37 หนว่ ยที่ 3 ความรเู้ กีย่ วกบั ระบบเครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ สาระสาคัญ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็ เป็นการเช่อื มโยงระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทว่ั โลกเข้าด้วยกนั โดยใชเ้ คร่ืองมือโทรคมนาคมที่มีความทันสมยั เพื่อเพ่ิมประสทิ ธฺภาพของการสอื่ สารให้กับมนุษย์ทั่ว โลกและมีการพฒั นาเคร่อื งมือสาหรับการส่ือสารหลากหลายประเภทเพื่อใหเ้ ขา้ ถงึ ระบบเครือข่าย อนิ เทอรเ์ นต็ มกี ารพฒั นาโปรแกรม แอพพลิเคช่ันให้ใชง้ านหลากหลายจนทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร เห็นความสาคัญจนระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตและเคร่ืองม่อื สาหรบั การส่ือสารเปน็ ส่วนหนง่ึ ใน ชวี ิตประจาวนั ของทุกคน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกความหมายระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็ 2. บอกประวัตคิ วามเป็นมาของระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต 3. บอกวิธีการเชอ่ื มโยงเข้าสูร่ ะบบเครือข่ายอนิ เทอรเ์ นต็ 4. บอกความหมายของโดเมน 5. บอกความหมายและความจาเป็นของหมายเลขไอพีเอสเดรส 6. อธบิ ายหลกั การโดเมนเนมแต่ละระดับได้ 7. บอกความหมายของโปรโตคอลได้ 8. บอกประเภทของบริการทีม่ ีในอินเทอร์เนต็ ได้ 9. สามารถยกตัวอยา่ งประโยชน์การใช้งานอินเทอรเ์ น็ตเพื่อการศกึ ษาได 10. ปฏบิ ัตกิ ารเลือกและใชง้ านโปรแกรมในอนิ เทอร็เนต็ ได้
38 3.1 ความหมายของอนิ เทอร์เนต็ (Internet) อินเทอร์เนต็ (Internet) มาจากคาว่า Interconnection Network หมายถงึ เครือขา่ ย คอมพิวเตอร์สาธารณะท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ไม่มีใครเป็นเจ้าของประกอบด้วยการเชื่อมต่อ คอมพิวเตอรจ์ านวนมาก ผ่านทางผู้ให้บรกิ ารอนิ เทอร์เนต็ เรียกกวา่ ไอเอสพี (ISP: Internet Service Provider) ซ่ึงให้ผู้ใช้ตอ้ งเปน็ สมาชิกจึงจะเช่ือมต่อ และใช้บรกิ าร ๆ 3.2 ประวัติความเปน็ มาของอนิ เทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต กาเนิดมาจากการใช้งานเครอื ข่ายสือ่ สารของกระทรวงกลาโหม ประเทศ สหรัฐอเมรกิ า ตอ่ มามีการพัฒนาการใช้งานส่หู น่วยงาน และสถาบันการศึกษา เรยี กว่า อารพ์ าเน็ต (ARPANET) มีการเชื่อมโยงเครือข่ายของสถาบันการศึกษา 4 แหง่ ไดแ้ ก่ 1) มหาวิทยาลัยแคลฟิ อร์เนยี ท่ี ลอสแองเจลิส 2) มหาวิทยาลัยยูทาห์ 3) มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ท่ีซานตาบาร์บารา 4) สถาบัน วจิ ัยแหง่ มหาวทิ ยาลัยสแตนฟอร์ด เครือข่ายอาร์พาเน็ต มีจุดมุ่งหมายหลักให้คอมพิวเตอร์จากหน่วยหน่ึงสามารถเชื่อมต่อ กับกันโดย ข้อมูลท่ีส่งระหว่างกันสามารถท่ีจะมีเส้นทางออกไปยังปลายทางได้มากกว่าหนึ่งเส้นทาง เชน่ ในกรณถี ูกโจมตจี ากฝ่ายขา้ ศกึ ตรงกันข้าม ต่อมามหี น่วยงานท้งั จานวนมากเหน็ ถึงประโยชนก์ าร เชอ่ื มตอ่ เครือขา่ ยอารพ์ าเน็ต จึงนาเครอื ขา่ ยของตนเองมาเช่อื มตอ่ เขา้ กับระบบเครือข่ายอาร์พาเน็ต มกี ารขยายขนาดมากข้นึ เรื่อย ๆ จนกระท่ังในปี ค.ศ.1984 เครือขา่ ย ถูกขนานนามวา่ \"อนิ เทอร์เนต็ (Internet) \" และใช้ช่อื นม้ี าจนถงึ ปัจจุบัน เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นเครือข่ายสาธารณะที่เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนสามารถที่จะเข้าสู่ระบบ เครือข่ายได้อย่างกว้างขวาง ซึง่ เครื่องคอมพวิ เตอรต์ า่ ง ๆ ที่เช่อื มต่อเขา้ สู่อินเทอร์เนต็ จะต้องใช้ มาตรฐานของรูปแบบการสือ่ สาร หรือโปรโตคอลทเ่ี ปน็ มาตรฐานเดยี วกนั 3.3 การเช่ือมตอ่ เขา้ สู่ระบบอนิ เทอร์เน็ต รปู แบบการเชือ่ มต่ออินเทอร์เน็ต วิธีการเช่ือมต่อเข้าสู่อินเทอร์เน็ตมีอยู่หลายวิธี โดย สามารถแบ่งได้ได้ดงั น้ี 3.3.1 เชื่อมต่อผ่านโมเด็ม เป็นการเชื่อมต่อโดยใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ต่อพ่วงโมเด็ม ผ่านสายโทรศัพท์ มีหลายแบบให้เลอื กใช้ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การเชื่อมตอ่ โดยสายโทรศัพท์ กับ โมเด็มธรรมดา โดยความเร็วโมเด็มมักอยู่ท่ี 56.6 Kbps เป็นการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ตจากท่ีบ้าน ซ่ึงยังต้องอาศัยคู่สายโทรศัพท์ในการเข้า สู่เครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ น็ต ผ้ใู ช้ต้องสมคั รเป็นสมาชกิ กับผใู้ ห้บรกิ ารอินเทอร์เน็ต จะไดเ้ บอรโ์ ทรศัพท์ของ ผู้ใหบ้ ริการอนิ เทอรเ์ นต็ รหสั ผใู้ ช้ (User name) และรหสั ผ่าน (Password) ผู้ใช้จะเข้าสู่ระบบ
39 อินเทอร์เนต็ ไดโ้ ดยใชโ้ มเด็ม ท่เี ชื่อมต่อกับคอมพิวเตอรข์ องผู้ใชห้ มนุ ไปยงั หมายเลขโทรศพั ท์ของผู้ ให้บรกิ ารอินเทอรเ์ น็ต จงึ สามารถใช้ งานอินเทอรเ์ นต็ ได้ 2) การเชือ่ มต่ออนิ เทอร์เน็ตความเรว็ สูง ที่เรยี กว่า ADSL หรือ บรอดท์แบนด์ โดยต้อง มีโมเด็มชนิด ADSL ต่อเช่ือมกับคอมพิวเตอร์เข้ากับสายโทรศัพท์ เช่นเดียวกัน แต่จะได้ ความเร็วสูงกว่า โมเดม็ ธรรมดา แตต่ อ้ งอุปกรณ์พิเศษทช่ี มุ สายด้วยจงึ จะได้ความเรว็ ท่ีสูง รูป 3.1 การเชือ่ มตอ่ เครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ แบบใชโ้ มเด็ม 3.3.2 การเช่อื มต่อเครือขา่ ยเข้าสูร่ ะบบเครือข่ายองคก์ ร เปน็ การเช่อื มต่อคอมพิวเตอรเ์ ขา้ สู่ เครือข่ายท่ีมีให้บริการขององค์กร โดยองค์กรจัดทาเครือข่ายขึ้น จะต้องมีเคร่ืองให้บริการ ทา หน้าที่เชื่อมต่อกับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต และเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีการ์ดเครือข่ายอยู่ภายใน และเช่ือมต่อด้วยสายสัญญาณ สามารถเช่ือมต่อระบบอินเทอรเ์ นต็ ไดต้ ลอด 24 ชม. ซงึ่ มีค่าใช้จา่ ย สูงกวา่ แบบแรก ค่าใช้จ่ายขน้ึ อยู่กับความเร็วอินเทอร์เนต็ ท่ีเลือกใช้ รปู 3.2 วิธีการเชอื่ มต่ออินเทอร์เน็ตแบบองค์กร 3.3.3 การเชื่อมต่อแบบอน่ื ๆ ปจั จบุ ันการเชื่อมต่อกบั อินเทอร์เน็ตมีหลายรูปแบบมีการพัฒนา อุปกรณ์เพ่ือเชอ่ื มโยงเข้าสู่อินเทอร์เนต็ อยา่ งมากมาย สามารถจาแนกได้ ดังนี้
40 1) อินเทอรเ์ นต็ แบบไร้สายผ่านเครื่องโทรศัพท์บ้านเคลื่อนที่ หรือการเชื่อมต่อ อนิ เทอร์เนต็ ไร้สายทม่ี ใี หบ้ ริการของบริษัทมือถือ โดยการเปดิ ขอใชบ้ ริการจากสัญญาณทส่ี ามารถ ไดร้ บั จากการปลอ่ ยสัญญาณคลืน่ ของพนื้ ท่ีใหบ้ รกิ าร และต้องมหี มายเลขผ้ใู ชแ้ ละรหัสเพอ่ื เข้าใช้งาน โดยผใู้ ช้มีโมเด็มเพื่อเชอ่ื มโยงใช้งาน 2) การใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่านโทรศัพท์มือถือ (Mobile Internet) โดยอาศัย WAP (Wireless Application Protocol) เป็นโปรโตคอลมาตรฐานของอุปกรณ์ไร้สายที่ใช้ภาษา WML (Wireless Markup Language) โทรศัพทม์ ือถือปจั จบุ นั หลายๆยีห่ อ้ จะสนับสนนุ การใช้ WAP ซงึ่ มคี วามเรว็ ในการรบั ส่งข้อมลู ท่ี 9.6 kbps 3) GPRS (General Packet Radio Service) เป็นเทคโนโลยีที่พัฒนาข้ึนเพ่ือให้ โทรศัพท์มือถือสามารถเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตด้วยความเร็วสูง และสามารถส่งข้อมูลได้ใน รปู แบบของมัลติมีเดยี ซ่ึงประกอบด้วย ข้อความ ภาพกราฟิก เสียง และวีดโิ อ ความเร็วในการรบั สง่ ข้อมลู ด้วยโทรศัพท์ท่ีสนับสนนุ GPRS 4) โทรศพั ทร์ ะบบ CDMA (Code Division Multiple Access) รองรับการส่ือสาร ไร้สายความเรว็ สงู ไดเ้ ป็นอย่างดี ทาการรับสง่ ข้อมูลได้สงู สุด 153 Kbps ระบบ CDMA สนบั สนนุ การสง่ ข้อมูลระบบมัลติมเี ดีย 5) เทคโนโลยีบลูทูธ (Bluetooth Technology) ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้กับการ ส่ือสารแบบไร้สาย โดยใช้หลักการการส่งคลื่นวิทยุ ท่ีอยู่ในย่านความถ่ีระหว่าง 2.4 - 2.4 GHz ใน ปัจจุบันมีผลิตภัณฑ์ต่างๆ ท่ีใช้เทคโนโลยีบลูทูธ เพ่ือใช้กับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลาย ๆ ชนิด เช่น โทรศัพทเ์ คลือ่ นท,่ี คอมพวิ เตอร์โนต้ บุ๊ค และ พ็อกเก็ตพีซี 6) การเชื่อมต่ออนิ เทอร์เนต็ แบบซมิ การ์ด ท่ีเป็นซิมเล่นอินเทอรเ์ น็ต สามารถใชง้ านกับ โทรศพั ท์ และคอมพิวเตอรโ์ น้ตบุ๊กได้ ปัจจบุ นั มีทง้ั การใชท้ งั้ ระบบ Wi-Fi และระบบ 3G ซ่ึงมกี าร แข่งขนั กันสูงทาให้มรี าคาถกู ลง อีกท้ังมีความเรว็ มากขน้ึ 3.4 ไอพแี อดเดรส (IP Address) 3.4.1 ความรเู้ กีย่ วกับไอพแี อดเดรส และ โดเมนเนม ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ เปน็ การส่งข้อมูลผา่ นเครือข่ายจากเคร่ืองหน่ึงไปอีกเคร่ือง เปรยี บเหมือนการสง่ จดหมายในชวี ิตประจาวัน เมอื่ จะสง่ ไปหาใคร กต็ ้องมีการเขียนทชี่ อื่ และท่ีอยู่ ปลายทาง จงึ จะสามารถส่งไปยังปลายทางได้ เมอื่ ต้องการสื่อสารเครื่องอืน่ ในเครือข่าย ต้องทราบที่ อยู่ของเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองนนั้ ในระบบเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ จะต้องใช้กฎระเบยี บการสือ่ สาร หรอื โปรโตคอล ซ่ึงทกุ เครอื่ ง จะต้องมีหมายเลขประจาเคร่ืองที่ไมซ่ า้ กบั เคร่ืองอืน่ ซ่งึ มีช่ือเรียกว่า ไอพแี อดเดรส
41 ไอพีแอดเดรส มีลกั ษณะเปน็ ตัวเลข 4 ชุดท่มี จี ดุ ( . ) ค่ัน เช่น 193.167.15.1 เปน็ ต้น ตวั เลขแต่ละชุดจะมีคา่ ได้ตงั้ แต่ 0 – 255 เครื่องคอมพิวเตอร์ ทีม่ หี มายเลขไอพีแอดเดรสเป็นของ ตวั เอง และใชเ้ ปน็ ทเ่ี ก็บเวบ็ เพจ เราเรียกวา่ เซริ ์ฟเวอร์ หรือโฮสต์ สว่ นองค์กร หรือผูค้ วบคุมดแู ล และจัดสรรหมายเลขไอพแี อดเดรส เราเรียกว่า อินเทอร์นกิ 3.4.2 หมายเลขไอพีแอดเดรส สว่ นที่เกยี่ วข้องกับผใู้ ช้ในการเรยี กเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ที่ต่อกับอินเทอร์เน็ต ซ่ึงทาง เทคนคิ เรียกวา่ ท่ีอยู่ หมายเลขไอพีแอดเดรส เป็นตวั เลขประจาเคร่ืองเครื่องคอมพวิ เตอรท์ เ่ี ชอ่ื มต่อ ในระบบอินเทอร์เน็ต คล้าย ๆ กับเครื่องโทรศัพท์ที่มีเบอร์เฉพาะตัว ซึ่งมีเพียงเบอร์เดียวในโลก เช่น เครื่อง UDVC ซ่ึงเป็น ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาอุดรธานี มี IP Address เป็น 202.28.156.98 ตัวเลขที่เป็นพีเอดเดรส เป็นตัวเลขขนาด 32 บิต แบ่งออกเปน็ 4 ชดุ ๆ ละ 8 บิต ดังนนั้ ตัวเลข 1 ชดุ ทีเ่ ราเหน็ คน่ั ด้วยจุดนั้น จงึ แทนได้ด้วยตวั เลขจาก 0 ถึง 255 ตัวเลข 4 ชดุ น้ีจะถูกแบ่งออกเป็น 2 สว่ น คอื หมายเลขอนิ เทอรเ์ น็ต และ สว่ นของ หมายเลขเครื่องโฮสต์ แบ่งเปน็ 4 คลาส ดังน้ี 1) คลาส A เป็นเน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ มีหมายเลขในเครือข่าย ต้ังแต่ 1.0.0.0 ถึง 127.0.0.0 ใน คลาส นี้ จะมีส่วนของ หมายเลขเครื่อง ถงึ 24 บิตซง่ึ อนญุ าตให้มจี านวนเครื่องได้ 1.6 ลา้ นเครือ่ งใน 1 เนต็ เวริ ์ก ซ่ึงจะมีเนต็ เวริ ก์ ขนาดใหญแ่ บบนี้ได้เพียง 127 เน็ตเวิรก์ เท่านัน้ 2) คลาส B เป็นเน็ตเวิร์กขนาดกลาง มีหมายเลขเครื่อง ต้ังแต่ 128.0.0.0 ถึง 191.255.0.0 นั่นคอื ใน คลาส นี้มีสว่ นของ หมายเลขเครอื่ ง 16 บิต ทาให้มจี านวนของเนต็ เวิร์ก ได้ถึง 16320 เน็ตเวิรก์ และ 65024 โฮสต์ 3) คลาส C เป็นเน็ตเวิร์กขนาดเล็ก มี หมายเลขเครื่อง ต้ังแต่ 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.0 นั่นคอื ใน คลาส นี้มีสว่ นของ หมายเลขเคร่ือง 24 บิต และ สว่ นของ หมายเลขโฮสต์ 8 บิต ทาให้มีจานวนของเน็ตเวิร์กได้ถึง 2 ล้านเน็ตเวิร์ก และมีจานวน โฮสต์ ในแต่ละเน็ตเวิร์ก เทา่ กบั 254 hosts 4) คลาส D เป็นส่วนทเี่ ก็บรกั ษาไว้สาหรับใชใ้ นอนาคต มี หมายเลขไอพีแอดเดรส ตง้ั แต่ 224.0.0.0 ถึง 254.0.0.0 3.4.3 Domain Name System (DNS) โดเมนเนม เปน็ ระบบท่นี าตัวอักษร ทจี่ าได้ง่ายเขา้ มาแทนหมายเลขไอพีแอดเดรส ที่ เป็นตัวเลขซง่ึ ยากแกก่ ารจดจา ซงึ่ แตล่ ะโดเมนจะมีช่ือไม่ซ้ากนั และมักจะถูกต้ังใหค้ ลา้ ยกบั ชือ่ ของ บริษทั หนว่ ยงาน หรอื องค์กรของผู้เป็นเจา้ ของ เพ่อื ความสะดวกในการจดจา รวมทงั้ สะดวกในการ อ้างถึง เครอื่ งบนอนิ เทอร์เน็ต เรียกว่า DNS ตัวอย่างเช่น www.nectec.or.th แต่ในการใชง้ าน จริงน้ันเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เราใช้อยู่ เม่ือรับคาส่ังแล้วจะส่งคาขอ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีทาหน้าที่ บริการบอกเลขหมาย ไอพีแอดเดรส คลา้ ยสมดุ โทรศัพท์ ซึ่งเรียกกนั ว่าเป็น DNS Server เม่อื ไดร้ ับ
42 การร้องขอ ก็จะตอบเลขหมายกลับมาให้ เช่น สาหรับ www.nectec.or.th นั้นจะตอบ กลับมาเป็น 164.115.115.9 จากนั้นเครื่องคอมพิวเตอร์จึงจะเร่ิมติดต่อกับคอมพิวเตอร์ เป้าหมาย ถ้าทราบหมายเลขไอพีแอดเดรส สามารถใช้ได้ตรง ๆ ไม่จาเป็นต้องพ่ึงสมุดโทรศัพท์ ของ Name Server เหตุน้ีจึงทาการเก็บช่ือและไอพีแอดเดรสไว้ในสมุดโทรศัพท์ประจา เคร่ือง เช่น บนระบบ ปฏบิ ัติการยูนิกซ์มีไฟล์ /etc/hosts เอาไว้เก็บชื่อ DNS ที่ใช้บ่อย ๆ ตัวอย่าง การแบ่งโดเมนเนมแสดงได้ดังตารางด้านล่าง ตาราง 3.1 แสดงการกาหนดโดเมน และความหมายของโดเมน โดเมนเนม ความหมาย Com กลุ่มองค์การค้า (Commercial) Edu กล่มุ การศึกษา (Education) Gov กลุ่มองค์กรรัฐบาล (Governmental) Mil กลมุ่ องค์กรทหาร (Military) Net กลมุ่ องค์การบรหิ าร (Network Service) Org กลุ่มองค์กรอน่ื ๆ (Organizations) ตาราง 3.2 แสดงการกาหนดโดเมน และความหมายของโดเมนท่เี ป็นชื่อย่อประเทศ โดเมนท่เี ปน็ ชอื่ ย่อของประเทศ ความหมาย au ออสเตรเลยี (Australia) fr ฝรง่ั เศส (France) th ไทย (Thailand) jp ญี่ปุ่น (Japan) uk อังกฤษ (United Kingdom) 3.5 โปรโตคอลของอนิ เทอร์เนต็ ( Internet Protocol ) โปรโตคอล คือ ตัวกลาง หรือภาษากลาง ท่ีใช้เป็นมาตรฐานสาหรับการส่ือสาร ในระบบ เครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต เพือ่ ใชต้ ิดต่อสือ่ สารเชื่อมโยงกัน ระหวา่ งเครื่องคอมพิวเตอร์ ซง่ึ แตล่ ะเคร่ืองมี ความแตกต่างกัน ทั้งรุ่นและขนาดของคอมพิวเตอร์ ถ้าขาดโปรโตคอลก็จะไม่สามารถท่ีจะติดต่อ สอ่ื สารให้เขา้ ใจกันได้ โปรโตคอลทาหน้าท่ีเปรียบเหมือนเป็นล่ามที่ใช้แปลภาษา ของระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
43 โปรโตคอลที่ใช้งานในอินเทอร์เน็ต คือ TCP/IP หลักการทางาน จะแบ่งข้อมูลท่ีจะ ส่งออกเป็นส่วนย่อย ๆ เรียกว่า แพ็กเก็ต (Packet) แล้วส่งไปตามเส้นทางต่าง ๆ ในเครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยจะกระจายแพ็กเก็ตออกไปหลายเส้นทาง โดยจะไปรวมกันท่ีปลายทาง และ ถูกนามาประกอบรวมกนั เปน็ ขอ้ มลู ท่สี มบูรณ์อีกคร้ัง โปรโตคอล TCP/IP (TCP :Transmission Control Protocol และ (IP : Internet Protocol ) ตวั อย่าง การสง่ อเี มลไ์ ปหาเพ่ือน อีเมล์จะถูกตดั ออกเป็นแพก็ เก็ตขนาดเล็กหลาย ๆ อนั ซง่ึ แต่ละอันจะมหี มายเลขปลายทางถึงผ้รู บั เดยี วกนั แพ็กเกต็ จะว่งิ ไปรวมกบั แพ็กเก็ต ของคนอน่ื ๆ แพก็ เกต็ จะวิง่ ผ่านชมุ ทาง โดยจะอ่านหมายเลขปลาย แล้วจะบอกทิศทางที่แพ็กเก็ต จะว่ิงไป เม่ือ ไปถึงเกตเวย์ใหม่ ก็จะกาหนดเส้นทางให้วิ่งไปที่อยู่ถัดไป จนกว่าจะถึงเครื่องปลายทาง เช่น ติดต่อกับเคร่ืองในอเมริกา อาจจะต้องผ่านเกตเวย์ถึง 10 แห่ง เมื่อวิ่งมาถึงปลายทางแล้ว เครื่องปลายทางกจ็ ะเอาแพ็กเกต็ เหล่าน้ันมาเกบ็ สะสมจนกว่าจะครบ จึงจะต่อกลับคืนให้เป็น อเี มล์ เพื่อให้สามารถอ่านข้อความได้ รูป 3.4 TCP/IP การแบ่งข้อมูลเปน็ แพ็กเกต็ ส่งไปบนสาย และไปรวมทป่ี ลายทาง การทขี่ ้อมูลมีลักษณะเป็นแพ็กเก็ตทาให้ สายสื่อสารสามารถท่ีจะขนส่งข้อมูลโดย ไม่ ต้องจองสายไว้ สายส่งจึงสามารถใช้ร่วมกันกับข้อมูลที่ส่งจากเครื่องอ่ืนได้ ต่างจากสายส่งใน ระบบโทรศพั ทท์ ขี่ ณะใชง้ าน จะไม่มใี ครสามารถใชส้ ายส่งร่วมได้ 3.6 บริการในอนิ เทอร์เน็ต 3.6.1 เวลิ ด์ไวดเ์ วบ็ (WWW) หรือ เครือข่ายใยแมงมุม เปน็ ลกั ษณะของการเชื่อมโยงข้อมูล จากทหี่ น่งึ ไปยงั อีกทีห่ น่ึงเรื่อยๆ เวลิ ดไ์ วด์เว็บ เปน็ บริการทีไ่ ด้รบั ความนยิ มมากท่ีสดุ ในการเรียกดู เวบ็ ไซต์ตอ้ งอาศัยโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ (web browser) ในการดขู ้อมูล เว็บบราวเซอร์ทไ่ี ด้รับ ความนยิ มใช้ในปัจจุบัน เชน่ โปรแกรม Internet Explorer , Netscape Navigator
44 รปู 3.5 แสดงโปรแกรมท่ีเปน็ เวบ็ บราวเซอร์ Internet Explorer 3.6.2 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ อเี มล์ (Electronic Mail) การติดต่อส่ือสารโดยใช้อีเมล์ สามารถทาได้โดยสะดวก และประหยัดเวลา หลกั การทางานของอีเมล์ก็คลา้ ยกับการสง่ จดหมาย ธรรมดา นัน้ คอื จะต้องมที ี่อยู่ที่ระบุชัดเจน กค็ ือ อีเมลแ์ อดเดรส (E-mail address) 1) องค์ประกอบของ อเี มล์ ประกอบดว้ ย (1) ช่อื ผู้ใช้ (2) ชอื่ โดเมน ชื่อผใู้ ช้ ชอื่ โดเมน [email protected] รปู 3.6 แสดงหมายเลขอเี มล์ท่รี ะบุชอ่ื ผใู้ ช้ และช่ือโดเมน 2) การใช้งานอีเมล์ สามารถแบ่งไดด้ ังนี้ คือ (1) Corporate e-mail คือ อีเมล์ ท่ีหนว่ ยงานต่างๆ สร้างข้ึนใหก้ บั พนกั งาน หรือ บุคลากรในองค์กรนนั้ เชน่ [email protected] คอื e-mail ของนักศกึ ษาของนักศึกษาวิทยาลัย อาชีวศึกษาอุดรธานี เปน็ ตน้ (2) Free e-mail คือ เว็บเพ็จที่ให้บริการในระบบอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้ สามารถสมัครใช้งานได้ฟรี ไม่มีค่าใช้จ่ายซ่ึงได้รับความนิยมหลายตัว เช่น gmail.com, hotmail.com เปน็ ต้น
45 3.6.3 เอฟทีพี (FTP: File Transfer Protocol) บรกิ ารโอนย้ายไฟล์ เปน็ บริการท่ีช่วยในการ โอนยา้ ยไฟล์จากเครื่องใชง้ านไปสู่เครือ่ งให้บรกิ าร เรยี กว่า อัพโหลด (Up Load) และการโอนย้าย ไฟล์จากใหบ้ ริการมายังเครื่องใช้งาน เรียกว่า ดาวน์โหลด (Download) แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ 1) เอฟทีพี เคร่อื งให้บรกิ าร (ftp server) เป็นโปรแกรมที่ติดตงั้ ไวท้ เ่ี ครื่องให้บริการทา หน้าท่ีใหบ้ ริการหากมีการรอ้ งขอจากเครื่องใชง้ านในเครอื ข่าย 2) เอฟทีพี เคร่ืองใช้งาน (ftp client) เป็นโปรแกรมเอฟทีพี ท่ีถูกติดต้ังในเครื่องผู้ใช้ งานท่ัวไป ทาหนา้ ท่ีเชื่อมต่อไปยังเครอ่ื งใหบ้ รกิ าร และทาการเคลื่อนย้ายไฟล์จากเครื่องใชง้ านไปยงั เครื่องใหบ้ ริการ ตวั อยา่ งโปรแกรม เอฟทพี ีที่มีใหบ้ รกิ ารฟรี เช่น Filezilla , Wftp และ ESftp รปู 3.7 แสดงตัวอย่างในการใช้งานโปรแกรมเอฟทพี ี 3.6.4 บรกิ ารสนทนาบนอนิ เทอรเ์ นต็ (Message) คอื การส่งข้อความถงึ กันโดยทนั ทีทนั ใด สามารถส่งสัญลักษณ์ต่างๆ อาทิ รูปภาพ ไฟล์ข้อมูลได้ด้วย เช่น โปรแกรม MSN Messenger, face book , Hi5 เป็นต้น
46 รปู 3.8 แสดงตัวอย่างการใชง้ านโปรแกรม Face book รูป 3.9 แสดงตัวอย่างการใชง้ านโปรแกรม MSN รูป 3.10 แสดงตวั อยา่ งการใชง้ านโปรแกรม Hi5
47 3.6.5 บริการคน้ หาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ไดแ้ ก่ 1) Web directory คอื การค้นหาโดยการเลือก Directory ท่ีจัดเตรียมและแยก หมวดหมู่ไว้ให้เรียบร้อยแล้ว website ท่ีให้บริการ web directory เช่น www.yahoo.com, www.sanook.com 2) Search Engine คอื การค้นหาข้อมูลโดยใช้โปรแกรม Search โดยการเอาคาที่ เราตอ้ งการคน้ หาไปเทียบกบั เว็บไซต์ตา่ งๆ ว่ามเี วบ็ ไซต์ ทีใ่ ห้บริการ search engine เชน่ www.yahoo.com, www.sanook.com, www.google.com เปน็ ต้น รปู 3.11 แสดงตวั อย่างการใช้งาน search engineเว็บไซต์ www.google.co.th 3.6.6 บรกิ ารห้องสนทนา (Chat Room) คอื การสนทนาออนไลน์อีกประเภทหนึ่ง ท่ีมี การส่งข้อความสั้นๆ ถึงกัน การเข้าไปสนทนาจาเป็นต้องเข้าไปในเว็บไซต์ที่ให้บริการห้อง สนทนาเชน่ www.sanook.com , www.pantip.com เปน็ ต้น รปู 3.12 แสดงตวั อยา่ งการใชง้ าน ห้องสนทนา www.pantip.com
48 3.6.7 บรกิ ารกระดานข่าว หรือ เว็บบอรด์ (Web board) เปน็ ศนู ย์กลางในการแสดงความ คดิ เห็น มกี ารตั้งกระทู้ ถาม-ตอบ ในหวั ขอ้ ทส่ี นใจ เวบ็ บอร์ดของไทยท่ีเปน็ ท่ีนยิ มและมีคนเข้าไป แสดงความคดิ เห็นเชน่ เว็บบอรด์ ของพนั ธทุ์ ิพย์ (www.pantip.com) รูป 3.13 แสดงตัวอยา่ งการใชง้ าน หอ้ งสนทนา www.pantip.com 3.7 คาศัพท์ท่ใี ชใ้ นอนิ เทอรเ์ น็ต 3.7.1 เวลิ ดไ์ วด์เวบ็ (WWW : World Wide Web) เวิลด์ไวดเ์ วบ็ หรือ ทเี่ รียกกันส้ันๆ ว่า \"เว็บ\" คือ พน้ื ที่ที่เก็บข้อมูลข่าวสารท่ีเชือ่ มต่อ กันทางอินเทอรเ์ นต็ โดยการกาหนด ยอู าร์แอล เวลิ ด์ไวด์เว็บมักใช้สับสนกับคาว่า อินเทอร์เนต็ แต่ เวิลด์ไวด์เวบ็ เป็นเพยี งแค่บริการหนงึ่ บนอนิ เทอร์เน็ต เวลิ ด์ไวดเ์ ว็บ คอื คอมพิวเตอรส์ ่วนหนึ่งบนอินเทอรเ์ น็ตท่ีถูกเชื่อมต่อกนั ในแบบพิเศษท่ี ทาใหค้ อมพิวเตอรส์ ามารถเข้าถึงข้อมูลเน้ือหาทเ่ี กบ็ ไว้ภายในของแตล่ ะเครื่อง ผา่ นทางบราวเซอร์ ซง่ึ เปน็ ซอฟต์แวรป์ ระเภทหน่งึ ที่ถกู สรา้ งขึน้ เพ่ือใชอ้ า่ นข้อมูลต่าง ๆ ท่มี ีอยู่ใน เวิลดไ์ วด์เว็บ ปัจจุบัน บราวเซอร์ที่ได้รับความนิยมในปัจจุบันคือ Internet Explorer 3.7.2 HTTP (Hyper Text Transfer Protocol ) และ HTML(Hypertext Markup Language) HTTP คอื โปรโตคอลที่ใช้ส่ือสารระหว่าง เครื่องใช้งาน กับเครื่องให้บริการใน เครอื ข่าย ทาใหท้ ัง้ สองเคร่ืองรู้ว่าจะจัดการส่งข้อมลู ไปอยา่ งไร HTML คอื ภาษามาตรฐานท่ีใช้ในการสร้างเว็บเพ็จ โดยโปรแกรมบราวเซอร์จะ แปลงรหัสให้แสดงออกมาเป็นภาพ อักษร หรือข้อมูลมัลติมิเดีย ท่ีอยู่บนเครื่องให้บริการ ในเครือขา่ ย
49 3.7.3 FTP (File Transfer Protocol) เปน็ คาส่งั ทใ่ี ช้ในการคัดลอกไฟลร์ ะหวา่ งเคร่ืองคอมพิวเตอร์ คาสั่งนี้ใช้งานอยใู่ น เครอื ข่ายของ TCP/IP ท่วั ไป และเมื่อมีการให้บรกิ ารของเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ การใหบ้ ริการ FTP จงึ กลายมาเปน็ บริการหน่งึ ของอนิ เทอรเ์ นต็ โดยผใู้ หบ้ ริการจะจดั เตรียมเคร่ือง คอมพวิ เตอรท์ ี่จะ ให้บริการ เรยี กวา่ FTP Server ซ่งึ บรรจไุ ฟลข์ ้อมูลตา่ งๆ ไว้ ผใู้ ช้ท่อี ยทู่ วั่ ทุกมุมโลก จะสามารถใช้ คาสง่ั FTP ผ่านอินเทอร์เน็ตเข้ามายงั เครอื่ งใหบ้ ริหารเพื่อทาการคัดลอกไฟลข์ ้อมูลไฟลท์ ่ีเก็บอยบู่ น เครอ่ื งศูนยก์ ลางเอฟทพี ี แบ่งเป็นหลายประเภท ได้แก่ Freeware, Shareware และ Commercial ware 3.7.4 โฮมเพจ (Home Page) โฮมเพจ หมายถึง เวบ็ เพจ หรอื เอกสารหนา้ แรกของเวบ็ ไซตห์ นง่ึ ๆ ซงึ่ เวบ็ เพจหนา้ อ่ืน ๆ ทงั้ หมดในเว็บไซต์น้ันจะถูกเช่ือมโยงด้วยการเชื่อมโยง(link) จากหน้าโฮมเพจ ซึ่งเวบ็ เพจ อาจจะถูกเชอื่ มโยงโดยตรงจากหน้าโฮมเพจ หรอื โดยทางอ้อมขึ้นอยกู่ ับลาดบั การวางระบบผังขอ้ มูล ของเว็บไซตน์ ั้นๆ ถา้ เปรียบเทียบกับหนงั สือ โฮมเพจกเ็ ปรยี บเหมือนปกหนงั สือ 3.7.5 เวบ็ ไซต์ (Web site) เวบ็ ไซต์ หมายถึง หนา้ เวบ็ เพจแต่ละหน้า ที่เช่ือมโยงผ่านทางไฮเปอรล์ งิ ก์ ส่วนใหญ่ จดั ทาขนึ้ เพือ่ นาเสนอข้อมลู ผ่านคอมพวิ เตอร์ โดยถูกจัดเก็บไวใ้ นเวิลด์ไวดเ์ ว็บ ซง่ึ หน้าแรกเวบ็ ไซต์ เรยี กว่า โฮมเพจ เว็บไซตโ์ ดยทว่ั ไปจะให้บริการต่อผใู้ ชฟ้ รี แตใ่ นขณะเดยี วกันบางเว็บไซต์จาเปน็ ต้อง มีการสมัครสมาชกิ และต้องเสียคา่ บริการในการเขา้ ใชง้ าน 3.7.6 เว็บเซอร์วิส (Web service) เว็บเซอร์วสิ คือ ระบบซอฟต์แวร์ทีอ่ อกแบบมา เพือ่ สนับสนนุ การแลกเปล่ียนข้อมลู กัน ระหว่างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ผา่ นระบบเครือขา่ ย โดยที่ภาษาทใี่ ช้ในการติดต่อส่ือสารระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ คือ เอกซ์เอ็มแอล ,เว็บเซอร์วิสมอี นิ เทอรเ์ ฟส ทใ่ี ชอ้ ธบิ ายรปู แบบข้อมูลทีเ่ ครือ่ ง คอมพิวเตอรป์ ระมวลผลได้ เชน่ WSDL ระบบคอมพวิ เตอรใ์ ชง้ านสอื่ สารโต้ตอบกับเว็บเซอร์วสิ ตาม รูปแบบทไี่ ด้กาหนดไวแ้ ล้ว โดยการสง่ สาสน์ตามอินเตอรเ์ ฟสของเวบ็ เซอรว์ ิสนนั้ สาสน์เหล่านี้ปกติ แล้วถูกส่งโดยอาศัย HTTP และใช้ XML ร่วมกับมาตรฐานเกี่ยวกับเว็บอ่ืนๆ 3.7.7 เวบ็ เซิร์ฟเวอร์ (Web Server) เวบ็ เซิรฟ์ เวอร์ คือ โปรแกรมทีท่ าหนา้ ที่จดั สง่ หนา้ เว็บไปยังเครอ่ื งตา่ ง ๆ ที่ส่งข้อความ เขา้ มาซึ่งอาจเป็นข้อมูลที่อ่านอยา่ งเดียวหรืออาจเป็นแบบโต้ตอบ เชน่ เอกสารทีท่ าเปน็ แบบ ฟอร์มให้ กรอกข้อมูลเมื่อกรอกเสร็จข้อมูลจะถูกส่งไปเก็บในฐานข้อมูล อาจเป็นคอมพิวเตอร์ท่ีรัน โปรแกรม Web Server และมีหน้าท่ใี หบ้ รกิ าร Web page ต่าง ๆ
50 3.7.8 เวบ็ บราวเ์ ซอร์ (Web Browser) เว็บบราวเ์ ซอร์ คือ โปรแกรมทเ่ี ชือ่ มต่อคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ เป็นเซิร์ฟเวอร์ของเครือข่าย ท่ีมีเอกสาร HTML หรือส่ือรูปภาพ ข้อความ เสียง โดยโปรแกรม เวบ็ บราวเซอร์ จะดึงข้อมูลมาแสดงในเคร่ืองของผ้ใู ช้ พร้อมกบั มีการเช่อื มโยงหน้าเอกสารจากหนา้ หน่งึ ไปยงั เว็บอ่ืน ๆ ในเครือข่าย โดยโปรแกรมทีไ่ ดร้ บั ความนิยมในปจั จุบนั เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE) , Netscape Navigator 3.7.9 ฟรแี วร์ (Freeware ) ฟรีแวร์ หมายถงึ โปรแกรมท่ีมผี ู้พฒั นาขึน้ เพื่อแจกจา่ ยใหผ้ ู้อ่นื ถ่ายโอนไฟล์ไปใชโ้ ดยไม่ ต้องเสียค่าตอบแทน ผทู้ ่ถี า่ ยโอนไฟล์ไปสามารถพัฒนาและมอบใหผ้ ใู้ ช้อืน่ ใช้งานต่อได้ แตต่ ้องไม่ นาไปขายโดยท่ีไม่ไดแ้ จง้ ให้ผ้พู ฒั นาทราบ 3.7.10 แชรแ์ วร์ (Shareware) แชร์แวร์ หมายถงึ โปรแกรมทม่ี ผี ู้พฒั นาข้นึ เพื่อต้ังใจจะขาย โดยอนญุ าตให้ผ้ทู ่สี นใจ ถา่ ยโอนไฟล์โปรแกรมไปทดลองใช้งานกอ่ นโดยทยี่ ังไมต่ ้องจา่ ยเงนิ เมือ่ ใช้แลว้ ชอบและตอ้ งการซอื้ ก็ ค่อยจา่ ยเงินภายหลังซึ่งมกั จะมีราคาไมส่ งู 3.7.11 ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ (Hypertext) ไฮเปอรเ์ ท็กซ์ คอื แนวคดิ ในการเช่อื มโยงเอกสารที่มเี นือ้ หาเก่ียวข้องเข้าดว้ ยกันโดย ผ้อู ่านสามารถเลือกจุดที่กาหนดไว้เพื่อเปิดไปยังเอกสารท่ตี ้องการ 3.7.12 ไฮเปอร์มิเดยี (Hypermedia) ไฮเปอรม์ ิเดยี คือ การผสมผสานการนาเสนอขอ้ ความ ภาพ เสยี ง ภาพเคล่ือนไหว ท่ี เน้นการนาเสนอเป็นลาดับ เชน่ WWW เปน็ รปู แบบของ Hypermedia 3.7.13 ยอู ารแ์ อล (URL : Uniform Resource Locators ) ยอู าร์แอล คือ มาตรฐานการตั้งช่อื หรอื ระบุตาแหน่งของเอกสารหรือข้อมลู ท่เี ข้าถงึ ได้ ในอินเทอร์เน็ต รูปแบบมาตรฐานของ URL คือ scheme://host:port/path ตัวอย่างเช่น http://www.boga.co.th/mail ยอู าร์แอล ประกอบดว้ ยสว่ นต่าง ๆ 4 ส่วนดังตอ่ ไปน้ี 1) ชนิดแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (scheme) เช่น Web , FTP , Gopher, newsgroup เป็นต้น 2) ช่ือโดเมนของแม่ข่าย ท่ีให้บริการข้อมูล เช่น www.infonews.co.th 3) พอร์ต (port) หมายเลขพอร์ต 4) เส้นทางข้อมูล คือ ช่ือไดเรกทอรี่ข้อมูลท่ีต่อจากโฮมเพจของเว็บเพ็จน้นั
51 3.8 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต 3.8.1 ดา้ นการศกึ ษา 1) สามารถใช้เป็นแหลง่ คน้ คว้าหาข้อมูล ไม่วา่ จะเปน็ ข้อมลู ทางวิชาการ ข้อมลู ดา้ นการ บันเทิง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ทีน่ า่ สนใจ 2) ระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต จะทาหน้าท่เี สมือนเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ 3) นกั ศึกษาในมหาวทิ ยาลยั สามารถใช้อนิ เทอรเ์ น็ต ติดต่อกบั มหาวทิ ยาลัยอ่ืน ๆ เพ่ือ ค้นหาข้อมลู ทก่ี าลงั ศกึ ษาอยไู่ ด้ ทัง้ ท่ีข้อมูลท่เี ปน็ ขอ้ ความ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหวต่างๆ เป็นตน้ รปู 3.14 แสดงเว็บเพจของมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น 3.8.2 ด้านธุรกิจและการพาณิชย์ 1) คน้ หาข้อมูลตา่ ง ๆ เพอ่ื ชว่ ยในการตัดสนิ ใจทางธรุ กิจ 2) สามารถซ้ือขายสินค้า ผ่านระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เนต็ 3) ผใู้ ช้ท่ีเปน็ บรษิ ัท หรอื องค์กรตา่ ง ๆ กส็ ามารถเปิดใหบ้ ริการ ผ่านระบบเครือข่าย อินเทอร์เนต็ ได้ เช่น การจองตวั๋ การบินของสายการบิน เป็นต้น
52 รปู 3.15 แสดงการเปดิ ใหบ้ ริการของสายการบนิ Air Asia ผ่านเครอื ข่าย รปู 3.16 แสดงหนา้ เว็บเพ็จที่ให้บรกิ ารขายสินคา้ ในระบบอินเทอรเ์ นต็
53 3.8.3 ดา้ นการบนั เทงิ 1) การพักผ่อนหย่อนใจ เช่น การคน้ หาวารสารตา่ ง ๆ ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ ที่เรยี กว่า Magazine online 2) สามารถฟังวิทยุผ่านระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ น็ตได้ 3) สามารถดึงข้อมูล (Download) ภาพยนตรต์ วั อยา่ งทง้ั ภาพยนตรใ์ หม่ และเก่ามาดูได้ รปู 3.17 แสดงหนา้ เว็บเพจ็ ท่ีให้บรกิ ารเพ่ือความบนั เทิงด้านเสียงเพลง รปู 3.18 แสดงหนา้ เวบ็ เพ็จที่ใหบ้ ริการด้านข่าวสาร และกีฬาเพ่ือความบนั เทิง
Search
Read the Text Version
- 1 - 17
Pages: