Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การบัญชีครัวเรือน ชุมชนบ้านคลองมือไทร

การบัญชีครัวเรือน ชุมชนบ้านคลองมือไทร

Published by แสง, 2021-09-21 08:14:38

Description: รวมเล่มการบัญชีครัวเรือน ชุมชนบ้านคลองมือไทร

Search

Read the Text Version

การบญั ชคี รัวเรอื น ชุมชนบ้านคลองมือไทร จัดทำโดย พิชญธดิ า จิ๋วนอ้ ย รหัสนกั ศกึ ษา 63302010038 รังสิมา เกตุประสทิ ธิ์ รหสั นักศกึ ษา 63302010057 เสนอ อาจารยน์ พิ ร จทุ ัยรตั น์ รายงานเลม่ น้เี ป็นส่วนหน่ึงของการศกึ ษา วิชา โครงการ สาขา วิชาการบัญชี ประเภทวิชา บริหารธรุ กิจ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี

การบัญชคี รวั เรอื น ชมุ ชนบา้ นคลองมือไทร จัดทำโดย นางสาวพชิ ญธิดา จิ๋วน้อย รหสั นักศึกษา 63302010038 นางสาวรังสิมา เกตุประสิทธ์ิ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010057 ชน้ั ปวส. 2/2 สาขาวิชา การบญั ชี เสนอ อาจารยน์ ิพร จุทัยรัตน์ รายงานเล่มน้เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศกึ ษา วิชา โครงการ สาขา วิชาการบัญชี ประเภทวิชา บรหิ ารธรุ กจิ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี



ใบรับรองโครงการ ระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สงู ชน้ั ปที ี่ 2 (ปวส.) วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบรุ ี โครงการ การบัญชีครวั เรือน ชุมชนบ้านคลองมือไทร โดย 1. นางสาวพิชญธดิ า จว๋ิ น้อย รหสั นกั ศกึ ษา 63302010038 2. นางสาวรังสิมา เกตุประสิทธ์ิ รหัสนกั ศกึ ษา 63302010057 ชนั้ ปวส. 2/2 สาขาวิชาการบัญชี พจิ ารณาเห็นชอบโดย ....................................................... (นางนิพร จทุ ยั รตั น์) อาจารยท์ ปี่ รกึ ษาโครงการ แผนกวชิ าบญั ชี คณะบรหิ ารธรุ กิจ

ชื่อผลงาน การบนั ทกึ บัญชีครวั เรอื น ชุมชนบ้านคลองมือไทร ชอ่ื นักศกึ ษา พิชญธดิ า จิ๋วน้อย รงั สิมา เกตุประสิทธิ์ สาขาวิชา การบัญชี ประเภทวชิ า บริหารธุรกจิ ปกี ารศึกษา 2564 สถานประกอบการ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี บทคัดย่อ วัตถปุ ระสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ ไดแ้ ก่ 1. เพ่ือส่งเสริมให้ครอบครัวในชุมชนบา้ นคลองมือไทร มี การจัดทำบญั ชีครัวเรือน 2. เพ่อื ส่งเสรมิ และวางแผนรายจ่ายของครอบครัว 3. เพ่ือบริหารรายจ่ายที่ไม่ จำเปน็ ใหล้ ดลง ซ่งึ มีกลุ่มตวั อย่างจำนวน 10 ครวั เรอื น เคร่ืองมือทีใ่ ช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถามโดย แบ่งออกเปน็ 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของครวั เรือน ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับครัวเรอื น ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพึงพอใจของผรู้ ่วมโครงการ ตอนที่ 4 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านทัศนิคตเิ กย่ี วกับบญั ชคี รวั เรือน ดา้ นการจดั ทำบัญชี ด้านการส่งเสรมิ และ วางแผนการเงนิ ด้านความพงึ พอใจของโครงการ และสถติ ิที่ใชใ้ นการวจิ ยั คือ 1. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) 2. ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) 3. ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) ผลการศกึ ษาพบว่า 1. บคุ คลท่ัวไปจากกลุม่ ตัวอยา่ งทง้ั หมดเป็นเพศหญงิ จำนวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 ส่วนใหญอ่ ย่ใู นชว่ งอายุ 20 – 30 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 รองลงมาอายุ 41 – 50 ปี จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 และอายุ 31 – 40 ปี จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.00 สว่ นใหญ่ เปน็ อาชพี รบั จ้างทัว่ ไป จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 50.00 รองลงมาเป็นอาชีพอิสระ จำนวน 3 คน

ค คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.00 ตามด้วยอาชพี พนกั งานบริษทั จำนวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10.00 และเปน็ อาชีพ นักศกึ ษา จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 10.00 ส่วนใหญม่ ีรายได้ตอ่ เดอื นอยู่ในระดบั 10,001 – 20,000 บาท จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 60.00 และอยใู่ นระดับต่ำกวา่ 10,000 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อย ละ 40.00 2. บุคคลทั่วไปของกลุ่มตวั อยา่ งสว่ นใหญไ่ ม่เคยจดบนั ทึกบัญชคี รัวเรอื น จำนวน 7 คน คิดเปน็ ร้อยละ 70.00 และเคยจดบันทึก เช่น สมดุ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30.00 สว่ นใหญ่ทมี ีระดบั รายได้ ตอ่ ค่าใชจ้ ่ายในแต่ละเดอื นเป็นพอใชแ้ ละเหลือเกบ็ และพอใช้แต่ไมเ่ หลือเกบ็ จำนวนอย่างละ 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 สว่ นใหญ่มีเงินเกบ็ ต่อเดอื น 201 – 500 บาท จำนวน 5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 50.00 รองลงมาตำ่ กวา่ 200 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และ 501 – 1,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.00 ส่วนใหญใ่ ชค้ า่ ใช้จา่ ยกบั คนในครอบครวั 3 คน และ 4 คน จำนวนอยา่ งละ 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.00 และใช้ค่าใชจ้ า่ ยกบั คนในครอบครัว 2 คน จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 และกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดไม่เคยเขา้ ร่วมการเขา้ อบรมบัญชีครัวเรอื น จำนวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 3. ศกึ ษาความพึงพอใจของบุคคลท่ัวไปต่อการบันทกึ บัญชีครวั เรือน ชุมชนบ้านคลองมือไทร แบ่งออกเป็น 4 ด้าน คือ ดา้ นทัศนคิ ตเิ ก่ียวกับบญั ชีครัวเรอื น โดยรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง และเมื่อ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ แล้ว รู้จักเศรษฐกิจพอเพยี งมากน้อยเพียงใด ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก รองลงมา ทา่ นคดิ วา่ การทำบัญชคี รวั เรอื นเช่อื มโยงกบั เศรษฐกิจพอเพียงมากน้อยเพียงใด ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับ ปานกลาง ในสภาวะเศรษฐกิจปจั จุบนั ควรทีจ่ ะนำหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี งและการทำบัญชีครัวเรอื นมาปรับ ใชใ้ นการดำรงชวี ติ ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ท่านคดิ ว่าตวั ท่านเองมคี วามรู้ทางด้านบัญชมี าก นอ้ ยเพยี งใด ความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง และในชุมชนของท่านมีการส่งเสริมเก่ียวกับเศรษฐกิจ พอเพยี งเพียงใด ความพึงพอใจอยูใ่ นระดับปานกลาง ตามลำดับ

ง ดา้ นการจัดทำบญั ชี โดยรวมมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดับ เม่ือพจิ ารณารายข้อแลว้ สามารถ ถ่ายทอดการจัดทำบญั ชคี รัวเรอื นให้แก่สมาชิกในครอบครัว รองลงมาการจดั ทำบญั ชคี รัวเรอื นมปี ระโยชน์ ต่อการดำรงชวี ิตใน ท่านไดร้ ับความรู้การจดั ทำบญั ชคี รัวเรอื นจากผูจ้ ัดทำโครงการน้ี และขัน้ ตอนการ จัดทำบัญชีมคี วามยุ่งยากเพียงใด ตามลำดบั ด้านการส่งเสริมและวางแผนการเงนิ โดยรวมมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณา รายขอ้ แลว้ ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการจัดทำบญั ชคี รัวเรอื นสามารถวางแผนการออมเงินในอนาคตได้ รองลงมา สามารถให้ครัวเรือนมีระเบียบในการใชจ้ ่ายทางดา้ นการเงินได้ และสามารถช่วยวางแผนค่าใชจ้ า่ ยในแต่ ละเดือนของครวั เรอื นได้ ตามลำดับ ด้านการสง่ เสรมิ และวางแผนการเงิน โดยรวมมคี วามพึงพอใจอย่ใู นระดบั มาก เมื่อพจิ ารณา รายขอ้ แลว้ มีการแนะนำหรอื ใหค้ วามรู้ทุกครั้งที่ได้ไปพบปะผรู้ ว่ มโครงการ รองลงมามีความสุภาพ เรยี บรอ้ ย และผู้เข้าร่วมโครงการประทับใจในการทำกจิ กรรมของโครงการ ตามลำดบั คำสำคญั บัญชีครวั เรอื น ชมุ ชน เศรษฐกิจพอเพยี ง

กติ ติกรรมประกาศ โครงการการบญั ชีครัวเรือน ชมุ ชนบา้ นคลองมือไทร สามารถสำเรจ็ ลลุ ว่ งอย่างสมบูรณ์ไปได้ ด้วยดี ด้วยความเมตตา กรุณาจากท่านอาจารยน์ ิพร จทุ ยั รัตน์ ทีป่ รกึ ษาโครงการการวิจยั ท่ีใหค้ ำปรึกษา แนะนำแนวทางทถี่ ูกต้อง และเอาใจใสด่ ้วยดตี ลอดระยะเวลาในการดำเนนิ การโครงงการ ผู้ศกึ ษารู้สึก ซาบซ้งึ เป็นอย่างย่ิง จงึ ขอกรายขอบพระคุณเปน็ อย่างสงู มา ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณบิดา มารดา และเพื่อน ๆ ทุกคนท่ีไดใ้ ห้คำแนะนำชว่ ยเหลือสนับสนนุ ผศู้ ึกษา โครงการมาตลอด โครงการจะสำเร็จลลุ ว่ งไปไม่ได้ หากไม่มีบุคคลดังกลา่ วในการจดั ทำโครงการ คุณคา่ และประโยชนข์ องโครงการน้ี ผศู้ ึกษาขอมอบเป็นกตัญญูกตเวทแี ดบ่ พุ การบี ูรพาอาจารย์ และผ้มู พี ระคุณทุกทา่ นทั้งในอดีตและปจั จุบนั ทีไ่ ด้อบรม สั่งสอน ชแ้ี นวทางในการศึกษา จนทำให้ผูศ้ กึ ษา ประสบความสำเรจ็ มาจนตราบทกุ วนั นี้ พิชญธดิ า จิ๋วน้อย รงั สมิ า เกตุประสทิ ธ์ิ

สารบัญ หน้า ใบรับรองโครงการ ............................................................................................................................. .........ก บทคัดย่อ ............................................................................................................... ......................................ข กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................................................. .........ฉ สารบญั .......................................................................................................................................................ช สารบัญตาราง ............................................................................................................................. ...............ฌ สารบัญภาพ ............................................................................................................................. ..............ญ บทที่ 1 บทนำ.............................................................................................................................................1 หลักการและเหตุผล....................................................................................................................... 1 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ..............................................................................................................2 ขอบเขตของโครงการ ....................................................................................................................2 ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ ............................................................................................................2 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ...........................................................................................................................2 บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกย่ี วข้อง ........................................................................................4 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ าและคำอธิบายรายวิชา.......................................................4 แนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง………………………………………………………………………………………………….5 แนวคิดเก่ยี วกบั บญั ชีครวั เรอื น.......................................................................................................9 แนวคดิ เกย่ี วกับปัจจัยสิ่งแวดล้อม................................................................................................12 แนวคดิ เกย่ี วกบั พฤติกรรมการใช้จ่าย ..........................................................................................15 งานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง......................................................................................................................17 บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ งาน .......................................................................................................................22 ประชากรกลุม่ ตัวอย่าง ................................................................................................................22 เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการศึกษา ...........................................................................................................22

ซ สารบัญ(ต่อ) หน้า ขัน้ ตอนในการสรา้ งเครอ่ื งมือ.......................................................................................................23 การเก็บรวบรวมข้อมูล .................................................................................. ...............................24 วธิ กี ารวเิ คราะหข์ ้อมูลและสถิติที่ใช้ในการศึกษา .........................................................................24 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ ...........................................................................................................................26 สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมลู ...........................................................................................26 การนำเสนอผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล .............................................................................................26 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ..........................................................................................48 สรุปผลการศกึ ษา.........................................................................................................................48 อภปิ รายผล............................................................................................................................. .....49 บรรณานุกรม ............................................................................................................................. ...............52 ภาคผนวก ............................................................................................. ....................................................53 ภาคผนวก ก แบบขออนมุ ัติโครงการ/แบบเสนอโครงการ...........................................................54 ภาคผนวก ข แบบสอบถาม.........................................................................................................62 ภาคผนวก ค เอกสารภาพประกอบ.............................................................................................69 ประวัติผู้จัดทำการศึกษา...........................................................................................................................82

สารบญั ตาราง ตาราง หนา้ ตารางที่ 1 แสดงความถี่และร้อยละของกล่มุ ตวั อย่าง จำแนกตามเพศ.....................................................27 ตารางท่ี 2 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามช่วงอายุ ..............................................28 ตารางที่ 3 แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามสถานะภาพ ........................................29 ตารางที่ 4 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุม่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามระดบั รายไดต้ ่อเดือน ..........................30 ตารางที่ 5 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามวิธีการจดบนั ทึกบัญชีครัวเรือน...........31 ตารางท่ี 6 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามระดับรายไดต้ อ่ ค่าใชจ้ ่าย ....................32 ตารางที่ 7 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามระดับเงินเก็บตอ่ เดือน.........................33 ตารางที่ 8 แสดงความถี่และร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่าง จำแนกตามค่าใช้จา่ ยในครวั เรือน..........................34 ตารางท่ี 9 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกล่มุ ตัวอยา่ ง จำแนกตามการเข้ารว่ มอบรม ...............................35 ตารางที่ 10 แสดงคา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน โครงการการบญั ชีครวั เรือน ชุมชนบา้ นคลองมอื ไทรและความพึงพอใจของกลมุ่ ตวั อยา่ ง สรุปเป็นรายดา้ น.....................37 ตารางท่ี 11 แสดงค่าเฉล่ยี และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลุ่มตัวอยา่ ง ทีม่ ีตอ่ การบนั ทึกบัญชีครวั เรือน ............................................................................................39 ตารางท่ี 12 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจของกลุ่มตัวอยา่ ง ทีม่ ีต่อการบนั ทึกบัญชีครวั เรอื น ............................................................................................41 ตารางท่ี 13 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจของกลุ่มตัวอยา่ ง ที่มีต่อการบันทึกบัญชคี รวั เรือน ............................................................................................42 ตารางท่ี 14 แสดงคา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง ทมี่ ีต่อการบันทึกบัญชคี รวั เรือน ............................................................................................44

สารบญั ภาพ หน้า ภาพที่ 1 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ............................................................................................................6 ภาพท่ี 2 ออกแบบกระดาษปกสมุดบนั ทึก รายรบั – รายจา่ ย..................................................................70 ภาพที่ 3 ออกแบบข้อมลู ข้างในสมุดบันทกึ รายรบั – รายจ่าย.................................................................70 ภาพที่ 4 ประกอบสมุดบนั ทึก รายรับ – รายจ่าย ....................................................................................71 ภาพท่ี 5 คิดแบบแผน แพลนการทำโครงการ...........................................................................................71 ภาพท่ี 6 เนื่องจากไปพบปะเจอกันไม่ได้ จงึ ต้องสร้างมตี เพื่อ เสนอและสอนเร่ืองการบนั ทกึ สมุด รายรบั – รายจา่ ย ......................................................................................................................72 ภาพท่ี 7 เปน็ การอบรมทางออนไลน์เก่ียวกบั บญั ชีครัวเรือน ....................................................................72 ภาพท่ี 8 แนะนำการบันทึกรายการในสมดุ ..............................................................................................73 ภาพท่ี 9 รายละเอียดในสมดุ บนั ทกึ รายรบั – รายจ่าย............................................................................73 ภาพท่ี 10 ตวั อย่างสมดุ บนั ทึก รายรบั – รายจ่าย....................................................................................74 ภาพที่ 11 ใหค้ วามรูเ้ กยี่ วกบั การบันทึกรายรัย – รายจ่าย .......................................................................74 ภาพที่ 12 ให้ความร้เู ก่ยี วกับการบันทกึ รายรัย – รายจา่ ย .......................................................................75 ภาพที่ 13 พูดคุยสอบถามความคืบหน้าในแต่ละสัปดาห์..........................................................................75 ภาพที่ 14 พูดคยุ สอบถามความคืบหนา้ ในแตล่ ะสปั ดาห์..........................................................................76 ภาพที่ 15 แจกแบบสอบถามทางชอ่ งทางออนไลน์ ..................................................................................76 ภาพที่ 16 วิเคราะหข์ ้อมลู เกยี่ วกับแบบสอบถาม .....................................................................................77 ภาพที่ 17 จดั ทำแบบเสนอโครงการเป็น PowerPoint วิดโี อ ..................................................................77 ภาพท่ี 18 สมดุ บันทกึ ครัวเรือน ของชุมชน (บางสว่ น) .............................................................................78 ภาพท่ี 19 สมุดบนั ทึกครัวเรือน ของชมุ ชน (บางสว่ น) .............................................................................78 ภาพท่ี 20 ภายในสมุดบันทกึ ครัวเรอื น ของชมุ ชน (บางส่วน) ..................................................................79 ภาพท่ี 21 ภายในสมดุ บนั ทึกครัวเรอื น ของชมุ ชน (บางสว่ น) ..................................................................79 ภาพที่ 22 ภายในสมดุ บนั ทกึ ครัวเรอื น ของชมุ ชน (บางสว่ น) ..................................................................80 ภาพที่ 23 ภายในสมดุ บันทกึ ครัวเรอื น ของชมุ ชน (บางสว่ น) ..................................................................80

ฎ สารบญั ภาพ(ต่อ) หน้า ภาพที่ 24 ภายในสมดุ บันทกึ ครัวเรือน ของชมุ ชน (บางสว่ น) ..................................................................81 ภาพที่ 25 ภายในสมดุ บนั ทกึ ครวั เรือน ของชุมชน (บางสว่ น) ..................................................................81

บทที่ 1 บทนำ หลักการและเหตผุ ล ในปจั จุบนั มีสินคา้ ผลติ ภัณฑม์ ากมายหลากหลายราคา ทำใหผ้ ้คู นบางกลุ่มใช้จ่ายฟุ่มเฟอื ยอยา่ งไม่ จำเป็นมากนัก จงึ ทำใหเ้ ป็นปัญหาเรอ่ื งค่าใชจ้ า่ ยภายในครอบครวั และตนเองถ้าเงนิ ไม่พอกจ็ ะเกิดหน้สี ิน ตามมาอย่างไม่ส้นิ สุด ยิ่งสถานการณช์ ่วงนม้ี เี ชอ้ื ไวรสั โควิด 19 ทำให้การเงนิ ภายในครอบครวั รว่ั ไหลมาก กวา่ เดิม เพราะรายได้นอ้ ยกวา่ ค่าใชจ้ ่าย เหตุนจี้ ึงทำให้นักศึกษาวิจยั เร่ืองเก่ียวกบั บัญชีครวั เรอื นของ นกั ศกึ ษา นกั ศึกษาคดิ ว่าต้องจดั ทำการบันทึกรายรับ – รายจา่ ย โดยนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช มาใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ และแนวความคดิ พอมีพอกนิ พอใช้ ความพอประมาณ มุ่งเนน้ การใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั การสร้างภมู ิค้มุ กันในตนเอง จงึ ได้หลกั การ บญั ชคี รวั เรอื นมาปรบั ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สงู สุดตอ่ ครัวเรือน เพอื่ ให้รู้ถงึ ฐานะทางการเงนิ ของครัวเรอื น เชน่ ลดค่าใช้จา่ ยในสว่ นท่ีไมจ่ ำเป็น โดยปราศจากหนี้สินด้วยการลดรายจา่ ย เพิ่มรายได้ด้วยการอดออม หรือการฝึกวินัยในการวางแผนการเงนิ ของแตล่ ะเดือน ดังนั้นคณะผูจ้ ดั ทำจึงจดั ทำโครงการการบญั ชีครัวเรอื นชุมชนบ้านคลองมอื ไทร ในการทำบัญชี ครัวเรอื น จึงให้ความสำคญั เพ่ือช่วยทำให้ทราบเกยี่ วกับคา่ ใช้จา่ ยต่าง ๆ ลดคา่ ใช้จ่ายทไี่ ม่จำเปน็ ใน บางสว่ น ทำให้เขา้ ใจในปญั หาเร่ืองหนสี้ ินในครวั เรือน เมอ่ื รายไดต้ ิดลบวา่ สาเหตมุ าจากจุดไหน ผทู้ บ่ี นั ทกึ บัญชีสามารถนำส่ิงที่ได้รับจากโครงการนี้ไปพฒั นาหรือนำความรูท้ างดา้ นบญั ชไี ปปรบั ใช้และวางแผนใน การใชช้ ีวติ ประจำวันและการศึกษามาประกอบวชิ าชีพภายในอนาคต

2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 1. เพ่อื สง่ เสรมิ ให้ครอบครัวในชุมชนบ้านคลองมือไทร มีการจดั ทำบญั ชคี รวั เรือน 2. เพอ่ื ส่งเสรมิ และวางแผนรายจ่ายของครอบครัว 3. เพอื่ บรหิ ารรายจา่ ยที่ไม่จำเปน็ ใหล้ ดลง ขอบเขตของโครงการ 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา ท่ีใชใ้ นการศึกษาครง้ั นี้ ได้แก่ สง่ เสรมิ ใหค้ รอบครัวในชุมชนบา้ นคลองมือ ไทร วางแผนคา่ ใชจ้ ่ายในครอบครวั ได้ ให้มีการบริหารรายจ่ายทไี่ ม่จำเป็นใหล้ ดลง สามารถทราบข้อมลู รายจ่ายจากการจัดทำบญั ชีครวั เรอื น 2. ขอบเขตกลุ่มตวั อย่าง ทใี่ ช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ ครัวเรอื นชุมชนบา้ นคลองมอื ไทร จำนวน 10 ครวั เรือน 3. ขอบเขตดา้ นเวลาและสถานที่ 3.1 ด้านระยะเวลา ภาคเรยี นท่ี 1 ตัง้ แต่ 1 มถิ นุ ายน 2564 ถงึ 1 ตลุ าคม 2564 3.2 ขอบเขตด้านสถานท่ี ชมุ ชนบา้ นคลองมอื ไทร 23 หมู่ 1 ตำบลธาตทุ อง อำเภอบ่อ ทอง จังหวดั ชลบรุ ี 20270 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะไดร้ ับ 1. ชุมชนบ้านคลองมอื ไทร มีการจดั ทำบัญชคี รวั เรือนเพิ่มข้ึน 2. สามารถวางแผนรายจ่ายของครัวเรือนได้ 3. สามารถบรหิ ารรายจา่ ยท่ไี มจ่ ำเป็นลดลงได้ นิยามศัพท์เฉพาะ (อยา่ งนอ้ ย 3 คำ) ครวั เรือน หมายถึง ครวั เรือนทปี่ ระกอบขึ้นด้วยบุคคลคนเดียวหรือหลายคนอาศัยอยใู่ นบา้ นหรือท่ี อยู่อาศัยเดยี วกัน และจดั หาหรอื ใช้สง่ิ อุปโภคบรโิ ภคอันจำเปน็ แกก่ ารครองชีพรว่ มกัน บุคคลเหลา่ นัน้ อาจ เปน็ ญาติหรอื ไมเ่ ป็นญาติกนั ก็ได้ เป็นครวั เรือนทอี่ ย่ใู นชุมชนบา้ นคลองมอื ไทร

3 การบัญชี หมายถึง กระบวนการจดั การในส่วนของบันทึกรายการทางการค้า ไดแ้ ก่ การเขียน บนั ทึกรายการทางการค้า การจำแนกแยกประเภทหมวดหม่ทู างการค้า การสรุปผลการดำเนนิ งาน รวมไป ถึงการวเิ คราะหแ์ ละการแปลความหมายข้อมูลของนักบัญชี การทำบญั ชี หมายถึง ดา้ นการเกบ็ บนั ทกึ การบญั ชีการเงิน และเกย่ี วข้องกบั การเตรียมเอกสาร ตน้ ฉบับสำหรบั ธรุ กรรม, การดำเนินงาน และกิจกรรมอน่ื ๆ ของธุรกิจทงั้ หมด คนทำบัญชนี ำบัญชีเขา้ สู่ ขน้ั ตอนงบทดลอง ซง่ึ นักบัญชีอาจจดั ทำงบกำไรขาดทนุ และงบดุล โดยใชง้ บทดลองและสมุดบัญชแี ยก ประเภททจ่ี ดั ทำโดยคนทำบญั ชี ชุมชน หมายถงึ พ้ืนที่ที่มีกลมุ่ ที่พักอาศยั ของประชาชนในลักษณะใดก็ได้อย่รู ่วมกัน ไม่วา่ จะเปน็ ใน เมอื ง หรอื ชนบท โดยในดา้ นกายภาพมสี ่งิ อำนวยความสะดวกในดา้ นการดำเนินชีวติ ร่วมกนั เช่น ถนน หนทาง ไฟฟ้า ประปา วดั โรงเรยี น เปน็ ตน้ และคนกลมุ่ นี้มีลักษณะทางสังคมตลอดจนกจิ กรรามทาง สงั คม และเศรษฐกิจ บางอยา่ งร่วมกันชดั เจน และขอบเขตของชมุ ชนจะมีอาณาบรเิ วณท่ีชัดเจน ไม้วา่ จะ เปน็ ขอบเขตทางธรรมชาติ หรือขอบเขตทีส่ ร้างขน้ึ เองก็ตาม

บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ัยทเี่ ก่ยี วข้อง การดำเนนิ การโครงการการบัญชีครวั เรอื น ชุมชนบ้านคลองมือไทร ณ 23 หมู่ 1 ตำบลธาตทุ อง อำเภอบ่อทอง จังหวดั ชลบุรี 20270 ระหว่างวนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2564 ถึงวันที่ 1 ตลุ าคม 2564 ผูด้ ำเนิน โครงการได้รวบรวม เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ท่ีเกย่ี วข้องมีหัวข้อต่อไปนี้ 1. จุดประสงคร์ ายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวิชา 2. แนวคิดปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง 3. แนวคิดเกีย่ วกับบัญชีครัวเรอื น 4. แนวคดิ เก่ยี วกับปจั จยั แวดลอ้ ม 5. แนวคิดเกย่ี วกับพฤติกรรมการใชจ้ ่าย 6. งานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธิบายรายวิชา 1. จดุ ประสงค์รายวิชา 1.1 เขา้ ใจขั้นตอนกระบวนการสร้างหรอื พัฒนางานอาชพี อยา่ งเปน็ ระบบ 1.2 สามารถบรู ณาการความรู้และทักษะในการสร้างหรือพัฒนางานในสาขาวชิ าชีพตาม กระบวนการวางแผน การดำเนนิ งาน การแก้ไขปัญหาประเมนิ ผลทำรายงานและนำเสนอผลงาน 1.3 มีเจตคติและกจิ นิสยั ในการศึกษาค้นควา้ เพื่อสร้างหรอื พฒั นางานอาชีพด้วยความ รบั ผิดชอบ มวี นิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ขยัน อดทนและสามารถทำงานรว่ มกบั ผู้อืน่ 2. สมรรถนะรายวิชา 2.1 แสดงความร้เู ก่ียวกับหลักการและกระบวนการสรา้ งและ/หรอื พฒั นางานอาชีพอยา่ ง เป็น ระบบ 2.2 เขียนโครงการสร้างและหรือพฒั นางานตามหลกั การ

5 2.3 ดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการตามหลักการและกระบวนการ 2.4 เกบ็ ขอ้ มูล วเิ คราะห์ สรุปและประเมินผลการดำเนินงานโครงการตามหลกั การ 2.5 นำเสนอผลการดำเนินงานดว้ ยรปู แบบวธิ ีการต่างๆ 3. คำอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏบิ ตั เิ ก่ียวกบั การบูรณาการความรู้ และทกั ษะในระดบั เทคนคิ ทส่ี อดคล้องกับ สาขาวิชาชีพท่ศี ึกษา เพื่อสร้างหรอื พัฒนางานดว้ ยกระบวนการทดลอง สำรวจ ประดิษฐ์คิดคน้ หรอื การ ปฏิบตั งิ านเชิงระบบ การเลือกหวั ขอ้ โครงการ การศึกษาค้นควา้ ขอ้ มลู และเอกสารอ้างอิง การเขียน โครงการการดำเนินงานโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมลู วิเคราะหแ์ ปรผล การสรปุ ผลการดำเนินงาน และจดั ทำรายงาน การนำเสนอผลงานโครงการ ดำเนนิ การเป็นรายบคุ คลหรือกลุ่ม ตามลักษณะของงาน ใหแ้ ล้วเสรจ็ ในระยะเวลาท่กี ำหนด แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความหมายเศรษฐกจิ พอเพยี ง เศรษฐกจิ พอเพียง คือ ปรัชญาที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัวรัชการท่ี 9 ทรงช้ีแนวคดิ ทางการดำเนินชีวิตใหแ้ กป่ วงชยชาวไทยมาเปน็ ระยะยาวนาน ในช่วงกอ่ ตงั้ แตก่ ่อนการเกิดวิกฤตเศรษฐกจิ เพอ่ื มุ่งให้พสกนกิ รไดด้ ำรงชวี ิตอย่ไู ด้อยา่ งยั่งยืน มั่นคง และปลอดภยั ภายใตค้ วามเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ เกดิ ขึ้นตามกระแสโลกาภิวัฒน์ อีกทั้งเอาไว้เปน็ ภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy ดังพระราชดำรัส ทไี่ ดท้ รงตรัสไวเ้ มื่อวนั ท่ี 23 ธันวาคม 2544 คำวา่ Sufficiency Economy เป็นคำทเ่ี กิดมาจากความคิดใหม่ อีกทงั้ ยงั เปน็ ทฤษฎีใน พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวในพระบรมโกศ จึงไม่ปรากฎอย่ใู นตำราเศรษฐศาสตร์ ซง่ึ บางคนอาจจะ สงสยั อยวู่ า่ Self-Sufficiency Economy สามารถใชแ้ ทน Sufficiency Economy ไดห้ รอื ไม่ หากวา่ ไมไ่ ด้มีความหมายอย่างเดียวกนั หรอื ไม่สามารถใชเ้ หมือนกันได้ จะมคี วามเหมือนหรือแตกตา่ งกันอยา่ งไร โดยคำวา่ Self-Sufficiency มคี วามหมายตามพจนานกุ รมวา่ การทไี่ ม่ต้องพึง่ ใคร และการไม่ต้องพึ่งใคร ในความหมายของพระองคท์ า่ นนัน้ คือ “Self-Sufficiency หมายความวา่ ผลติ อะไรมีพอทจี่ ะใช้ ไม่ตอ้ ง ไปขอยมื คนอ่นื อยู่ได้ดว้ ยตนเอง” ฉะนนั้ เมื่อเตมิ คำวา่ Economy เข้าไป จะกลายเป็น Self-Sufficiency

6 Economy แล้วนน้ั จะมีความหมายว่า เศรษฐกจิ แบบพอเพียงกับตวั เอง คือ การท่สี ามารถอยู่ได้ด้วย ตนเองอยา่ งไมเ่ ดือดร้อน ไมต่ ้องพึ่งพาคนอนื่ แตใ่ นทุกวันนี้ ประเทศไทยเรายังเดอื ดร้อน ยังมีความ ชว่ ยเหลอื ตัวเองได้ก็ตาม ดังน้ัน Self-Sufficiency Economy จึงหมายถึง เศรษฐกจิ แบบพอเพยี งกบั ตวั เอง ทแี่ ตกต่างจาก Sufficiency Economy ซึง่ หมายถงึ เศรษฐกจิ พอเพียงทยี่ งั คงมีการพึง่ พากันและ กันอยู่ ดังพระราชดำรัสเพม่ิ เติมวา่ “คอื พอมีพอกินของตัวเองน้นั ไมใ่ ช่เศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นเศรษฐกิจ สมยั หิน สมยั หินนั้นเปน็ เศรษฐกจิ พอเพยี งเหมอื นกนั แตว่ า่ ค่อย ๆ พฒั นาขนึ้ มา ต้องมีการแลกเปลี่ยนกนั มกี ารช่วยระหว่างหม่บู ้านหรือระหวา่ ง จะเรยี กว่าอำเภอ จังหวัด ประเทศ จะต้องมีการแลกเปล่ียน มกี าร ไม่พอเพียง จงึ บอกว่าถา้ มเี ศรษฐกิจพอเพียง เพียงเศษหนง่ึ ส่วนสีก่ ็พอแลว้ จะใช้ได”้ ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งน้ัน เปน็ แนวทางการดำรงชีวติ และการปฏิบัติตนของประชาชนทุกระดับ โดยยึดแนวทางการ พัฒนาท่มี ีคนหรือประชาชนเป็นศนู ยก์ ลาง ซงึ่ สง่ิ เหล่านีเ้ องจะเปน็ ตวั การทน่ี ำไปสู่การพัฒนาทยี่ ่งั ยนื หรือ ในภาษาองั กฤษ คือ Sustainable Development 2. หลักแนวคิดของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การพัฒนาตามหลกั แนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง คือการพัฒนาที่ตัง้ อย่บู นพืน้ ฐานของทางสาย กลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถงึ ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล การสรา้ งภูมิคุ้มกนั ทด่ี ีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความรอบคอบ และคณุ ธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสนิ ใจและการกระทำ 3. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ภาพท่ี 1 ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

7 เศรษฐกจิ พอเพยี ง เป็นปรัชญาช้ีถงึ แนวการดำรงอย่แู ละปฏบิ ัตติ นของประชาชนในทุกระดับ ตง้ั แตร่ ะดบั ครอบครวั ระดบั ชุมชน จนถงึ ระดบั รฐั ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดำเนนิ ไปในทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพฒั นาเศรษฐกจิ เพื่อใหก้ ้าวทนั ต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมเี หตุผลรวมถึงความจำเป็นทจ่ี ะต้องมี ระบบภูมิคมุ้ กันในตวั ทด่ี ีพอาสมควรตอ่ การมผี ลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้งั ภายนอกและ ภายใน ทั้งน้ีจะต้องอาศยั ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยง่ิ ในการนำวชิ าการ ตา่ ง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดำเนนิ การทุกขน้ั ตอน และขณะเดยี วกันจะต้องเสริมสร้างพืน้ ฐาน จติ ใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหนา้ ท่ีของรัฐนักทฤษฎีและนักธรุ กิจในระดับให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซอื่ สตั ย์สจุ รติ และใหม้ ีความรอบคอบ เพ่ือให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรบั การเปล่ียนแปลงอย่าง รวดเรว็ และกว้างขวางท้ังด้านวตั ถุ สงั คม สงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เปน็ อย่างดี ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีหลักพิจารณาอยู่ 5 ส่วน ดงั น้ี 3.1 กรอบแนวคดิ เปน็ ปรชั ญาทีช่ ีแ้ นะแนวทางกานดำรงอยู่และปฏิบตั ิตนในทางท่ีควรจะเป็น โดยมี พ้ืนฐานมาจากวิถีชวี ิตด้งั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนำมาประยกุ ต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลก เชิงระบบทีม่ ีการเปลยี่ นแปลงอยูต่ ลอดเวลา มงุ่ เนน้ การรอดพ้นจากภัย และวิกฤตเพื่อความม่ันคง และ ความยง่ั ยืนของการพฒั นา 3.2 คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยุกตใ์ ชก้ บั การปฏิบัตติ นไดใ้ นทุกระดับโดยเนน้ การ ปฏิบตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน 3.3 คำนยิ าม ความพอเพียงจะต้องประกอบดว้ ย 3 คุณลักษณะ พร้อม ๆ กันดงั นี้ 3.3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดที ี่ไม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อ่นื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอย่ใู นระดับพอประมาณ 3.3.2 ความมเี หตุผล หมายถึง การตัดสนิ ใจเก่ียวกบั ระดับของความพอเพียงนั้น จะต้อง เป็นไปอย่างมเี หตุผล โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ท่ีเก่ยี วข้องตลอดจนคำนึงถึงผลทีค่ าดวา่ จะเกิดข้นึ จาก

8 การกระทำนนั้ ๆ อย่างรอบคอบ 3.3.3 การมภี มู ิคมุ้ กนั ทด่ี ี หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลการกระทบและการ เปล่ยี นแปลงดา้ นต่าง ๆ ทีจ่ ะเกดิ ขึน้ โดยคำนงึ ถงึ ความเป็นไปไดข้ องสถาณการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะ เกดิ ขน้ึ ในอนาคตท้ังใกล้และไกล 3.4 เงอ่ื นไข การตดั สนิ ใจและการดำเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพยี งนนั้ ต้องอาศยั ทง้ั ความรู้ และคุณธรรมเปน็ พ้นื ฐาน 3.4.1 เงอื่ นไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ ก่ียวกบั วิชาการตา่ ง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องอย่าง รอบดา้ น ความรอบคอบทจี่ ะนำความรู้เหลา่ น้นั มาพจิ ารณาให้เชอื่ มโยงกนั เพอื่ นประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขนั้ ปฏิบตั ิ 3.4.2 เงอ่ื นไขคุณธรรม ทจ่ี ะต้องเสรมิ สร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มี ความซอื่ สตั ยส์ จุ ริตและมีความอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชวี ิต 3.5 สมดลุ 4 มติ ิ 3.5.1 เศรษฐกจิ 3.5.2 สง่ิ แวดล้อม 3.5.3 สังคม 3.5.4 วฒั นธรรม 4. การดำเนินชวี ิตตามแนวพระราชดำริพอเพยี ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนน้ั เม่ือได้พระราชทานแนว พระราชดำริ หรือพระบรมราโชวาทในดา้ นตา่ ง ๆ จะทรงคำนงึ ถงึ ชวี ิต สภาพสังคมของประชาชนดว้ ย เพ่อื ไมใ่ ห้เกิดความขัดแย้งทางความคดิ ที่อาจนำไปสคู่ วามขัดแย้งในทางปฏิบัติได้ แนวพระราชดำริในการดำเนนิ ชีวติ แบบพอเพียง 4.1 ยึดความประหยดั ตดั ทอนค่าใช้จ่ายในทุกดา้ น ลดละความฟุ่มเฟอื ยในการใช้ชวี ิต 4.2 ยึดถือการประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง ซ่ือสัตย์สจุ รติ 4.3 ละเลกิ การแก่งแย่งผลประโยชน์และแขง่ ขันกนั ในทางการคา้ แบบต่อส้กู นั อยา่ งรุนแรง

9 4.4 ไมห่ ยุดนิ่งทีจ่ ะหาทางให้ชีวติ หลุดพน้ จากความทุกข์ยาก ดว้ ยการขวนขวายใฝ่หาความรู้ ให้มีรายไดเ้ พิม่ พูนขนึ้ จนถึงขั้นพอเพยี งเปน็ เป้าหมายสำคัญ 4.5 ปฏิบัติตนในแนวทางทีด่ ี ลดละส่งิ ช่ัว ประพฤตติ นตามหลักศาสนา 5. ทฤษฎใี หม่ 5.1 ความสำคญั ของทฤษฎใี หม่ 5.1.1 มีการบริหารและจดั แบ่งที่ดนิ แปลงเล็กออกเป็นสดั ส่วนท่ีชัดเจน เพ่ือประโยชน์ สูงสุดของเกษตรกร ซ่ึงไมเ่ คยมใี ครคิดมาก่อน 5.1.2 มีการคำนวณโดยใชห้ ลักวิชาการเก่ียวกบั ปริมาณนำ้ ท่จี ะกักเก็บใหพ้ อเพียงตอ่ การ เพาะปลูกได้อย่างเหมาะสมตลอดปี 5.1.3 มกี ารวางแผนทสี่ มบูรณ์แบบสำหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขนั้ ตอน แนวคิดเกีย่ วกับบัญชีครวั เรือน ครวั เรือน กบั ครอบครวั เป็นคำทีม่ ีความหมายคลา้ ยกนั ต่างกนั ทค่ี วามสัมพนั ธข์ องคนใน ครวั เรือนกับในครอบครัว ในครอบครวั น้ัน บคุ คลจะต้องมีความเชื่อมโยงกันไมว่ า่ จะเปน็ โดยสมรส ทาง สายเลอื ด หรือการรบั เล้ียงเป็นบุตรบญุ ธรรม มคี วามผกู พนั กันทางอารมณ์และจติ ใจในการดำเนินชีวิต รว่ มกนั ในขณะที่ในครวั เรอื น บคุ คลอาจจะมหี รือไม่มีความสัมพันธก์ ันก็ได้ ดังท่ีพจนานุกรมศพั ท์ ประชากรศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถานอธบิ ายไว้ ครวั เรอื น (Household) คือ หน่วยการอยู่อาศยั ของบุคคลหรอื กล่มุ บุคคลที่อาจมีหรือไม่มี ความสมั พนั ธ์อยา่ งหนึ่งอย่างใดต่อกนั ครวั เรือนหนึง่ ๆ อาจมีสมาชิกเพียงคนเดยี วหรอื หลายคนก็ได้ ใน กรณที ี่อย่กู ันหลายคน คนเหล่านั้นอาจเปน็ สมาชกิ ครอบครัวเดยี วกัน หรือตา่ งครอบครวั ก็ได้ ประเภทของครวั เรือนแบ่งได้ 2 ประเภท 1. ครวั เรือนส่วนบุคคล (Private Household) หมายถึง ครัวเรอื นทปี่ ระกอบดว้ ยบุคคลท่ี ประกอบดว้ ยบุคคลคนเดยี วหรอื หลายคนอาศัยอยใู่ นบ้านท่ีอยูอ่ าศัยเดียวกนั และจัดหาหรือใช้สงิ่ อปุ โภค บรโิ ภคอันจำเปน็ แก่การครองชพี รว่ มกัน บคุ คลเหลา่ น้นั อาจเปน็ ญาติหรอื ไมเ่ ปน็ ญาติกันก็ได้

10 2. ครัวเรอื นกลุม่ บุคคล (Collective Household) หมายถงึ ครวั เรือนทีป่ ระกอบด้วยบุคคล ท่ีมยิ ูร่ วมกนั เพราะไดม้ ีกฎหรอื ระเบยี บขอ้ บังคบั อยา่ งใดอย่างหน่ึงระบุไว้ว่าใหม้ าอยูร่ วมกนั หรอื จำเป็นต้องมาอยูร่ วมกันเพ่ือผลประโยชน์ของตนเอง บคุ คลเหล่านี้จะกินรวมกนั หรือไม่ก็ได้ 2.1 ครวั เรือนกลุม่ บุคลยงั จำแนกได้ 2 ชนิด คือ ครวั เรอื นสถาบนั (Institutional Household) เช่น วดั เรอื นจำ โรงพยาบาล สถานสงเคราะห์ โรงเรียน กองทหาร ตำรวจ หรือโรงแรม และครัวเรอื นทีไ่ มใ่ ชส่ ถานบนั (Non-Institutional Household) เช่น หอพกั บ้านพักคนงานท่ีมีคนงาน จำนวน 6 คน ขน้ึ ไป ทส่ี ถานประกอบธรุ กิจจดั ให้อยอู่ าศยั รวมกนั การทำบัญชีครัวเรอื น คือ การจดบนั ทึกข้อมูลเกยี่ วกับเงื่อนไขปัจจัยในการดำรงชีวิตของ ตวั เอง และภายในครอบครวั ชุมชน รวมถงึ ประเทศ ข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการบนั ทึกจะเปน็ ตัวบง่ ชอี้ ดีตปัจจุบนั และอนาคตของชวี ิตของตวั เอง สามารถนำข้อมลู อดีตมาบอกปัจจบุ นั และอนาคตได้ ข้อมูลท่ีได้ ทบ่ี ันทึกไว้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการวางแผนชีวติ และกจิ กรรมต่าง ๆ ในชีวติ ในครอบครัว บัญชีครวั เรือน มิไดห้ มายถึง การทำบัญชหี รือบนั ทึกรายรบั รายจ่ายประจำวันเทา่ นนั้ แต่อาจ หมายถึงการบนั ทกึ ขอ้ มูลดา้ นอ่ืน ๆ ในชีวิต ในครอบครัว เป็นต้น ของเราได้ด้วย เช่น บัญชที รพั ยส์ ิน พนั ธ์ุ พชื พันธไุ์ ม้ ในบา้ นเราในชมุ ชนเรา บญั ชีความรู้ความคิดของเรา บญั ชผี ทู้ รงคุณ ผู้รู้ในชุมชนเรา บัญชีเด็ก และเยาชนของเรา บัญชภี ูมปิ ัญญาดา้ นตา่ ง ๆ ของเรา เป็นตน้ หมายความว่า ส่ิงหรือเร่ืองราวตา่ ง ๆ ใน ชวี ิตของเรา เราจดบนั ทึกได้ทุกเรื่อง หากประชาชนทุกคนจดบันทกึ จะมปี ระโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชนและประเทศ จะเป็นแหล่งเรียนรู้ ครอบครัวเรยี นรู้ ชมุ ชนเรียนรู้ และประเทศเรียนรกู้ ารเรยี นรู้เปน็ ท่ีมาของปญั ญา ปัญญาเป็นที่มาของความเจรญิ ท้งั กาย สังคม ใจ และจิตวิญญาณของมนุษย์จะเห็นว่า การทำบญั ชี หรือการจดบันทึกน้สี ำคัญย่งิ ใหญม่ าก บคุ คลสำคญั ในประเทศหลายท่านเป็นตวั อย่างที่ดีของ การจดบนั ทึก เชน่ ทา่ นพทุ ธทาส ในหลวง และสมเดจ็ พระเทพ ล้วนเปน็ นักบันทึกท้งั ส้นิ การบันทกึ คือ การเขียน เม่ือมีการเขยี นย่อมมกี ารคดิ เมอื่ มกี ารคดิ ย่อมก่อปัญญา แก้ไขปญั หาไดโ้ ดยใชเ้ หตุผลวิเคราะห์ พจิ ารณา ได้ถกู ตอ้ ง นั่นคือ ทางเจรญิ ของมนษุ ย์ การทำบัญชีครวั เรอื นในดา้ นเศรษฐกจิ หรอื การบันทึกรายรับรายจา่ ยทีท่ างราชการพยายาม สง่ เสรมิ ให้ประชาชนได้ทำกนั นนั่ เป็นเรื่องการบันทึกรายรับรายจา่ ยประจำวนั ประจำเดือนว่า มีรายรับ จากแหล่งใดบ้าง จำนวนเท่าใด มีรายจา่ ยอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด ในแต่ละวนั สัปดาห์ เดอื น และ ปี เพ่ือ

11 จะได้เหน็ ภาพรวมวา่ ตนเองและครอบครวั มีรายรบั เทา่ ใด รายจา่ ยเท่าใด คงเหลือเท่าใด หรือ เงนิ ไม่ พอใช้เทา่ ใด คือ รายจา่ ยมากกว่ารายรบั และสำรวจว่ารายการใดจ่ายน้อยจ่ายมาก จำเป็นนอ้ ยจำเป็น มาก จำเป็นน้อย อาจลดลง จ่ายเฉพาะทจี่ ำเป็นมาก เชน่ ซื้อกบั ข้าว ซอ้ื ยา ซื้อเสอ้ื ผ้า ซ่อมแซมบา้ น การศกึ ษา เป็นต้น สว่ นรายจ่ายทีไ่ ม่จำเป็นให้ลด ละ เลิก เชน่ ซ้อื บุหร่ี ซ้ือเหลา้ เล่นการพนัน เปน็ ต้น เมื่อ นำรายรบั รายจ่าย มาบวกลบกนั แล้วขาดดลุ เกนิ ดุลไปเท่าใด เมื่อเห็นตวั เลข จะทำให้เราคดิ ไดว้ ่าส่ิงไม่ จำเป็นนั้นมมี ากหรือน้อยสามารถลดไดห้ รือไม่ เลิกได้ไหม ถา้ ไม่ลดไม่เลิกจะเกิดอะไร กับตัวเอง ครอบครัว ชมุ ชน และประเทศ หากเราวางแผนการรับการจ่ายเงินของตนเองได้ เท่ากบั ว่า รูจ้ ักความเป็น คนได้พฒั นาตนเอง ให้เป็นคนมีเหตมุ ผี ล เป็นคนรจู้ ักพอประมาณ เปน็ คนรกั ตนเอง รักครอบครัว รกั ชมุ ชน และรกั ประเทศชาตมิ ากขน้ึ จงึ เหน็ ไดว้ า่ การทำบัญชีครวั เรือน ในเรอื่ งรายรบั รายจ่าย กค็ ือวถิ ีแหง่ การเรยี นรเู้ พ่ือพฒั นาชวี ติ ตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง น่ันเอง เพราะปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คือ ปรัชญาชีวติ ที่ถกู ต้องเหมาะสม พอดี สอดคล้องถูกต้องตามกฎธรรมชาติทีม่ ีทั้งความเป็นเอกภาพและดุลย ภาพอย่เู สมอ การทำบัญชคี รวั เรอื นเป็นการจดบนั ทกึ รายรบั รายจา่ ยประจำวนั ของครวั เรือน และสามารถ นำข้อมูลมาวางแผนการใชจ้ ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ทำใหเ้ กดิ การออม การใช้จา่ ยเงินอย่าง ประหยดั คมุ้ ค่า ไม่ฟุ่มเฟือย ดังนน้ั การทำบัญชชี ีครวั เรือนมีความสำคญั ดังน้ี 1. ทำให้ตนเองและครอบครวั ทราบรายรับ รายจา่ ย หนส้ี นิ้ และเงนิ คงเหลือในแตล่ ะวัน 2. นำข้อมลู การใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมาจัดเรยี งลำดับความสำคัญของรายจา่ ย และ วางแผนการใช้จา่ ยเงนิ โดยพิจารณาแต่ละรายการในแต่ละวันมรี ายจ่ายใดท่ีมีความสำคัญมาก และ รายจ่ายใดไมจ่ ำเป็นให้ตัดออก เพ่ือให้การใช้จา่ ยเงินภายในครอบครวั มีพอใชแ้ ละเหลือเก็บเพื่อการออม ทรัพย์สำหรบั ใชจ้ ่ายสิง่ ท่ีจำเป็นในอนาคต บัญชคี รวั เรือนถือเป็นสว่ นสำคญั ในการปฏบิ ตั ิตามแนว เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยยึดหลัก 3 ข้อคือ การพอประมาณ ถา้ รูร้ ายรบั รายจ่าย ก็จะใช้แบบพอประมาณ แต่ มีเหตุผล รู้วา่ รายจ่ายใดจำเป็นไมจ่ ำเปน็ และเมื่อเหลอื จากใชจ้ ่ายกเ็ ก็บออม นัน่ คือภูมคิ มุ้ กัน ที่เอาไว้ คมุ้ กนั ตัวเราและครอบครวั บัญชีครวั เรือนสามารถจดั ไดห้ มด จงึ นบั ว่ามีประโยชน์มาก การวางแผนการใชจ้ า่ ยเงินใหเ้ หมาะสมระหวา่ งรายรบั และรายจา่ ย ครอบครวั ตอ้ งมีรายรบั มากกวา่ รายจ่าย หากพบวา่ รายรับนอ้ ยกว่ารายจา่ ย ต้องหาแนวทางนำเงินมาใช้จ่ายใหเ้ พยี งพอ โดยอาจ

12 ต้องกู้ยืมเงินมาใชจ้ า่ ย แต่การกู้ยมื เงนิ ไม่ใช่แนวทางแก้ไขปัญหาดงั กลา่ วได้ เพยี งแตช่ ่วยใหก้ ารใช้จ่ายมี สภาพคลอ่ งช่ัวขณะเท่านั้น และในระยะยาวยงั ส่งผลใหค้ รอบครัวมีภาระหนส้ี ินจำนวนมาทั้งเงินต้นและ ดอกเบ้ยี ซง่ึ จะเพมิ่ จำนวนมากขึน้ ตามระยะเวลาท่ียาวนานในการกยู้ ืมเงนิ เป็นปัญหาที่แก้ไขได้ยาก สำหรบั การแก้ไขปญั หาการขาดสภาพคล่องในการใชจ้ ่ายเงินหรอื ปญั หารายรบั ไมเ่ พยี งพอกบั รายจา่ ยนน้ั มี แนวทางดังน้ี 1. การตัดรายจา่ ยทไี่ ม่จำเป็นออก เพื่อลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัว เชน่ รายจา่ ยเกีย่ วกบั การพนัน สิ่งเสพตดิ ของมนึ เมา รายจา่ ยฟุ่มเฟือย เป็นต้น เป็นการสร้างนิสัยมใิ หใ้ ช้จ่าย ฟมุ่ เฟือย 2. การลดรายจ่ายทีจ่ ำเปน็ ลง เพื่อสร้างนิสัยการประหยดั อดออม การใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยู่ จำกัดอย่างค้มุ คา่ เชน่ การปลูกผกั ผลไม้ไวร้ บั ประทานเอง เพือ่ ชว่ ยลดคา่ อาหาร และคา่ เดินทางไปตลาด อีกท้ังทำให้สุขภาพดีอีกดว้ ย ลดการใช้น้ำมนั เชื้อเพลิงแลว้ หนั มาออกกำลงั กายโดยการป่ันจักรยาน หรอื การเดนิ การว่งิ แทนการขับรถจกั รยานยนต์ หรือรถยนต์ เป็นตน้ 3. การเพม่ิ รายรบั หารายไดเ้ สริมนอกเวลาทำงานปกติ เชน่ การใช้เวลาวา่ งรบั จา้ งตดั เยบ็ เส้ือผ้า การขายอาหารหลงั เลิกงาน การปลกู ผัก หรือเลีย้ งสัตวไ์ ว้ขาย เปน็ ต้น 4. การทำความเขา้ ใจกันภายในครอบครวั เพอื่ ใหท้ ุกคนรว่ มมือกนั ประหยัด ร้จู ักอดออม การใช้ทรัพยากรตา่ งๆ ลด ละ เลิก รายจา่ ยหรอื สิ่งท่ีไมจ่ ำเป็น และชว่ ยกนั สรา้ งรายรบั ให้เพยี งพอ เหมาะสมกับเศรษฐกิจปัจจุบัน แนวคดิ เกี่ยวกบั ปัจจัยแวดล้อม ความหมายของลกั ษณะสภาพแวดลอ้ ม Jones (อ้างถงึ ใน ชตุ มิ า มาลัย, 2538, หน้า 37) ให้ความหมายสภาพแวดล้อม หมายถึง ทุกสง่ิ ทุกอย่างรวมทงั้ หมดท่ีอยลู่ ้อมรอบปจั เจกบุคคลหรือกลุ่ม ได้แก่ สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ สังคมหรือ วฒั นธรรม ซ่งึ ตา่ งกม็ ีอทิ ธพิ ลและความรูส้ กึ นึกคิดของบคุ คลได้ทั้งสน้ิ สภาพแวดลอ้ มในการงาน หมายถงึ สิง่ ต่าง ๆ ท่ีอย่รู อบตัวผ้ทู ำงานในองค์การ เปน็ สง่ิ สะท้อนถึง ความรู้สกึ ของคนท่มี ตี ่องาน และผู้รว่ มงาน ถ้าทุกคนมีความรู้สึกทดี่ ีตอ่ งาน ทุ่มเทกำลงั ใจกำลังความคดิ

13 และกำลงั กายทำงานร่วมกันและช่วยกนั แกไ้ ขปญั หาในการทำงาน การทำงานกจ็ ะมีประสทิ ธภิ าพเพิ่มขนึ้ แต่ในทางตรงข้าม สภาพแวดลอ้ มในการทำงานอาจเป็นปัจจัยท่ี สง่ ผลใหเ้ กิดภาวะกดดนั และสง่ ผลให้เกดิ ความเหนอ่ื ยลา้ (ศิรอิ นันต์ จูฑะเตมีย์, 2529, หนา้ 53) สกุลนารี กาแกว้ (2546, หนา้ 20) ศกึ ษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน และสรุปความหมาย สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน หมายถึง ส่งิ ต่าง ๆ ที่อยู่ลอ้ มรอบคนทำงาน ในขณะที่ทำงานอาจเปน็ คน เช่น หัวหนา้ ผู้ควบคุมงานหรือเพือ่ นรว่ มงาน เปน็ สิง่ ของ เช่น เครื่องจักร เคร่ืองกล เครือ่ งมอื และอุปกรณ์ ต่าง ๆ เปน็ สารเคมี เป็นพลังงาน เช่น อากาศทหี่ ายใจ แสงสว่าง เสยี ง ความรอ้ น และเป็นเหตุปจั จยั ทาง จติ วทิ ยาสังคม เช่น ชวั่ โมงการทำงาน คา่ ตอบแทน สภาพแวดล้อมในการทำงาน หมายถงึ ทุกสิง่ ทุกอย่างท่ีอยรู่ อบตวั คนในขณะทำงานอาจเปน็ คน เครื่องจักร สารเคมี ฯลฯ (กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามยั , กองอาชวี อนามัย, 2536, หนา้ 32) สภาพแวดลอ้ มในการทำงาน หมายถงึ สงิ่ ต่าง ๆ ที่อยรู่ อบตัวทีเ่ อ้อื อำนวยให้คนทำงานได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ส่วนหนง่ึ ที่สำคัญ คอื สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ วัสดอุ ปุ กรณ์ในการปฏิบัตงิ าน สถานท่ที ำงาน แสง เสยี ง อณุ หภูมิ และสภาพแวดลอ้ มทางเศรษฐกิจและสงั คม ซ่ึงได้แก่ ความสมั พันธ์กับ ผบู้ งั คับบญั ชา การบังคบั บัญชา คา่ ตอบแทนสวัสดกิ าร และสภาพแวดล้อมอ่นื ๆ (เยาวลักษณ์ กลุ พานชิ , 2533, หน้า 16) ชลธิชา สวา่ งเนตร (2542, หน้า 27) สรุปความหมายของสภาพแวดล้อมในการทำงาน หมายถึง สิง่ ตา่ ง ๆ จะเป็นอะไรก็ได้ทั้งท่มี ชี วี ิต ไมม่ ีชีวิต มองเหน็ ได้หรือไมส่ ามารถมองเหน็ ไดท้ ี่อยรู่ อบตวั คนงาน ในขณะทำงาน และมผี ลต่อการทำงาน รวมทั้ง มีผลต่อคณุ ภาพชวี ติ ของคนงานด้วย Jone (อ้างถงึ ใน สกุลนารี กาแก้ว, 2546, หน้า 20) ได้ให้ความหมายไว้วา่ สภาพแวดลอ้ มในการ ทำงาน หมายถึง ปจั จัยและองคป์ ระกอบท่แี วดลอ้ มผู้ปฏิบตั งิ านในหน่วยงาน ซงึ่ มผี ลกระทบต่อบคุ คลใน หนว่ ยงาน ทง้ั ในดา้ นรา่ งกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม แบ่งออกเป็นสภาพแวดล้อมในการทำงานด้าน กายภาพ ดา้ นสงั คม และด้านจติ ใจ

14 รัตกมั พล พันธุ์เพ็ง (2547, หนา้ 12) สรปุ ความหมายของสภาพแวดล้อมในการทำงาน หมายถงึ ส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตวั เราทัง้ ที่มีชีวติ และไม่มชี วี ิต หรอื ท่สี ามารถจับต้องไดแ้ ละไมส่ ามารถจับต้องได้ ท้ังท่ี เป็นรปู ธรรมและทเี่ ป็นนามธรรม สภาพปจั จยั ต่าง ๆ ทสี่ ง่ ผลใหเ้ กิดภาวะกดดัน ซง่ึ มผี ลต่อผ้ปู ฏิบตั งิ าน ในขณะทที่ ำงาน ความหมายของการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม การจัดการสิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการกระจายทรัพยากรที่สำคัญ ท้ังทเี่ กดิ ข้นึ โดย ธรรมชาตแิ ละที่มนุษยส์ รา้ งข้ึน เพ่อื สนองความพอใจในการนำส่งิ แวดล้อมไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ในการเป็น ปจั จยั หลกั และปัจจัยรองในอนาคต (Jolly,อ้างถึงในเกษม จันทร์แก้ว,2525:202) การจัดการส่งิ แวดล้อม หมายถงึ กระบวนการใช้ส่งิ แวดล้อมอยา่ งมีประสิทธิภาพ และเป็นระบบ โดยการวางแผนดำเนินงาน ติดตามผลประเมนิ ผล และปรบั ปรุงแกไ้ ขพัฒนาให้ดีขนึ้ ท้ังน้ีตอ้ งคำนึงถึงการ ใชอ้ ย่างประหยัดให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ ใชใ้ หไ้ ด้ยง่ั ยืนยาวนานตลอดไป และเอื้ออำนวยประโยชน์และ ธรรมชาตใิ หม้ ากท่ีสุด (วิลยั วีระวฒั นานนท,์ 2540:185) การจดั การสิ่งแวดล้อม หมายถึง กระบวนการแผ่กระจายทรพั ยากรที่สำคญั ทั้งที่เกิดโดย ธรรมชาตแิ ละมนษุ ย์สร้างขึน้ เพ่อื สนองความพอใจในการนำไปใชอ้ ยา่ งเหมาะสม ทงั้ นี้ต้องเปน็ การ ดำเนินการอย่างมรี ะบบในการนำทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชเ้ พ่ือสนองความต้องการของมนษุ ย์ โดยไม่มี ผลกระทบต่อระบบส่งิ แวดล้อม เพื่อจะมีทรพั ยากรใชไ้ ด้ตลอดไป สาระสำคญั ของการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม 1. การจดั การส่ิงแวดลอ้ มเป็นการนำทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชต้ อบสนองความต้องการของ มนุษย์ 2. การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ต้องมกี ารวางแผนการใชท้ ่ดี แี ละเหมาะสม 3. การนำทรัพยากรธรรมชาติมาใชต้ ้องมผี ลกระทบต่อมนุษย์ท้งั ทางตรงและทางอ้อมน้อยที่สดุ 4. การนำทรัพยากรธรรมชาตมิ าใชต้ ้องยึดหลักการอนุรกั ษ์เสมอ ความสำคัญของการจัดการสิ่งแวดลอ้ ม ผลทไ่ี ดจ้ ากการวิเคราะห์ระบบและการประเมนิ ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ มมาเปน็ แนวทางวาง แผนการจัดการสง่ิ แวดล้อม โดยสามารถพยากรณ์สภาพปัญหา และวางแผนแก้ไขปญั หาก่อนการลงมือ

15 ปฏบิ ตั ดิ ำเนินโครงการพัฒนา หรอื เตรยี มแผนไว้ใชร้ ะหว่างและหลงั การดำเนินโครงการเพ่ือพฒั นาระบบ โดยไม่สร้างปญั หาสง่ิ แวดล้อมหรือให้เกิดปัญหานอ้ ยทีส่ ุด ท้ังน้ีสามารถคาดคะเนทางเศรษฐกจิ ควบคู่ไปกับ ตน้ ทุนทางสิ่งแวดล้อมไปด้วย แนวคิดเก่ยี วกับพฤติกรรมการใช้จา่ ย ความหมายพฤติกรรม อทุ ัย หริ ัญโต (2556) ไดใ้ ห้ความหมายของพฤติกรรม หมายถึง กิรยิ า อาการหรือปฏกิ ิริยาท่ี แสดงออกหรือเกิดข้นึ เมื่อเผชญิ กับสิง่ เร้า ซง่ึ จะมาจากภายในร่างกายหรือภายนอกรา่ งกายกไ็ ดแ้ ละ ปฏิกริ ยิ าทแี่ สดงออกนี้มิไดเ้ ป็นพฤติกรรมทางกายเท่านน้ั แตร่ วมถึงพฤตกิ รรมทีเ่ กี่ยวกบั จิตใจด้วย คำวา่ Behavior ใชแ้ ทนกนั ได้กบั คำวา่ Action นักจติ วิทยาถอื วา่ การเคลอ่ื นไหวของอนิ ทรีย์ทกุ ชนดิ ท่ปี รากฏ ออกมาเปน็ พฤติกรรมต้องมี หรือกลา่ วอีกนัยหนึ่งพฤติกรรมจะเกิดข้นึ ไดต้ อ้ งมีมูลเหตุอย่างใดอยา่ งหนึง่ เฉลิมพล ตันสกลุ (2541) อ้างถงึ ใน บุษรา เกษสี ม (2552) ว่า พฤติกรรม หมายถึงการแสดงออก ในลกั ษณะต่างๆ ของส่งิ มีชีวติ ซึ่งอาจจะเกิดข้นึ ได้ ท้ังมนษุ ย์สัตว์ พืช และจุลินทรียซ์ ่ึงเป็นการตอบสนอง สิง่ เร้าทเี่ กดิ ข้นึ ภายในร่างกายหรือภายนอกร่างกาย พฤติกรรมนี้ สามารถสังเกตได้โดยตรงหรือใช้ เครื่องมอื วดั ได้ หรืออาจสังเกตได้ ในทางอ้อม เชน่ การพูด การเคล่อื นไหวการทำงานของระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย การจำ การคิด ตลอดจนความรู้สกึ และทัศนคติ พฤติกรรม หมายถึง กริ ิยาอาการตา่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขึ้นกับมนุษย์ได้แสดง หรือปฏิกิรยิ าที่เกิดขึ้นกับ มนษุ ยเ์ มื่อไดเ้ ผชิญกับสง่ิ เร้า พฤติกรรมต่าง ๆ ท่ีกล่าวมาแลว้ อาจจะจำแนกได้เป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. พฤตกิ รรมท่ไี มส่ ามารถควบคมุ ได้เรียกว่า เปน็ ปฏิกริ ิยาสะท้อน เชน่ การสะดงุ้ เม่ือถูกเข็มแทง การกระพริบตา เม่ือมสี ิ่งมากระทบกับสายตา 2. พฤติกรรมทสี่ ามารถควบคุมและจัดระเบียบได้ เนือ่ งจากมนุษย์มสี ตปิ ญั ญา และอารณ์ (Emotion) เม่ือมสี ิ่งเรา้ มากระทบสติปญั ญาหรืออารมณ์ จะเปน็ ตวั ตดั สินว่า ควรจะปลอ่ ยกิริยาใดออกไป ถา้ สตปิ ัญญาควบคุมการปล่อยปฏิกิริยา เราเรียกวา่ การกระทำตามความคดิ หรอื ทำดว้ ยสมอง แต่อารมณ์ ควบคมุ เรียกวา่ เป็นการทำตามอารมณ์ หรือปล่อยตามใจ นักจติ วิทยาส่วนใหญ่เชอ่ื ว่า อารมณม์ ีอทิ ธพิ ล หรอื พลังมากกวา่ สิติปัญญา ท้ังนเี้ พราะมนษุ ย์ทกุ คนยงั มีความโลภ ความโกรธ ความหลง ทำให้พฤตกิ รรม

16 ส่วนใหญ่เป็นไปตามความรู้สึกและอารมณเ์ ป็นพืน้ ฐาน รูปแบบพฤติกรรมแบ่งได้ 2 อย่าง คือ 1. พฤติกรรมเปิดเผยหรอื พฤตกิ รรมภายนอก (Overt Behavior) เป็นพฤตกิ รรมทีบ่ ุคคลแสดง ออกมา ทำใหผ้ ้อู นื่ สามารถมองเห็นได้ สังเกตได้ เช่น การเดิน การหวั เราะ การพูด 2. พฤตกิ รรมปกปิดหรือพฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) เป็นพฤติกรรมที่บคุ คลแสดงแลว้ แต่ผูอ้ ่ืนไม่สามารถมองเห็นได้ สังเกตได้โดยตรงจนกว่าบคุ คลน้นั จะเป็นผูบ้ อกหรือแสดงบางอยา่ งเพื่อให้ คนอ่ืนรบั รูไ้ ด้ เชน่ ความคิด อารมณ์ การรบั รู้ พฤติกรรมมนุษย์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. พฤติกรรมทีม่ ีมาแต่กำเนิด ซงึ่ เกิดขน้ึ โดยไม่มีการเรยี นรู้มาก่อน ไดแ้ ก่ ปฏิกิริยาสะทอ้ นกลับ (Reflect Action) เชน่ การกระพริบตา และสญั ชาตญาณ (Instinct) เชน่ ความกลวั การเอาตวั รอดเป็นต้น 2. พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากอิทธพิ ลของกลุ่ม ได้แก่ พฤติกรรมทีเ่ กดิ จากการ ทบ่ี ุคคลติดต่อสงั สรรค์ และมคี วามสมั พันธ์กับบคุ คลอน่ื ในสงั คม ดงั นนั้ การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมของมนุษยใ์ ห้เหมาะสมกับสิง่ แวดลอ้ มแบง่ ออกได้เป็น 4 ลักษณะคือ 1. การปรับเปลย่ี นทางด้านของสรีระร่างกาย เช่น การปรับปรุงบคุ ลิกภาพ การแต่งกาย การพูด 2. การปรบั เปลยี่ นทางดา้ นอารมณ์และความรสู้ ึกนึกคิด ใหม้ ีความสัมพันธภาพท่ีดีกับบุคคลอ่ืน ปรับอารมณ์ความร้สู ึก ให้สอดคล้องกบั บุคคอ่ืน รจู้ กั การยอมรับผดิ 3. การปรบั เปลีย่ นทางดา้ นสติปัญญา เช่น การศึกษาค้นควา้ เพอ่ื ให้มีความรู้ท่ีทนั สมยั ทัน เหตุการณ์ การมคี วามคดิ เหน็ คลอ้ ยตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ 4. การปรับเปล่ยี นอุดมคติ หมายถงึ การสามารถปรับเปลี่ยนหลักการ แนวทางบางสว่ นบางตอน เพ่อื ให้เขา้ กับสังคมส่วนใหญ่ได้ โดยพจิ ารณาจากความจำเป็น และเหตกุ ารณท์ ่ีเกดิ ข้ึน เพือ่ ให้บรรลุ เปา้ หมาย เปน็ ประโยชนแ์ กต่ นเอง เพ่ือสวสั ดภิ าพของตนเองและของกลมุ่

17 งานวิจยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง สายสมร สังข์เมฆ (2558) เป็นการศึกษาเร่ืองการจัดทำบญั ชคี รัวเรอื นของประชาชนในชุมชน เกาะยาวใหญ่ จงั หวดั พังงา ผลการศกึ ษาพบวา่ การวิจัยคร้ังนม้ี ีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษาการจดั ทำบัญชี ครัวเรือนของประชาชนในชมุ ชนเกาะยาวใหญ่ จังหวัดพังงา และเพื่อเปรียบเทยี บการจดั ทำบัญชีครัวเรือน ของประชาชนในชมุ ชนเกาะยาวใหญ่ จงั หวัดพังงา จำแนกตามข้อมูลสว่ นบคุ คล จำแนกตามระดบั การศกึ ษาและรายได้รวมของครัวเรือน เฉล่ยี ต่อเดอื นของประชาชนในชุมชนเกาะยาวใหญจ่ ังหวดั พังงา กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 136 ครวั เรอื น ใชก้ ารสมุ่ ที่มคี วามน่าจะเป็น (Probability Sampling) โดยใชก้ ารสุ่มแบบงา่ ย (Simple random sampling) เครื่องมือทใ่ี ช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลคอื แบบสอบถาม สถติ ิทีใ่ ช้ในการวิเคราะห์ ขอ้ มลู ไดแ้ ก่การแจกแจงความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทแี ละการ วิเคราะหค์ วามแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตวั อยา่ งส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง ซง่ึ สว่ นใหญ่มอี ายุอยรู่ ะหว่าง 41 - 45 ปี จบ การศึกษาระดับช้ันประถมศึกษา อาชีพเกษตรกร มีรายได้รวมของครัวเรือนเฉลย่ี ต่อเดือน 20,001 - 30,000 บาท และมีจำนวนสมาชิกในครัวเรือน 3 - 6 คน การจดั ทำบัญชีครวั เรือนของประชาชนใน ชุมชนเกาะยาวใหญ่ จงั หวัดพังงา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดบั ดังนี้ ด้านการสง่ เสรมิ จาก หนว่ ยงานภาครฐั ด้านการสนบั สนุนจากสถาบนั การศกึ ษาในชุมชน ด้านบคุ คล และด้านสภาพ เศรษฐกจิ ของครวั เรอื น จากการทดสอบสมมติฐานการวจิ ยั พบว่า ระดบั การศกึ ษาและรายได้รวมของครวั เรือน เฉล่ยี ตอ่ เดือนไม่ส่งผลต่อการจดั ทำบญั ชคี รวั เรอื นของประชาชนในชมุ ชนเกาะยาวใหญ่ จงั หวดั พังงา คำสำคญั : ครัวเรอื น การจดั ทำบญั ชคี รัวเรือน สภุ าวดี รตั นวิเศษและคณะ (2555) เป็นการศึกษาเรื่องโครงการคนรุ่นใหม่ใสใ่ จบญั ชคี รวั เรอื น ผลการศกึ ษาพบวา่ ในการวิจยั คร้ังน้ีมวี ตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย คอื วัตถปุ ระสงค์เพื่อเผยแพรค่ วามรู้ใน การจดั ทำบญั ชีครวั เรือน อนั จะเป็นผลใหม้ กี ารจัดทำบญั ชีครัวเรอื นมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจบุ นั การบญั ชี ครัวเรือนวธิ ีการวิจยั เปน็ การวจิ ยั เพ่ือพฒั นาการเรียนการสอน ปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรียนท่ไี ดป้ ระยุกต์ใช้แบบ แผนการวิจัยเชงิ ทดลองเบ้ืองต้น แบบท่ีมีกลุ่มตัวอย่างกลุม่ เดยี ว และมีการทดสอบกอ่ นและหลงั การ ทดสอบ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่างการวิจยั งานคร้งั นศี้ ึกษาจากกลุม่ ตวั อย่าง คือ ชาวบ้านร้จู กั บนั ทกึ การ

18 ใช้เงินเพือ่ ทำบัญชคี รวั เรือนท่ีหมบู่ า้ นหนองหวั ฟาน ตำบลหนองหวั ฟาน อำเภอขามสะแกแสง จงั หวัด นครราชสมี า จำนวน 60 คน ไดแ้ ก่ แบบเข้ารว่ มโครงการคนรุ่นใหมใ่ สใ่ จบัฐชคี รวั เรอื น และแบบประเมิน ความพึงพอใจของการจดั โครงการคนรุ่นใหมใ่ สใ่ จบญั ชคี รัวเรือน ประเมนิ จากสมุดบันทึกรายรับ - รายจ่าย ในการจดบันทึกในสมดุ ครัวเรอื นเปน็ รายสปั ดาห์แจกแบบสอบถามให้กบั ชาวบา้ นและสัมภาษณ์ จากชาวบ้านวา่ พงึ พอใจมากน้อยเพยี งใด เพ่ือประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ความพงึ พอใจมากนอ้ ยเพียงใด เพอื่ ประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน ความพึงพอใจโครงการคนรุ่นใหมใ่ สใ่ จบัญชคี รัวเรอื น โดยภาพรวมอยูใ่ น ระดับมาก ( x = 4.446, S.D. = 0.81 ) และเม่ือพจิ ารณาเปน็ รายข้อ พบว่า มคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก 14 ข้อ สำหรบั ข้อท่ีมีค่าเฉลย่ี สงู สุดไดแ้ ก่ สามารถนำมาใช้ประโยชนใ์ นการลงบญั ชรี ายรบั – รายจา่ ย ในครวั เรอื น ( x = 4.54, S.D. = 0.98 ) รองลงมาได้แก่ การใหบ้ ริการของนกั ศึกษาช่วยในการนำไป ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ( x = 4.54, S.D. = 0.96 ) ส่วนข้อท่ีมีค่าเฉล่ียต่ำทส่ี ุด ได้แก่ มกี ารจัดเตรยี ม อปุ กรณ์และความพร้อมและความตรงต่อเวลาทจี่ ะให้บริการ ( x = 4.40, S.D. = 0.70 ) คำสำคัญ : การ บญั ชี,การทำบัญชี,การบญั ชีครัวเรือน,การจดั ทำบญั ชีครัวเรือน ศิรประภา นว่ มทิม (2558) เป็นการศกึ ษาเร่ืองโครงการบัญชคี รัวเรือน ผลการศึกษาพบว่า โครงการบญั ชคี รวั เรือน เรื่อง การจดั ทำบญั ชีรายรับ-รายจ่าย มวี ัตถปุ ระสงค์คือ เพ่ือศึกษาและวาง แผนการทำบัญชีครวั เรือนเพ่ือใหร้ วู้ า่ มีรายรับเท่าใด รายจ่ายเทา่ ใด รวมถึงการพจิ ารณาวา่ ควรลด ค่าใชจ้ า่ ยในส่วนไหนบ้างท่ีไม่จำเปน็ ของครอบครัวตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และเพ่ือ ส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การออมแกต่ นเองและครอบครัว ซึ่งผลปรากฎวา่ การนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง พระเจ้าอยหู่ ัวไปเป็นหลักปฎิบตั ิในการดำรงชีวติ โดยการหักเงินท่ีได้รับจากการประกอบอาชพี มาเก็บออม ไว้ส่วนหนง่ึ และสว่ นท่เี หลือจึงนำไปใช้จ่าย การวางแผนนำขอ้ มูลการใชจ้ า่ ยเงนิ ภายในครอบครัวมาจดั เรียงลำดับความสำคญั มากและรายจ่ายใดท่ีไมจ่ ำเปน็ ให้ตัดออก เพื่อให้การใช้จ่ายเงินภายในครอบครวั มี พอใช้และเหลอื เก็บเพิ้อการออมทรัพยสำหรบั ใช้จ่ายทจี่ ำเป็นในอนาคต โดยยดึ หลกั 3 ข้อคือ 1) การ พอประมาณ ถา้ รรู้ ายรบั รายจ่าย กจ็ ะใช้แบบพอประมาณ แตม่ เี หตุผล รู้วา่ รายจา่ ใดจำเป็นไมจ่ ำเปน็ และ เม่อื เหลอื จากใชจ้ ่ายก็เกบ็ ออม นนั่ คือภูมิค้มุ กันที่เอาไว้กนั ตัวเราและครอบครัว 2) การมีเหตผุ ล วเิ คราะห์ วา่ รายจา่ ยรายการใดท่ีมีความจำเป็นและรายการใดไม่มีความจำเป็น หาแนวทางการลดรายจ่าย 3) มี ภูมิคุ้มกันในตวั ทดี่ ี รายการใดทเ่ี หลอื ใช้ ใหเ้ กบ็ ออมไว้โดยการหาแหลร่ ับฝากเงนิ ทใี่ ห้อัตราดอกเบ้ียดี

19 ทง้ั นีต้ นและครอบครวั หลงั จากทำบญั ชีครัวเรือนต้งั แตเ่ ดือนตลุ าคม 2558 – ปัจจุบนั ตามหลัก เศรษฐกจิ พอเพยี งแลว้ ส่งผลทำใหม้ ีเงินออมเปน็ เงนิ ฝากธนาคารสำหรับไวใ้ ช้จา่ ยจำเปน็ อย่างพอเพียง มี การใชจ้ า่ ยในสงิ่ ที่จำเปน็ การทำบัญชีรายรบั -รายจ่าย จะทำให้เราทราบถึงค่าใช้จ่ายท่ีไม่จำเป็นแลว้ สามารถหาสงิ่ อ่ืน ๆ ทดแทนที่ต้นทนุ ต่ำกวา่ แต่มปี ระสิทธภิ าพใกล้เคยี งกนั ทุกคนทกุ ครัวเรอื นสามารถ นำไปปฏบิ ัตใิ ชไ้ ด้ สำหรบั การออมเงินเหลือจากการใช้จ่ายแลว้ ถ้าปฏบิ ัตอิ ยา่ งต่อเนื่อง จะทำใหม้ เี งนิ ออมไวใ้ ชใ้ น ยามจำเป็นได้อย่างดี ทำให้หา่ งไกลจากความยากจนได้ นอกจากนผ้ี ูส้ นใจไม่ว่าจะเปน็ ผู้ประกอบอาชีพใดก็ ตาม กส็ ามารถนำส่งิ ที่ได้จากโครงการน้ีไปพฒั นาหรือประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวันได้และสามารถนำ ความรู้ทางบญั ชีไปปรบั ใช้และวางแผนในการใช้ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ย่างดี ภาวนยี ์ ธนาอนวชั (2556) งานวิจัยบัญชีครัวเรือนตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อชีวติ เพยี งพอ ผลการศึกษาพบว่า การวจิ ัยคร้ังนี้มวี ัตถปุ ระสงค์ประสงคเ์ พือ่ ให้ทราบถึงความรู้ ทศั นคติท่ีมตี ่อ การจัดทำบญั ชคี รวั เรือน ตามหลักการปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะในการ จัดทำบัญชีครวั เรอื น เพ่ือเป็นแนวทางให้กับหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง ในการเสริมสรา้ งศักยภาพให้ประชาชน มอี งคค์ วามรดู้ า้ นการจัดทำบัญชคี รัวเรอื น เพ่ือเป็นฐานในการพัฒนาเศรษฐกจิ ชมุ ชนอย่างยัง่ ยนื กลมุ่ ตัวอย่างทใี่ ชใ้ นการศึกษาคร้ังน้ีเปน็ ผู้ใหญบ่ า้ นและหวั หน้าครวั เรอื น ตำบลสามบัณทติ อำเภออุทัย จงั หวัดพระนครศรอี ยุธยา ผูว้ จิ ยั ส่มุ ตวั อย่างโดยใชว้ ิธีการจับฉลากเลอื กมา 5 หมูบ่ ้ายน และ กำหนดขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ งโดยใชส้ ตู ร Yamane ทร่ี ะดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้กล่มุ ตวั อย่างท่ีเปน็ ผูใ้ หญบ่ ้าน 5 หมบู่ ้านและกลุ่มตวั อยา่ งหัวหนา้ ครวั เรอื นจำนวน 100 ครัวเรอื นและการสุ่มตัวอยา่ งแบบ งา่ ย (Simple Random Sampling) ในการเลอื กตัวอยา่ งเพอ่ื ใช้ในการเกบ็ ข้อมลู เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการวจิ ัยเป็นแบบสัมภาษณแ์ บบมโี ครงสร้างและแบบสอบถามในการเกบ็ รวบรวม ข้อมลู มีการตรวจสอบคณุ ภาพของเคร่ืองมือวจิ ัยโดยผเู้ ชย่ี วชาญ เพอื่ หาความ เทยี่ งตรงตามเนอ้ื หา (Content Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) จากน้ันนำข้อมลู ท่ี รวบรวมได้ มาวเิ คราะห์และ ประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพ่ือการวจิ ยั ทาง สังคมศาสตร์ คำสำคญั : เศรษฐกิจพอเพยี ง ,บญั ชคี รวั เรอื น,ความรู้,ทศั นคติ,ประชากร

20 ปาริชาต โยตะสิงห์และคณะ (2563) ศกี ษาเรอ่ื งการศึกษาพฤติกรรมและสภาพปญั หาการจดั ทำ บญั ชคี รวั เรือนตามแนวคดิ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง กรณศี ึกษา ชมุ ชนบ้านเก่าน้อย ตำบลพระธาตุ บังพวน อำเภอเมอื ง จังหวัดหนองคาย ผลการวิจยั พบวา่ การศกึ ษาพฤตกิ รรมและสภาพปญั หาการจดั ทำ บญั ชีครัวเรอื นตามแนวคิดหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพยี งกรณศี กึ ษา ชมุ ชนบ้านเกา่ น้อย ตำบลพระธาตุ บังพวน อำเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย มวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ 1) ศกึ ษาพฤติกรรมการจดั ทำบญั ชีครวั เรอื น ของชุมชนบา้ นเก่านอ้ ย ตำบลพระธาตุบงั พวน อำเภอเมืองหนองคาย จังหวดั หนองคาย 2) ศึกษาสภาพ ปญั หาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการจัดทำบญั ชตี ามครัวเรอื นของชมุ ชนบ้านเก่าน้อย ตำบลพระธาตุบัง พวน อำเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย 3) ศึกษาหาความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมกบั สภาพ ปัญหาในการจัดทำบัญชีตามครัวเรอื น ตามแนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งของชมุ ชนบ้านเก่านอ้ ย ตำบลพระธาตุบังพวน อำเภอเมอื งหนองคาย จังหวัดหนองคาย กล่มุ ตวั อย่างที่ใช้ในการศึกษาคอื เกษตรกรในชุมชนบา้ นเก่าน้อย หม่ทู ่ี 4 ตำบลพระธาตุบังพวน อำเภอเมือง จงั หวัดหนองคาย ท่ีมกี าร จดั ทำบัญชีครัวเรอื นจำนวน 74 คน เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูลคือ แบบสอบถามแบบมี โครงสร้าง สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ ได้แก่ คา่ สถิติความถ่ี (Frequency) รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลย่ี (Mean) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) สถิติที่ใชท้ ดสอบ ได้แก่ T-Test และ Chi Square ผลการศกึ ษาวจิ ยั พบวา่ ประชากรสว่ นใหญ่เป็นเพศหญงิ มีอายุ 41 – 50 ปี ประกอบอาชีพ เกษตรกรจบการศึกษาระดับประถมศกึ ษา สถานภาพสมรส มจี ำนวนสมาชิกในครัวเรือนอยู่ในชว่ ง 4 - 6 คน มรี ายไดเ้ ฉลย่ี ตอ่ เดือน 4,001 - 10,000 บาท รจู้ ัก “บัญชีครวั เรอื น” จากผ้นู ำชุมชน/ตัวแทนชมุ ชน วตั ถุประสงคใ์ นการจดั ทำบัญชีครวั เรอื นเพ่ือทราบ รายรบั - รายจ่ายของครอบครวั เร่มิ ทำบญั ชคี รัวเรอื น ในช่วง 1 – 3 เดือน ลกั ษณะการบันทึกรายรับ - รายจ่ายบัญชคี รัวเรือนเป็นรายวนั ทกุ รายการอย่าง ละเอยี ดมากทีส่ ุด ปจั จัยต่างๆ ทส่ี ่งผลใหป้ ระชาชน สว่ นใหญ่ประสบปญั หาในการจดั ทำบญั ชีครวั เรอื น ได้แก่ มภี ารกจิ ทตี่ ้องรบั ผิดชอบมาก ไมม่ กี ารบนั ทกึ บัญชคี รวั เรอื นอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ขาด ประสบการณ์ในการทำบัญชคี รวั เรอื น การจัดทำบัญชี ครัวเรือนมีความยุ่งยากและทำใหเ้ สยี เวลา ไม่ สามารถจดจำรายการรายรบั -รายจ่ายทีเ่ กิดขึ้นในแตล่ ะวันได้ ขาดความรู้ความเข้าใจ ขาดแหล่งขอ้ มูลใน การศกึ ษาเพ่ิมเตมิ และเจา้ หน้าทไ่ี ม่มีการติดตามผลบันทึกบัญชี ครัวเรอื น สง่ ผลให้ตัวแทนกลุม่ เกษตรกร

21 ส่วนใหญ่ขาดการบนั ทึกบญั ชีครัวเรืองอย่างตอ่ เน่อื งและสม่ำเสมอ การวิเคราะหค์ วามสมั พนั ธ์พบวา่ อายุ รายจา่ ยของผู้บันทึกบัญชีครัวเรอื นมผี ลต่อปจั จยั ในและปัจจัย ภายนอกในการจดั ทำบญั ชีครัวเรอื น รายได้ ของผู้จดบนั ทึกบญั ชีครัวเรือนไมม่ ผี ลต่อปจั จัยภายใน ในการ จดั ทำบัญชีครัวเรือนแต่มีผลต่อปัจจัย ภายนอกในการจัดทำบัญชคี รัวเรือน ส่วนเพศของผู้บันทึกบัญชีครวั เรอื น มผี ลต่อปัจจยั ภายนอก ในการ จัดทำบญั ชีครัวเรือน ไมม่ ีผลต่อปัจจัยภายใน ในการจดั ทำบัญชีครวั เรือน ข้อเสนอแนะที่ไดจ้ ากงานวิจัย หน่วยงานภาครฐั หรอื หน่วยงานต่าง ๆ ที่เก่ยี วข้อง ควรมีการจดั อบรมสัมมนาเพ่ือให้ความรเู้ กี่ยวกบั การ จดั ทำบัญชคี รวั เรือน มีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องเพือ่ ให้การจัดทำบญั ชีครวั เรอื นสมั ฤทธิ์ผล รวมทัง้ ควรมกี ารสอนและฝึกการทำบญั ชคี รวั เรือนสำหรับเยาวชน เพ่ิมเตมิ เพ่อื ช่วยบนั ทึกบัญชีใน ครวั เรือนท่ีผู้ปกครองไม่รหู้ นังสอื อีกท้ังยังเปน็ การปลูกฝง่ั อุปนิสัยในการใชจ้ ่ายและความมวี ินัยทางการเงิน แก่เยาวชนอีกดว้ ย ข้อเสนอแนะการทำวจิ ยั ครงั้ ต่อไป ควรมกี ารศึกษา ประเด็นปจั จยั ท่ีมีผลตอ่ เกษตรกรท่ี ยังไม่ไดเ้ ข้ารับการอบรมว่าปจั จยั ใดมีผลตอ่ การจัดทำบญั ชีครวั เรือน สำหรบั ผทู้ ่ีไมเ่ คยเข้ารบั การอบรม บัญชีครัวเรอื นมาก่อนซ่ึงข้อมูลดงั กล่าวยอ่ มเปน็ ผลดีต่อโครงการจัดทำบัญชีครวั เรือนของหน่วยงานตา่ ง ๆ ในอนาคตท่อี าจจะเกดิ ขน้ึ ซ่ึงจะช่วยแกป้ ัญหาการไม่จัดทำบัญชี ครวั เรอื นในภาคประชาชนตอ่ ไป

บทท่ี 3 วิธกี ารดำเนินงาน การโครงการการบญั ชีครวั เรือน ชุมชนบา้ นคลองมือไทร เพื่อให้ครอบครวั ในชมุ ชนบา้ นคลองมือ ไทร มกี ารจัดทำบัญชีครวั เรือน สง่ เสรมิ การวางแผนค่าใช้จ่ายของครัวเรอื น และบรหิ ารรายจา่ ยไมจ่ ำเป็น ให้ลดลง ในครั้งน้ี ผู้ศกึ ษาได้ดำเนินงานตามลำดบั ขน้ั ตอนดังตอ่ ไปนี้ 1. ประชากรกล่มุ ตวั อยา่ ง 2. เคร่ืองมือที่ใชก้ ารศึกษา 3. ขนั้ ตอนในการสรา้ งเครื่องมือ 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5. วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูลและสถติ ิทใี่ ชใ้ นการศึกษา 1. ประชากรกลมุ่ ตัวอยา่ ง กลุม่ ตวั อยา่ งท่ใี ช้ในการศึกษาครงั้ นี้ ไดแ้ ก่ ครัวเรอื นในชมุ ชนบ้านคลองมือไทร 23 หมู่ 1 ตำบล ธาตทุ อง อำเภอบ่อทอง จังหวดั ชลบุรี 20270 จำนวน 10 ครัวเรือน ซง่ึ ได้มาจากการเลอื กแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 2. เครอื่ งมือท่ใี ชก้ ารศกึ ษา เคร่ืองมือที่ใช้ในการศึกษาคร้งั น้ี เปน็ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณ (Rating Scale) แบบสอบถามคำปลายเปิด (Open Ended Questionnaire) และแบบสอบถาม ปลายปิด (Close Ended Questionnaire) จำนวน 4 ตอน มีรายละเอยี ดดังนี้ ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของครัวเรือน ตอนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกับครวั เรอื น ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผรู้ ว่ มโครงการ ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะและความคิดเห็น

23 3. ขั้นตอนในการสรา้ งเคร่ืองมือ เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการสอบความคดิ เห็น แบ่งออกเป็น 2 สว่ น ดงั นี้ 1. การศกึ ษาข้อมลู พ้ืนฐานท่ัวไป 2. การศกึ ษาระดับความม่นั ใจของผู้เรยี นเก่ียวกบั จิตพสิ ยั ความรู้ หรือทักษะความสามารถ เปน็ ไปตามจุดประสงค์การเรียนรใู้ นการเรียนรู้ ผู้วจิ ยั ใช้แบบสอบถามตามข้ันตอนดังนี้ 2.1 กำหนดขอบเขตของแบบสอบถาม โดยใชว้ ตั ถุประสงค์ของการวจิ ัยเป็นหลักการต้ัง คำถามจะมงุ่ มนั่ ให้ไดค้ ำตอบท่สี ามารถบรรลุเป้าหมายตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั โดยแบ่งรายละเอยี ด ออกเปน็ 4 ตอน คือ ตอนท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของครวั เรอื น เพศ อายุ อาชพี รายได้ตอ่ เดือน ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกยี่ วกับกจิ การ (เป็นคำถามปลายปิด) ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเกยี่ วกับข้อมูลความพึงพอใจของกจิ การทม่ี ตี ่อโครงการนี้ ลกั ษณะเปน็ แบบมาตรสว่ นประมาณค่า 5 ระดับ ระดับ 5 หมายถงึ มีความพึงพอใจมากทส่ี ดุ ระดับ 4 หมายถึง มีความพึงพอใจมาก ระดบั 3 หมายถึง มีความพึงพอใจปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง มีความพึงพอใจนอ้ ย ระดับ 1 หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อยที่สดุ

24 โดยกำหนดเกณฑก์ ารแปลความหมายข้อมูลทเี่ ป็นค่าเฉลีย่ ตา่ ง ๆ คอื ค่าเฉล่ียระหวา่ ง ความหมาย 4.51 – 5.00 ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทส่ี ุด 3.51 – 4.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดบั มาก 2.51 – 3.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดบั ปานกลาง 1.51 – 2.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดับน้อย 1.00 – 1.50 ความพึงพอใจอยู่ในระดบั น้อยท่ีสุด ตอนที่ 4 เปน็ แนวคำถามปลายเปดิ สำหรบั ผตู้ อบแบบสอบถามแสดงความคิดเหน็ เพิม่ เติมและให้ข้อเสนอแนะต่าง ๆ 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล คณะผู้จดั ทำได้ดำเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามลำดับขั้นตอน ดังนี้ 4.1 ดำเนนิ การแจกแบบสอบถามให้กลุม่ เปา้ หมาย 4.2 เกบ็ รวบรวมแบบสอบถาม ขอ้ มลู เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง เพื่อนำข้อมูลทีไ่ ด้ไปวิเคราะหต์ ่อไป 5. วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมูลและสถติ ิทใ่ี ช้ในการศกึ ษา ในการทำโครงการครั้งน้ผี จู้ ัดทำได้ใช้วธิ ีการวเิ คราะหโ์ ดยวิธี สถิติทใ่ี ช้รอ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.) โดยรวบรวมขอ้ มลู การหาคา่ สถิติพ้ืนฐาน คือ ร้อยละ คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานของคะแนนท่ีได้โดยใชส้ ตู รดงั น้ี 5.1.1 คา่ รอ้ ยละ ������ = ������×100 ������ เม่อื P แทน ร้อยละ F แทน ความถีท่ ่ีต้องการแปลคา่ ให้เป็นรอ้ ยละ n แทน จำนวนถวามถี่ทั้งหมด

25 5.1.2 คา่ เฉล่ยี ������̅ = ������������ ������ เมอ่ื ������̅ แทน คา่ เฉลยี่ ������������ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกล่มุ ������ แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่ 5.1.3 สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ������������������2 − (������������)2 ������. ������. = √ ������(������ − 1) เมื่อ ������. ������. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ������������ แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ������ แทน จำนวนคะแนนในกล่มุ

บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ การโครงการการบัญชีครวั เรือน ชุมชนบา้ นคลองมือไทร เพื่อให้ครอบครัวในชุมชนบ้านคลองมือ ไทร มีการจดั ทำบัญชีครวั เรือน สง่ เสรมิ การวางแผนคา่ ใช้จ่ายของครวั เรอื น และบริหารรายจา่ ยไมจ่ ำเป็น ให้ลดลง ในครงั้ นี้ ผ้ศู ึกษาเสนอตามลำดบั ดงั น้ี 4.1 สัญลกั ษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู ������ แทน จำนวนคนในกลมุ่ ตัวอย่าง ������̅ แทน คะแนนเฉลีย่ ������. ������. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน 4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมลู ในการศึกษาครงั้ นี้ ผศู้ ึกษาไดด้ ำเนนิ การวเิ คราะหอ์ อกเป็น 4 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของครัวเรือน ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเก่ียวกบั ครวั เรือน ตอนท่ี 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจของผูร้ ว่ มโครงการ แบ่งเปน็ 4 ด้าน คือ ด้านทศั นิคติ เกย่ี วกับบญั ชคี รวั เรือน ด้านการจดั ทำบัญชี ดา้ นการสง่ เสริมและวางแผนการเงนิ และด้านความพึงพอใจ ของโครงการ ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะและความคดิ เหน็

27 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมลู ท่วั ไปของครัวเรอื น ตารางที่ 1 แสดงความถ่ีและรอ้ ยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศ สถานภาพ กลมุ่ ตวั อยา่ ง n = 10 จำนวน รอ้ ยละ เพศ ชาย 0 0.00 หญงิ 10 100.00 รวม 10 100.00 จากตารางท่ี 1 พบว่าบุคคลท่วั ไปจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเป็นเพศหญิง จำนวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 และเพศชายไมพ่ บกลุ่มตวั อย่าง ความถ่รี อ้ ยละของกลุ่มตัวอยา่ ง จาแนกตามเพศ ชาย หญงิ ชาย 0% หญงิ 100%

28 ตารางท่ี 2 แสดงความถี่และร้อยละของกลุม่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามช่วงอายุ สถานภาพ กลุ่มตวั อย่าง n = 10 จำนวน ร้อยละ อายุ 20 – 30 ปี 6 60.00 31 – 40 ปี 1 10.00 41 – 50 ปี 3 30.00 50 ปขี ้นึ ไป 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 2 พบว่าบคุ คลทั่วไปจากกลมุ่ ตัวอย่างส่วนใหญ่ อายุ 20 – 30 ปี จำนวน 6 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 60.00 รองลงมาอายุ 41 – 50 ปี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30.00 อายุ 31 – 40 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.00 และอายุ 50 ปีขน้ึ ไปไมพ่ บกลุ่มตัวอย่าง ความถี่และร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่าง จาแนกตามชว่ งอายุ 20 - 30 ปี 31 - 40 ปี 41 - 50 ปี 50 ปีขึ้นไป 41 - 50 ปี 50 ปขี ้ึนไป 30% 0% 31 - 40 ปี 20 - 30 ปี 10% 60%

29 ตารางที่ 3 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอยา่ ง จำแนกตามสถานะภาพ สถานภาพ กลุ่มตวั อย่าง n = 10 จำนวน ร้อยละ สถานะ อาชีพอสิ ระ 3 30.00 รบั จา้ งทว่ั ไป 5 50.00 ข้าราชการ 0 0.00 พนักงานบริษทั 1 10.00 นกั ศึกษา 1 10.00 อาชพี อ่นื ๆ 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 3 พบว่าบคุ คลทั่วไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ เป็นอาชพี รบั จา้ งทัว่ ไป จำนวน 5 คน คิดเปน็ ร้อยละ 50.00 รองลงมาเป็นอาชพี อิสระ จำนวน 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 30.00 ตามดว้ ยอาชีพ พนักงานบริษทั จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10.00 และเป็นอาชพี นกั ศึกษา จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อย ละ 10.00

30 จากตารางท่ี 3 สามารถสรปุ เปน็ แผนภมู ิได้ ดังนี้ แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จาแนกตามสถานะภาพ อาชีพอสิ ระ รับจา้ งทว่ั ไป ข้าราชการ พนกั งานบริษัท นกั ศกึ ษา อาชพี อื่น ๆ พนักงานบริษทั นักศึกษา อาชีพอื่น ๆ อาชพี อิสระ 10% 10% 0% 30% ข้าราชการ รับจา้ งทวั่ ไป 0% 50% ตารางท่ี 4 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามระดบั รายไดต้ ่อเดือน สถานภาพ กลุ่มตัวอยา่ ง n = 10 จำนวน รอ้ ยละ ระดับรายได้ตอ่ เดือน ต่ำกวา่ 10,000 บาท 4 40.00 10,001 – 20,000 บาท 6 60.00 20,001 บาทข้ึนไป 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางท่ี 4 พบว่าบคุ คลท่ัวไปของกล่มุ ตัวอย่างสว่ นใหญ่มรี ายไดต้ ่อเดือนอยู่ในระดับ 10,001 – 20,000 บาท จำนวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.00 และอย่ใู นระดับตำ่ กวา่ 10,000 บาท จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00

31 จากตารางท่ี 4 สามารถสรปุ เป็นแผนภูมิได้ ดงั น้ี แสดงความถแี่ ละร้อยละของกลมุ่ ตัวอย่าง จาแนกตามระดบั รายได้ต่อเดือน ต่ากวา่ 10,000 10,001 - 20,000 20,000 ขน้ึ ไป 20,000 ข้นึ ไป 0% ต่ากวา่ 10,000 40% 10,001 - 20,000 60% ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเกยี่ วกับครัวเรอื น ตารางที่ 5 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามวิธกี ารจดบันทึกบญั ชีครัวเรอื น สถานภาพ กลุม่ ตวั อยา่ ง n = 10 จำนวน รอ้ ยละ วิธีการจดบันทกึ บัญชีครวั เรอื น เคยจดบนั ทกึ เชน่ สมุด 3 30.00 ไม่เคย 7 70.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 5 พบว่าบคุ คลทั่วไปของกลุ่มตัวอยา่ งส่วนใหญ่ไม่เคยจดบันทกึ บัญชคี รวั เรือน จำนวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 70.00 และเคยจดบันทึก เชน่ สมดุ จำนวน 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.00

32 จากตารางท่ี 5 สามารถสรุปเปน็ แผนภูมไิ ด้ ดงั น้ี แสดงความถแี่ ละรอ้ ยละของกลุ่มตวั อย่าง จาแนกตามวธิ กี ารจดบนั ทกึ บญั ชีครัวเรอื น เคยจดบนั ทึก ไม่เคย เคยจดบนั ทึก 30% ไมเ่ คย 70% ตารางท่ี 6 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลุม่ ตวั อย่าง จำแนกตามระดับรายได้ต่อคา่ ใชจ้ ่าย สถานภาพ กลุ่มตวั อย่าง n = 10 จำนวน ร้อยละ ระดบั รายได้ต่อคา่ ใชจ้ ่าย พอใช้และเหลือเกบ็ 5 50.00 พอใช้แตไ่ มเ่ หลือเก็บ 5 50.00 ไมพ่ อใช้ 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 6 พบว่าบุคคลท่ัวไปของกลมุ่ ตัวอยา่ งส่วนใหญ่ทมี ีระดับรายได้ต่อคา่ ใช้จ่ายในแตล่ ะ เดือนเป็นพอใชแ้ ละเหลอื เก็บ และพอใชแ้ ต่ไมเ่ หลือเก็บ จำนวนอยา่ งละ 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 50.00

33 จากตารางท่ี 6 สามารถสรุปเป็นแผนภมู ิได้ ดงั นี้ แสดงความถีแ่ ละร้อยละของกลมุ่ ตวั อย่าง จาแนกตามระดับรายไดต้ ่อค่าใช้จา่ ย พอใช้และเหลอื เก็บ พอใชแ้ ต่ไมเ่ หลือเกบ็ ไมพ่ อใช้ ไม่พอใช้ 0% พอใชแ้ ตไ่ ม่เหลือเก็บ พอใชแ้ ละเหลือเกบ็ 50% 50% ตารางท่ี 7 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอยา่ ง จำแนกตามระดบั เงนิ เกบ็ ต่อเดือน สถานภาพ กลมุ่ ตวั อยา่ ง n = 10 จำนวน ร้อยละ ระดับเงนิ เกบ็ ต่อเดือน ตำ่ กวา่ 200 4 40.00 201 - 500 5 50.00 501 – 1,000 1 10.00 อน่ื ๆ 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 7 พบว่าบุคคลท่ัวไปของกลมุ่ ตวั อย่างส่วนใหญ่มีเงินเก็บต่อเดือน 201 – 500 บาท จำนวน 5 คน คดิ เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมาต่ำกว่า 200 บาท จำนวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.00 และ 501 – 1,000 บาท จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10.00

34 จากตารางที่ 7 สามารถสรปุ เป็นแผนภูมไิ ด้ ดงั น้ี แสดงความถีแ่ ละรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่าง จาแนกตามระดับเงินเกบ็ ตอ่ เดอื น ต่ากว่า 200 201 - 500 501 - 1,000 อ่นื ๆ ต่ากวา่ 200 18% อนื่ ๆ 54% 201 - 500 23% 501 - 1,000 5% ตารางท่ี 8 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามค่าใช้จ่ายในครัวเรือน สถานภาพ กลมุ่ ตัวอย่าง n = 10 จำนวน รอ้ ยละ คา่ ใชจ้ ่ายในครัวเรือน 2 คน 2 20.00 3 คน 4 40.00 4 คน 4 40.00 อนื่ ๆ 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางที่ 8 พบว่าบคุ คลทั่วไปของกล่มุ ตวั อย่างส่วนใหญ่ใช้ค่าใช้จ่ายกับคนในครอบครัว 3 คน และ 4 คน จำนวนอยา่ งละ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และใช้ค่าใช้จ่ายกบั คนในครอบครวั 2 คน จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00

35 จากตารางที่ 8 สามารถสรุปเป็นแผนภมู ิได้ ดงั น้ี แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จาแนกตามคา่ ใชจ้ า่ ยในครัวเรือน 4 คน 2 คน 3 คน 4 คน อนื่ ๆ 4% อ่นื ๆ 0% 3 คน 5% 2 คน 91% ตารางท่ี 9 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลมุ่ ตัวอย่าง จำแนกตามการเข้ารว่ มอบรม สถานภาพ กลุ่มตวั อย่าง n = 10 จำนวน รอ้ ยละ การเขา้ ร่วมอบรม ไมเ่ คย 10 100.00 เคย 0 0.00 รวม 10 100.00 จากตารางท่ี 9 พบวา่ บคุ คลท่ัวไปของกลุม่ ตวั อยา่ งทง้ั หมดไมเ่ คยเข้าร่วมการเข้าอบรมบัญชี ครวั เรือน จำนวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100.00

36 จากตารางที่ 9 สามารถสรปุ เป็นแผนภมู ิได้ ดงั น้ี แสดงความถี่และรอ้ ยละของกล่มุ ตัวอย่าง จาแนกตามการเข้าร่วมอบรม ไมเ่ คย เคย เคย 0% ไม่เคย 100%

37 ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ครวั เรอื น แบ่งเป็น 4 ด้าน คอื ด้านทัศนิคตเิ กย่ี วกับบญั ชคี รวั เรอื น ดา้ น การจดั ทำบัญชี ด้านการสง่ เสรมิ และวางแผนการเงิน และด้านความพงึ พอใจของโครงการ ตารางท่ี 10 แสดงค่าเฉลีย่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน โครงการการบัญชีครัวเรอื น ชมุ ชนบ้านคลองมือ ไทรและความพงึ พอใจของกลุ่มตวั อยา่ ง สรุปเปน็ รายด้าน ไดด้ งั น้ี รายการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจ ������̅ ������. ������. ระดับแปลผล 1. ด้านทัศนิคติเก่ยี วกับบญั ชีครัวเรือน 3.44 0.71 ปานกลาง 2. ดา้ นการจัดทำบญั ชี 4.03 0.64 มาก 3. ดา้ นการสง่ เสริมและวางแผนการเงนิ 4.30 0.60 มาก 4. ด้านความพงึ พอใจของโครงการ 4.17 0.45 มาก รวม 3.98 0.11 มาก จากตารางท่ี 10 พบวา่ ความพงึ พอใจของกลุ่มตัวอย่างท่ีมีต่อการบันทกึ บัญชีครวั เรือน ชุมชน บา้ นคลองมือไทร โดยรวมมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก ( ������̅ = 3.98 และ ������. ������. = 0.11 ) และเมอื่ พจิ ารณาเปน็ รายดา้ นแล้ว ทุกประเดน็ มีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมากและปานกลาง ดา้ นการสง่ เสริมและ วางแผนการเงิน ความพงึ พอใจอยใู่ นระดับมาก ( ������̅ = 4.30 และ ������. ������. = 0.60 ) รองลงมาด้านความพงึ พอใจของโครงการ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ( ������̅ = 4.17 และ ������. ������. = 0.45 ) ดา้ นการจดั ทำบญั ชี ความพงึ พอใจอยู่ในระดบั มาก ( ������̅ = 4.03 และ ������. ������. = 0.64 ) และดา้ นทศั นิคติเกย่ี วกบั บัญชีครัวเรอื น ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ( ������̅ = 3.44 และ ������. ������. = 0.71 ) ตามลำดบั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook