ ร่ือง โลกหลังความตายและการมวี ญิ ญาณเปน็ อมตะ และการคิดคน้ ปฏิทนิ เพือ่ กาหนดฤดูกาลสาหรับการเก็บ เกย่ี ว ภาพท่ี ๕ ภาพวาดเกีย่ วกับราโรหใ์ นพีระมดิ แหล่งท่ีมา : http://www.metricsyst.wordpress.com/๒๐๑๓/๐๑/๓๑/อารยธรรมอยี ิปต์-๒/ ๒.๕ ศำสนำ ศาสนามอี ทิ ธพิ ลสาคญั ตอ่ การดาเนินชวี ิตและการสร้างสรรค์อารยธรรมอียิปต์ ความเช่ือทางศาสนาของชาว อียปิ ตผ์ กู พันกบั ธรรมชาติและสภาพภูมศิ าสตร์ จะเห็นไดว้ า่ ชาวอยี ปิ ตน์ บั ถอื เทพเจา้ หลายองคท์ ง้ั ที่เป็นสรรพส่งิ ตาม ธรรมชาติและวญิ ญาณของอดตี ราโรห์ โดยบชู าสัตวต์ ่างๆ เช่น แมว สุนขั หมาใน วัว เหยี่ยว แกะ ฯลฯ เพราะเชื่อว่า สตั ว์เหล่าน้ันเปน็ ทส่ี ิงสถติ ของเทพซ่งึ พทิ กั ษ์มนษุ ย์ แตเ่ ทพเจ้าที่เช่ือว่ามอี านาจปกครองจักรวาลคอื เร หรอื รา (Re or Ra) ซึ่งเป็นเทพแห่งดวงอาทิตย์และเป็นหัวหน้าแห่งเทพเจา้ ทงั้ ปวง เทพโอซิริส (Osiris) ซงึ่ เป็นเทพแหง่ แม่น้าไนล์ ผู้บันดาลความอดุ มสมบูรณใ์ ห้แกอ่ ยี ิปตแ์ ละเป็นผู้พิทักษ์ดวงวิญญาณหลงั ความตาย และไอซิส ซง่ึ เปน็ เทวีผู้สรา้ ง และชุบชีวติ คนตายและยังเปน็ ชายาของเทพโอรซิ ิสอีกด้วย ชาวอียิปต์นับถือราโรหข์ องตนเสมอื นเทพเจา้ องคห์ นึง่
และเช่ือวา่ วิญญาณเปน็ อมตะ จงึ สร้างสุสานขนาดใหญ่หรือพีระมิดสาหรับเกบ็ รักษาร่างกายท่ีทาใหไ้ มเ่ น่าเปอ่ ยด้วย วธิ ีการมัมมี่ เพอ่ื รอวนั ท่วี ญิ ญาณจะกลบั มาเข้าร่างและรน่้ คนื ชีพอีกคร้ัง ความเช่ือทางศาสนายังทาให้เกิดกาารบันทึกเรอื่ งราวเก่ียวกบั ความเชอ่ื และพธิ ีกรรมตามสถานทีต่ ่างๆ ที่ สาคญั ไดแ้ ก่ คัมภรี ์ของผู้ตายหรอื คมั ภีร์มรณะ (Book of The Dead) ซึ่งอธบิ ายผลงานและคณุ ความดใี นอดีตของ ดวงวิญญาณท่รี อรบั การตัดสนิ ของเทพโอรซิ ิส บนั ทกึ เหล่านี้ชว่ ยให้เข้าใจถึงวิถีชวี ิตชาวอียิปต์และพฒั นาการของ อารยธรรมด้านต่างๆ ความเจรญิ ด้านวทิ ยาการท่ีชาวอยี ิปตส์ ่งั สมความเจริญใหแ้ กช่ าวโลกหลายแขนง ทสี่ าคญั ได้แก่ ความเจรญิ ดา้ นดาราศาสตร์ คณติ ศาสตร์ การแพทย์ และอักษรศาสตร์ ภาพท่ี ๖ ดวงตาของเทพฮอรัส แหล่งทีมา : http://www.ancient-egypt.co.uk/luxor_museum/pages/thutmose%๒๐iii%๒๐ (menkheperra)%๒๐๓.htm
๓. พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ อารยธรรมอียปิ ตเ์ ริ่มขนึ้ เมอื่ ประมาณ ๓๕๐๐ ปกี ่อนคริสต์ศักราช หรือ ๕๕๐๐ ปีมาแล้ว ในบรเิ วณลุ่มแมน่ า้ ไนลท์ างตอนเหนือของทวีปแอรรกิ า เป็นอารยธรรมท่มี ีความเจริญร่งุ เรอื งในดา้ นตา่ งๆอยา่ งมากและมีพัฒนาการ สบื เนอื่ งต่อมาอีกหลายพนั ปี ๓.๑ อียิปต์ก่อนประวตั ิศาสตร์ ลักษณะชุมชนด้งั เดมิ เป็นพวกเร่ร่อน ตอ่ มาได้พัฒนาขึน้ ตามลาดับ จนเกดิ ชนช้ันปกครองสังคม ขยายตัวเปน็ รัฐเล็ก ๆ เรียกวา่ “โมนสิ ” มีสญั ลกั ษณ์ เช่น สุนัข เหย่ยี ว แมงปอว ง ฯลฯ ราชวงศ์แรกท่ีสามารถรวมอยี ิปตเ์ ปน็ อาณาจกั ร คือ กษตั รยิ เ์ มนสิ (Menes ๓๐๐๐ B.C.) ถอื เป็นราโรห์องคแ์ รก มีศูนยก์ ลางท่ีเมมริส ๓.๒ อียิปต์สมัยประวตั ศิ าสตร์ ชาวอยี ิปตส์ ามารถประดษิ ฐอ์ ักษรภาพเรียกวา่ “เฮียโรกลริ ิก” (hieroglyphic) โดยแกะสลกั ตามฝาผนังและ สสุ านราโรห์ ตอ่ มาจงึ พัฒนาการเขียนลงในกระดาษ “ปาปิรสุ ” เรียกว่า สมยั อาณาจักรอยี ปิ ต์ ซ่งึ สามารถแบง่ ได้เปน็ ๓ ช่วง ไดแ้ ก่ ๓.๒.๑ มคี วำมเจริญในช่วงประมำณปี ๒,๗๐๐ – ๒,๒๐๐ ก่อนครสิ ตศ์ ักรำช เป็น สมัย สมยั ทอ่ี ียปิ ต์มคี วำมเจรญิ กำ้ วหน้ำในดำ้ นวทิ ยำศำสตรแ์ ละศิลปกรรม มีกำร อำณำจักร กอ่ สร้ำงพีระมิดซงึ่ ถอื วำ่ เป็นเอกลกั ษณ์โดดเด่นของอำรยธรรมอยี ิปต์ เก่ำ ฟำโรหม์ ีอำนำจปกครองอยใู่ นช่วงรำวปี ๒๐๕๐ – ๑๖๕๒ ก่อน ๓.๒.๒ ครสิ ตศ์ กั รำช ในสมยั น้อี ยี ปิ ต์มคี วำมเจริญก้ำวหน้ำทำงดำ้ นทำงวทิ ยำกำร สมัย และภูมปิ ญั ญำมำกโดยเฉพำะดำ้ นกำรชลประทำน จงึ ไดร้ บั กำรยกยอ่ งว่ำ อำณำจักร เป็นยคุ ทองของอยี ปิ ต์ อยำ่ งไรกต็ ำม ในชว่ งปลำยสมัยเกิดควำมวุ่นวำย กลำงเก่ำ ภำยในประเทศ จนต่ำงชำตเิ ข้ำมำรกุ รำนและปกครองอียปิ ต์ เพรำะสมยั ปลำยรำชวงศ์ได้มีกำรพยำยำมเปลี่ยนควำมเช่อื จำกกำรบูชำเทพเจ้ำหลำย ๓.๒.๓ พระองค์ ให้เหลือเพียงพระองคเ์ ดียว ได้แก่ สุรยิ เทพ Aton หรอื อะตนั ซึ่ง สมัย ฟำโรหเ์ ทำ่ นัน้ จะมีสิทธ์ิ อำณำจกั ร ใหม่เก่ำ ส่วนประชาชนทว่ั ไปใหบ้ ชู าราโรห์แทน น่เี ปน็ เหตุหนึง่ ทท่ี ���ำให้ชนชาตขิ าด ชควำาวมอเยี ขปิ ้มตแส์ขำ็งมำรถขบั ไล่ชำวต่ำงชำติ และกลับมำปกครองดนิ แดนของตน อีกครง้ั หนง่ึ ในช่วงประมำณปี ๑๕๖๗ – ๑๐๘๕ กอ่ นคริสต์ศกั รำช สมยั น้ี ฟำโรห์มีอำนำจเดด็ ขำดในกำรปกครองและขยำยอำณำเขตเหนอื ดนิ แดน ใกล้เคียงจนเปน็ จกั รวรรดิ จำกน้นั จักรวรรดิอียปิ ต์เรมิ่ เสอ่ื มอำนำจต้ังแต่ ประมำณปี ๑,๑๐๐ ก่อนคริสตศ์ ักรำช ในสมัยนชี้ ำวตำ่ งชำติ เช่น พวกอสั ซี เรียนและพวกเปอรเ์ ซียจำกเอเชยี รวมทงั้ ชนชำตใิ นแอฟริกำไดเ้ ขำ้ มำยดึ ครองรำชวงศ์ปโตเลมเี ปน็ รำชวงศส์ ุดท้ำยที่ปกครองอยี ปิ ต์ ฟำโรห์องค์ สดุ ทำ้ ยคอื พระนำงคลโี อพัตรำ หลังจำกน้ันอียิปต์ตกอย่ภู ำยใตก้ ำรปกครองของจกั รวรรดิโรมนั จนกระทั่ง เสอ่ื มสลำยในทสี่ ุดส่วนประชาชนท่วั ไปให้บูชาราโรห์แทน นี่เป็นเหตุหนงึ่ ท่ีท
ภายหลังอยี ปิ ตเ์ ปลยี่ นไปนบั ถือศาสนาอิสลาม ดงั นั้นอยี ิปต์ในสมยั หลังจึงไม่อาจรวมอยู่ในกลุ่มของโลก ตะวันตก ได้อกี ตอ่ ไป เพราะความสมั พันธท์ างศาสนา การเมือง ศลิ ปวัฒนธรรม และเศรษฐกจิ ของอียิปต์มคี วาม ใกลช้ ดิ กับกลุ่ม ประเทศอิสลามทางตะวนั ออกมากกวา่ ภาพที่ ๗ ราโรห์ตุตนั คาเมน แหลง่ ที่มา : https://theunredacted.com/tutankhamun-curse-of-the-mummy/ ภาพที่ ๘ โครงสร้างทางสังคมของอยี ปิ ต์ แหล่งทมี า : http://karnnoonngam.blogspot.com/๒๐๑๗/๐๕/blog-post.html
๔. ความเจริญด้านวทิ ยาการและมรดกสำคญั ทางอารยธรรมอยี ิปต์ ๔.๑ ดำ้ นดำรำศำสตร์ เกดิ จากการสงั เกตปรากฏการณท์ น่ี ้าในแมน่ ้าไนล์หลากทว่ มล้นตลิง่ เมือ่ นา้ ลดแลว้ พ้ืนดนิ กม็ คี วามเหมาะสม ที่จะเพาะปลกู หลงั จากชาวนาเก็บเกยี่ วพืชผลแล้วนา้ ในแมน่ า้ ไนลก์ ็กลบั มาท่วมอีก หมนุ เวียนเช่นน้ีตลอดไป ชาว อียิปต์ ได้นาความรจู้ ากประสบการณ์ดงั กล่าวไปคานวณปฏิทนิ นบั รวมเปน็ ๑ ปี มี ๑๒ เดือน ในรอบ ๑ ปยี งั แบง่ เป็น ๓ ฤดู ทกี่ าหนดตามวถิ กี ารประกอบอาชีพ คือ ฤดูน้าทว่ ม ฤดูไถหวา่ น และฤดูเกบ็ เกย่ี ว ๔.๒ ด้านคณติ ศาสตร์ อยี ิปต์เปน็ ชาติแรกทร่ี ูจ้ กั ใช้ความรูท้ างเรขาคณิตในการวดั ท่ีดนิ และพบสูตรคานวณหาพื้นท่วี งกลม (Pi, R) และกาหนดค่าของ Pi = ๓.๑๔ โดยเพพาะการคานวณขัน้ พน้ื ฐาน ได้แก่ การบวก ลบ และหาร และการคานวณพน้ื ท่ี วงกลม สีเ่ หล่ียม และสามเหลี่ยม ความรู้ ดังกลา่ วเปน็ ฐานของวชิ ารสิ ิกส์ ซ่งึ ชาวอียปิ ตใ์ ช้คานวณในการกอ่ สร้าง พรี ะมดิ วหิ าร เสาหินขนาดใหญ่ ฯลฯ ภาพที่ ๙ ความรู้ด้านคณิตศาสตรข์ องชาวอียิปต์ แหลง่ ท่มี า : https://baugchamp.wordpress.com/category/
๔.๓ ดำ้ นกำรแพทย์ การแพทยม์ ีความก้าวหน้ามาก เอกสารท่บี นั ทกึ เมื่อ ๑๗๐๐ ปีกอ่ นคริสตศ์ กั ราช ระบวุ า่ อยี ปิ ตม์ ีผู้เช่ียวชาญ ดา้ นการแพทย์หลายสาขา เช่น ทนั ตแพทย์ ศัลยแพทย์ และแพทยผ์ ู้เช่ยี วชาญเกี่ยวกับกระเพาะอาหาร ในสมยั น้ี แพทยอ์ ยี ปิ ต์สามารถผ่าตดั คนไขแ้ บบง่ายๆ ได้แล้ว นอกจากนยี้ ังคิดคน้ วิธปี รุงยารกั ษาโรคได้เปน็ จานวนมาก โดย รวบรวมเปน็ ตาราซ่งึ ต่อมาถูกนาไปใช้กันอยา่ งแพร่หลายในทวีปยโุ รป ชาวอยี ปิ ตโ์ บราณมีความร้ใู นวิชาการแพทย์ ดังตอ่ ไปน้ี - การทามัมมี่ พบวธิ รี กั ษาร่างกายไม่ให้เนา่ เป่อยโดยทาเปน็ มมั ม่ี - ศลั ยกรรม แพทย์อยี ิปต์โบราณชานาญการผ่าตัดกระดูก รู้จักใช้น้าเกลอื ล้างแผลปอ้ งกันการอกั เสบและใชน้ า้ ดา่ ง รกั ษาแผลให้หายเร็ว - ทนั ตกรรม ทันตแพทย์อยี ปิ ตโ์ บราณรู้จักใช้รนั ปลอมทาดว้ ยทองและสามารถอุดรันผุได้ - ระบบหมุนเวียนของโลหิต แพทย์อยี ิปตโ์ บราณค้นพบวา่ หัวใจเปน็ ศูนยก์ ลางของระบบหมนุ เวยี นโลหิตในรา่ งกาย ภาพท่ี ๑๐ มมั มร่ี าโรหต์ ตุ นั คาเมน แหล่งท่ีมา : http://oknation.nationtv.tv/blog/EdHistory/๒๐๑๓/๑๐/๑๘/entry-๕
ภาพท่ี ๑๑ การทามมั มร่ี กั ษาสภาพศพไม่ให้เน่าเป่อย แหล่งท่มี า : http://epicegypt.blogspot.com/p/blog-page.html ภาพท่ี ๑๒ โลงศพตุตันคาเมน แหล่งทม่ี า : http://www.thaigoodview.com/node/๑๓๐๘๗๑?page=๐,๐
๔.๔ ดา้ นอกั ษรศาสตร์ อักษรภาพเฮยี โรกลิฟกิ เป็นอกั ษรรนุ่ แรกที่อยี ปิ ตป์ ระดษิ ฐ์ขึ้นเมอ่ื ประมาณปี ๓๑๐๐ ปีก่อนคริสตศ์ ักราช เปน็ อักษรภาพแสดงลกั ษณต์ ่างๆ ตอ่ มามีการพัฒนาตัวอักษรเป็นแบบพยญั ชนะเฮียโรกรฟิ ฟิคแปลวา่ “อกั ษรหรือ หรือรอยสลักอนั ศกั ด์สิ ทิ ธิ์” ท่ีเรียกเชน่ น้ีเพราะพระเป็นผเู้ ริม่ ใช้อกั ษรเหล่านแี้ ละใชบ้ ันทกึ เร่ืองราวเก่ียวกบั ศาสนา ในระยะแรกชาวอยี ปิ ต์จารกึ เร่ืองราวดว้ ยการแกะสลกั อักษรไว้ตามกาแพงและผนงั ของส่ิงกอ่ สร้าง เช่น วิหารและ พรี ะมดิ ตอ่ มาคน้ พบวิธีทากระดาษจากตน้ ปาปิรุส อยี ิปต์เป็นชาตแิ รกท่ีคิดทากระดาษขน้ึ ใช้ กระดาษดังกล่าวทาจาก ตน้ ปาปริ ุส ซงึ่ มีมากมายตามรมิ ฝ่งั แม่น้าไนล์ คาว่า paper ในภาษาองั กฤษปัจจุบนั มรี ากฐานมาจากคาPapyrus เครือ่ งเขียน ใช้กา้ นอ้อ สว่ นหมกึ ใชย้ างไม้ผสมเขม่า โดยจะบันทกึ เรอื่ งราวของฟาโรห์ ศาสนา และความรทู้ างการ แพทยแ์ ละ ดาราศาสตร์ เปน็ ตน้ ทาให้มกี ารบนั ทึกแพร่หลายมากข้ึน ความก้าวหนา้ ทางอกั ษรศาสตร์จงึ เป็นหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์ ทที่ าใหม้ นษุ ยชาติทราบถึงความเจรญิ และความต่อเนอ่ื งของอารยธรรมอียิปต์ ภาพที่ ๑๓ อกั ษรภาพเฮียโรกลฟิ ิก แหล่งทีม่ า : http://jingkajokbangbon.wixsite.com/jingjok/contact ภาพท่ี ๑๔ อักษรภาพเฮียโรกลิรกิ แหลง่ ท่ีมา : http://www.ancient-egypt.co.uk/luxor_museum/pages/thutmose%๒๐iii%๒๐ (menkheperra)%๒๐๓.htm
๔.๕ ด้ำนวรรณกรรม งานวรรณกรรมเปน็ ร้อยแกว้ เปน็ ส่วนใหญ่ วรรณกรรมท่สี าคัญของอียปิ ต์โบราณส่วนใหญเ่ ป็นวรรณกรรม ทางศาสนา มักเปน็ เรื่องราวเกีย่ วกบั เทพเจา้ นิทานพนื้ เมอื ง ภาษติ และพงศาวดาร ผลงานด้านศาสนาท่สี าคญั ท่ีสุด คอื คัมภีร์มรณะ (Book of the Dead) สาระสาคัญเกย่ี วกับหลกั ฐานแสดงคุณงามความดี และความประพฤตถิ ูก ทานองคลองธรรมของผ้ตู ายระหวา่ งมชี ีวติ อยู่ ภาพที่ ๑๕ Book of the Dead แหล่งท่ีมา : http://www.ancient-egypt.co.uk/index.htm ๔.๖ ด้ำนสถำปตั ยกรรม ผลงานสร้างสรรค์ทางศิลปวฒั นธรรมของชาวอียิปตโ์ บราณ สะท้อนถงึ ความผูกพนั และความเชือ่ ทางศาสนา ในขณะทกี่ ารแสดงความคิดเห็นทางด้านปรชั ญากลบั ไม่ไดร้ บั ความสนใจมากนักและประการสาคัญ คือ เปน็ การ สรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะเพ่ือชนชน้ั สงู โดยใช้แรงงานของชนชั้นต่าในสังคม ชาวอียปิ ต์โบราณไดร้ ับการยกย่องเป็นสถาปนกิ ชั้นยอดของโลก สิ่งกอ่ สรา้ งทม่ี ชี ื่อเสยี งยิ่งของอียิปต์ ไดแ้ ก่ พีระมดิ สงิ่ มหศั จรรย์ของโลกยคุ โบราณ นอกจากนย้ี งั สถาปตั ยกรรมที่มีชือ่ เสียงของอียปิ ต์ ได้แก่ วิหารคารน์ ัค วหิ าร ลกั ซอร์ วหิ ารอาบูซิมเบล และหุบผากษัตริย์ เปน็ ตน้
พรี ะมิด ชาวอยี ปิ ตโ์ บราณมีความสามารถอยา่ งสูงในการสร้างพรี ะมิดสสุ านทรี่ ักษาร่างของราโรห์ทสี่ ิน้ ชวี ติ ไปแล้ว พีระมิดท่ีใหญ่ท่สี ุดคอื พรี ะมดิ ของพระเจ้าคีออปต์ (Cheops) ท่ีเมืองกซิ ่า (Gizeh) แสดงถึงความก้าวหนา้ ใน เทคนคิ การกอ่ สร้างความรู้ทางเรขาคณิต เทคนคิ การใชเ้ ลื่อยสาริดตดั หนิ เป็นก้อนใหญ่ๆ และการเคลอ่ื นย้ายหนิ หนัก มาเรยี งตอ่ กันอยา่ งสนทิ พรี ะมดิ สรา้ งขึ้นดว้ ยจดุ ประสงค์ทางศาสนาและอานาจทางการปกครอง ด้วยความเช่ือทาง ศาสนา ราโรหข์ องอยี ิปต์จงึ สรา้ งพีระมดิ สาหรบั หรับตนเอง สันนษิ ฐานวา่ พีระมิดรนุ่ แรกๆ สร้างขน้ึ ราวปี ๒๗๗๐ ก่อนคริสตศ์ ักราช พรี ะมิดข้นั บันไดแหง่ ซักคาราเป็นพรี ะมิดแหง่ แรกของอียิปต์สรา้ งเป็นขนั้ บันได ก่อนจะพัฒนามา เป็นพีระมดิ แบบสามเหล่ียมดา้ นเทา่ ความย่ิงใหญข่ องพีระมดิ สะท้อนถงึ อานาจของราโรห์ ความสามารถในการ ออกแบบ และก่อสรา้ งของชาวอียิปต์ ภาพที่ ๑๖ พีระมิดขั้นบนั ไดเมอื งซกั คาร่า แหลง่ ที่มา : http://www.oceansmile.com/Egypt/Sakkara.htm
ภาพท่ี ๑๗ พีระมดิ และสรงิ ค์ แหล่งที่มา : https://www.baanjomyut.com/library_๒/origin_of_civilization/๐๒.html ภาพท่ี ๑๘ ภายในพรี ะมดิ ตตุ ันคาเมน แหลง่ ท่ีมา : http://karnnoonngam.blogspot.com/๒๐๑๗/๐๕/blog-post.html
วหิ ารอาบซู มิ เบล อียิปตย์ ังสร้างวิหารจานวนมาก เพื่อบูชาเทพเจา้ แตล่ ะองคแ์ ละเทพประจาทอ้ งถ่นิ ภายใน วหิ ารมกั จะประดบั ดว้ ยเสาหนิ ขนาดใหญ่ซง่ึ แกะสลักลวดลายอยา่ งงดงาม วิหารท่สี าคัญและยง่ิ ใหญ่ของอียิปต์ เช่น วหิ ารแหง่ เมอื งคารน์ ัก (Karnak) และวิหารแหง่ เมืองลกั ซอร์ (Luxor) และมหาวิหารอาบซู มิ เบล (ABU SIMBEL) ประกอบดว้ ยวิหารของราโรห์รามเซสท่ี ๒ และวหิ ารของพระนางเนเรอรต์ ารี ซ่งึ เป็นมเหสีของพระองค์ วหิ ารอาบูซิ มเบล นีง้ ดงามและย่งิ ใหญแ่ ละมีชอื่ เสยี งกอ้ งโลกแมว้ หิ ารมขี นาดใหญ่ แตก่ ็ถูกทรายจากทะเลทรายพัดมากลบทีละเล็ก ละนอ้ ย ตลอดระยะเวลาพันๆ ปจี นมดิ จนกระทง่ั ฝรง่ั นักทอ่ งเที่ยวชาวสวสิ มาค้นพบเข้าเม่ือปี ค.ศ. ๑๘๑๓ เมอ่ื ปี ค.ศ. ๑๙๖๔ อียิปตส์ ร้างเข่อื นก้นั นา้ อสั วานทาใหน้ า้ ในทะเลสาบนสั เซอร์สูงขึ้น จะทาใหว้ ิหาร ๑๗ แหง่ จมลงอยู่ใตน้ า้ องคก์ ารยูเนสโก ตอ้ งมาช่วยยกย้ายให้พน้ นา้ วหิ ารอาบูซิมเบลแหง่ นีจ้ ึงถกู ยกสูงจากพื้นดนิ ๖๕ เมตร ใชเ้ วลาทั้งสิ้น ๔ ปี เสยี คา่ ใช้จ่าย ทัง้ สิ้น ๔๐ ล้านเหรยี ญสหรัฐ โดยจา้ งคณะวิศวกรและคนงานออกแบบตัดวหิ ารออกเป็น ๑,๐๕๐ ส่วน แลว้ ยกข้ึนไป ประกอบกนั ใหมส่ ูงจากระดับเดิมถึง ๒๑๕ รตุ โดยสรา้ งภเู ขาเทียมรูปโดมดว้ ยคอนกรตี เสรมิ ใยเหล็กให้ เหมอื นเดิม ทกุ ประการ แล้วเอาชิ้นส่วนท่ตี ัดมาประกอบเขา้ ท้งั ภายนอกและภายใน ภาพที่ ๑๙ วหิ ารอาบูซมิ เบล แหล่งทีม่ า : http://www.oceansmile.com/Egypt/Abusimbel.htm ๔.๗ ดำ้ นประติมำกรรม ชาวอียปิ ต์สร้างผลงานประตมิ ากรรมไว้จานวนมาก ทง้ั ที่เปน็ รปู ปน้ั และภาพสลกั สว่ นใหญป่ ระดับอยใู่ น พรี ะมดิ และวหิ ารท่ีพบในพรี ะมิดมกั เปน็ รปู ปั้นของราโรหแ์ ละมเหสี ภาพสลกั ท่แี สดงถึงเรอ่ื งราวตา่ งๆ และวิถชี วี ติ ของ ชาวอยี ิปต์ ส่วนในวหิ ารมักเปน็ รปู ป้นั สญั ลักษณ์ของเทพและสตั วศ์ ักดิ์สิทธทิ์ ่ีนับถอื และภาพสลกั ที่แสดงเรอ่ื งราวและ เหตุการณ์ มีลักษณะเรยี บง่าย ใหญโ่ ต แข็งแรงถาวร และสงา่ งาม
ภาพท่ี ๒๐ งานประติมากรรมของชาวอยี ปิ ต์ แหลง่ ทีม่ า : http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/blog-page_๘.html งานประตมิ ากรรมเป็นงานแกะสลักหินรปู เทพพระเจา้ และราโรห์ มีลกั ษณะกริ ยิ าทา่ ทางและใบหน้าทแ่ี สดง ความรู้สึกเหมือนมนุษย์จรงิ ๆ และรปู ประตมิ ากรรมท่มี ีช่อื เสยี งมากทีส่ ดุ คือ สรงิ ค์ หนา้ เปน็ มนษุ ย์ ตัวเปน็ สิงโตหมอบ หน้าพรี ะมดิ เพอื่ ทาหนา้ ท่ีในการเฝ้าสุสาน หรือ พีระมดิ ของราโรห์ ประตมิ ากรรมทมี่ ชี ือ่ เสยี งดา้ นความงามได้แก่ ภาพหินสลักหัวสริงคร์ าโรห์คารราและพระเศียรของพระนางเนเรอร์ติติ ภาพท่ี ๒๑ รปู ปน้ั สริงค์ แหลง่ ท่ีมา : https://egpviagens.com.br/tour/?attachment_id=๓๐๗๙
๔.๘ ดำ้ นจติ รกรรม ชาวอยี ิปต์มผี ลงานดา้ นจติ รกรรมจานวนมาก มักพบในพีระมดิ และสสุ านต่างๆ ตามผนงั ด้านในของพีระมิด ทพ่ี น้ื ห้องและบนเพดาน เตม็ ไปดว้ ยภาพเขยี นระบายสสี วยงามเปน็ เรื่องราวเกีย่ วกับผูต้ ายสมัยทยี่ งั มชี วี ิตอยู่ ภาพวาด ของชาวอยี ปิ ต์สว่ นใหญ่มสี ีสนั สดใส มที ้ังภาพสญั ลักษณ์ของเทพเจ้าที่ชาวอียิปต์นับถือ พระราชกรณียกจิ ของราโรห์ และสมาชิกในราชวงศ์ ภาพบคุ คลท่วั ไปและภาพทีส่ ะท้อนวถิ ชี วี ติ ของชาวอยี ปิ ต์ เช่น การเกษตรกรรม ภาพเหลา่ นี้ นอกจากแสดงให้เห็นถึงความสามารถในดา้ นจติ รกรรมและยงั เปน็ หลกั ฐานสาคัญและมีคุณค่าทางด้านประวตั ศิ าสตร์ อีกดว้ ย นอกจากน้ยี งั ปรากฏบนเครือ่ งใช้ หรอื วาดบนแผน่ กระดาษปาปิรุส เป็นภาพเขยี นตวั แบนสองมติ ิ ไม่มีส่วนลกึ ระยะใกล้ ระยะไกล แต่อยา่ งใด สะทอ้ นถึงชีวิตความเปน็ อยขู่ องชาวอียิปตโ์ บราณ ความเชอ่ื ทางศาสนาและภารกจิ ของราโรห์ ภาพท่ี ๒๒ ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ในสสุ าน แหลง่ ที่มา : http://www.teachinghistory๑๐๐.org/objects/ancient_egyptian_funeral_procession ๔.๙ ด้ำนเศรษฐกิจ ความเจรญิ รงุ่ เรืองทางเศรษฐกิจทาให้จักรวรรดอิ ยี ิปต์มั่นคงก้าวหนา้ ต่อเน่ืองเป็นเวลาหลายพันปี และเปน็ พื้นฐานของระบบเศรษฐกิจอียปิ ตป์ ัจจุบัน ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจของอียปิ ต์ประกอบดว้ ยเกษตรกรรม พาณิชยก รรมและอุตสาหกรรม ด้านเกษตรกรรม เป็นรากฐานทางเศรษฐกิจของจักรวรรดิอยี ิปต์ ประชากรส่วนใหญเ่ ปน็ เกษตรกรท่ีอาศัยนา้ จากแม่น้าไนลใ์ นการเพาะปลูก ทาให้มีการคิดคน้ ระบบชลประทาน ทาคลองส่งน้าจากแม่น้าไนล์ เข้าไปยังพ้นื ท่ี ที่หา่ งจากฝัง่ ระบบชลประทานจึงเป็นเทคโนโลยสี าคญั ที่ชว่ ยใหเ้ กษตรกรอยี ปิ ตด์ าเนนิ การเพาะปลูกพืช สาหรับบริโภคภายในจกั รวรรดแิ ละพืชเศรษฐกิจอ่ืนๆได้ต่อเนอ่ื ง ไมต่ อ้ งละทิง้ ถิ่นฐานไปแสวงหาดินแดนทีอ่ ดุ มสมบูรณ์ มากกวา่ ผลติ ผลทางเกษตรท่ีสาคัญของชาวอยี ปิ ต์ ได้แก่ ขา้ วสาลี ขา้ วบารเ์ ลย์ ขา้ วราว ง ผัก ผลไม้ ปอ และฝา้ ย ด้านพาณิชยกรรม จกั รวรรดอิ ียิปต์ติดตอ่ คา้ ขายกับดนิ แดนอนื่ ๆ ตง้ั แตป่ ระมาณ ๒๐๐๐ ปีก่อนคริสต์ศักราช ดนิ แดนท่ตี ิดต่อค้าขายเป็นประจา ได้แก่ เกาะครีต (Crete) และดินแดนเมโสโปเตเมยี โดยเพพาะรนี ิเชยี ปาเลสไตน์ และซีเรยี สนิ คา้ สง่ ออกที่สาคญั ของอยี ิปต์คอื ทองคา ข้าวสาลี และผ้าลินนิ สว่ นสนิ คา้ ที่นาเข้าท่สี าคัญ ไดแ้ ก่ แร่เงนิ งาชา้ ง และไม้ซงุ
ด้านอตุ สาหกรรม อยี ิปต์เริม่ พฒั นาอตุ สาหกรรมตัง้ แต่ประมาณ ๓๐๐๐ ปกี ่อนครสิ ต์ศักราช ปัจจยั สาคญั ท่ี ทาให้อตุ สาหกรรมของอียปิ ตเ์ ติบโตคอื การมชี ่างฝีมือและแรงงานจานวนมาก มเี ทคโนโลยแี ละวทิ ยาการท่ีกา้ วหนา้ มวี ตั ถุดิบ และมีการตดิ ตอ่ ค้าขายกับดินแดนอ่ืนๆ อย่างกวา้ งขวาง ดังนน้ั อียปิ ต์จึงสามารถพัฒนาระบบอตุ สาหกรรม ท่ผี ลิตสินคา้ ได้จานวนมาก อุตสาหกรรมท่ีสาคญั ได้แก่ การทาเหมืองแร่ การต่อเรอื การทาเครื่องป้นั ดนิ เผา การทา เครื่องแกว้ และการทอผ้าลนิ นิ ภาพท่ี ๒๓ การประกอบอาชพี ของชาวอียปิ ต์ แหล่งทมี่ า : http://jingkajokbangbon.wixsite.com/jingjok/contact ภาพท่ี ๒๔ เมืองลักซอรแ์ ละเสาหนิ โอเบลิสก์ (Obelisk) แหลง่ ทมี่ า : http://worldrecordhistory.blogspot.com/p/blog-page_๘.html
๔.๑๐ ด้ำนกำรปกครองและศำสนำ กษัตริยเ์ ป็นผู้ปกครองเรยี กว่า ราโรห์ ชาวอียิปตถ์ ือ ราโรหเ์ ป็นเทพเจ้าพระองคห์ นง่ึ ซง่ึ ไดแ้ สดงออกโดย การสรา้ งสถาปัตยกรรมต่างๆ ถวายแก่ราโรห์ และนบั ถือเทพเจ้าหลายองค์โดยมเี ทพเจ้าสูงสดุ คือ สุรยิ เทพ (Re/Ra) ชาวอียิปตโ์ บราณมีความเชอ่ื เรอื่ งภพหน้า เรื่องชวี ิตหลังการตายและวิญญาณเป็นอมตะ ทาให้เกบ็ รักษาซากศพไม่ ให้เนา่ เป่อยด้วยการทามัมม่ี (Mummy) เพอ่ื รอคอยการกลบั รน่้ คืนชพี และคืนชีวิตใหม่อีกครัง้ ภาพที่ ๒๕ มัมมีแ่ ละรูปป้ันราโรห์แห่งอยี ิปต์ที่ขดุ คน้ พบ แหล่งทีม่ า : http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/๐๐๐/๐๖๒/๖๗๑/original_cartouche- Cleopatra.jpg?๑๓๕๒๕๒๓๓๙๓ ความเจริญรุ่งเรอื งดา้ นความรูศ้ ิลปะวิทยาการต่างๆ ทาให้จักรวรรดิอียปิ ต์สามารถสั่งสมและหล่อหลอม อารยธรรมของตนใหเ้ จริญกา้ วหน้าตอ่ เน่ืองมายาวนาน ดนิ แดนอยี ิปต์จึงเป็นท่ีหมายปองของอาณาจักรอ่นื ๆ ที่ พยายามขยายอทิ ธพิ ลเข้าครอบครองดินแดนแห่งน้ี แมจ้ กั รวรรดอิ ียปิ ต์เสอ่ื มสลายไปใน ช่วงกอ่ นคริสตศ์ กั ราชแต่ อารยธรรมอียปิ ต์มไิ ด้เสอ่ื มสลายไปดว้ ย หากกลายเปน็ มรดกตกทอดที่ชนรุ่นหลงั นามาพฒั นาเปน็ อารยธรรมของ มนุษยชาติในปจั จุบัน เพราะอยี ปิ ตเ์ ป็นต้นกาเนิดของอารยธรรมตะวนั ตกควบค่กู บั อารยธรรมของเมโสโปเตเมยี ซ่งึ ถา่ ยทอดตอ่ ไปใหแ้ ก่ กรีกและโรมัน ซึง่ ถอื วา่ เปน็ ตน้ กาเนดิ ของศิลปวัฒนธรรมของโลกตะวนั ตกอย่างแทจ้ รงิ
ภาพท่ี ๒๖ มหาพีระมดิ คูรแู หง่ เมอื งกซี า่ แหลง่ ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/EdHistory/๒๐๑๓/๑๐/๑๘/entry-๕
แบบทดสอบหลงั เรยี น เรอื่ ง อำรยธรรมอยี ิปต์ คำชแ้ี จง ๑. แบบทดสอบปรนัยแบบเลือกตอบ ๔ ตวั เลือก จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน ใช้เวลาในการทดสอบ ๑๐ นาที ๒. เลือกคาตอบที่ถกู ท่สี ุดเพียงข้อเดียวโดยทาเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคาตอบ ********************************************************************************************************* ๑. ลกั ษณะภมู ศิ าสตรท์ ุกขอ้ ตอ่ ไปน้มี สี ่วนในการสร้างสรรคอ์ ียิปต์เป็นแหลง่ อารยธรรมโบราณยกเว้นขอ้ ใด ก. ตดิ ทะเลเหมาะกับการค้าขาย ข. มีที่ราบเดลต้าปากน้าที่อุดมสมบรู ณ์ ค. มีทร่ี าบหบุ เขาสลับเขาสงู เหมาะกับการตั้งถิน่ ฐาน ง. มที ะเลทรายกวา้ งขวางเป็นด่านป้องกันตวั จากศตั รู ๒. การทามัมม่ีแสดงถงึ ความเจริญของความรแู้ ละวิทยาการดา้ นใดของอียิปต์ ก. ความเชอ่ื ข. การแพทย์ ค. ประตมิ ากรรม ง. วิทยาการความรู้ ๓. ขอ้ ใดเกยี่ วขอ้ งกบั ความเชอื่ เรอื่ งชวี ติ หลงั ความตายนอ้ ยทีส่ ดุ ก. หนังสือ“บันทึกผ้วู ายชนม์” ข. เสาโอเบลิสก์ ค. พรี ะมิด ง. มัมม่ี ๔. ข้อใดคือสาเหตสุ าคัญท่ีทาใหอ้ ารยธรรมอยี ปิ ต์มคี วามเป็นเอกภาพ ก. มกี ารนับถอื เทพเจา้ องค์เดียว ข. เช้อื ชาติเดยี วกนั ท้ังหมดในอาณาจกั ร ค. ยดึ ถอื อารยธรรมเดิมตามคติความเชื่อบรรพบรุ ษุ ง. มสี ภาพภูมศิ าสตร์ท่ีป้องกนั การรุกรานจากภายนอก ๕. ตัวอักษรทช่ี าวอียปิ ตพ์ ฒั นาขน้ึ มามีชื่อเรยี กวา่ อะไร ก. อักษรละตนิ ข. อกั ษรคนู ิรอร์ม ค. อักษรอลั ราเบต ง. อักษรเฮยี โรกลิรกิ ๖. ขอ้ ใดต่อไปนท้ี ่ไี ม่ใช่ผลงานของชาวอียิปต์ ก. กระดาษปาปิรสุ ข. วิหารอาบูซิมเบล ค. การคน้ พบแร่ทองคา ง. พบสูตรคานวณหาพื้นที่วงกลม ๗. การสรา้ งพรี ะมิดสะทอ้ นความเช่อื ทไ่ี ดร้ ับอทิ ธิพลจากวรรณกรรมเรอ่ื งใด ก. คัมภีรม์ รณะ ข. คมั ภีรพ์ ันธสญั ญาเดมิ ค. คมั ภีรพ์ ระเวท ง. มหากาพย์กลิ กาเมซ ๘. ข้อใดแสดงความสัมพนั ธ์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ก. รา = สรุ ิยเทพ ข. สรงิ ค์ = คนเฝ้าสุสาน ค. ราโรห์ = เทพเจา้ สูงสุด ง. โอซิรสิ = ผนู้ าโลกวญิ ญาณ ๙. ศลิ ปะวิทยาการและอารยธรรมอยี ิปตเ์ กิดข้ึนจากปจั จัยใดเปน็ สาคัญ ก. ความเช่ือเรอื่ งศาสนา ข. ความเชือ่ เรือ่ งเทพเจ้า ค. ความเชอื่ เรอื่ งการร่น้ คนื ชีพ ง. ความเชอื่ และความศรทั ธาต่อราโรห์ ๑๐. ข้อใดคือความเจริญสงู สดุ ของอารยธรรมอียิปต์ ก. การทามมั มี่ ข. การสรา้ งพีระมดิ ค. อักษรภาพเฮยี โรกลิรรกิ ง. การสร้างเมืองอเล็กซานเดรยี
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: