Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Chapter1 (1)

Chapter1 (1)

Published by นูรฮายาตี วามะ, 2023-02-24 05:35:48

Description: Chapter1 (1)

Search

Read the Text Version

บทท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งตน้ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ

บทท่ี 1 ความร้เู บื้องต้นเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ • คอมพวิ เตอร์ หมายถงึ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ชนิด หน่ึงท่มี ีความสามารถในการคานวณผลในรูปแบบ หน่ึงๆ ได้อย่างรวดเร็วและให้ผลลัพธ์ท่ถี ูกต้องและ เช่ือถือได้

บทที่ 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ • การทางานของคอมพวิ เตอร์ ขนั ้ ตอนที่ 1 : รับข้อมลู เข้า (Input) เร่ิมต้นด้วยการนาข้อมลู เข้าเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ซง่ึ สามารถผ่านทางอปุ กรณ์ชนิด ตา่ งๆ แล้วแต่ชนิดของข้อมลู ท่ีจะป้ อนเข้าไป เชน่ ถ้าเป็นการพมิ พ์ข้อมลู จะใช้แผงแป้ นพิมพ์ (Keyboard) เพื่อพมิ พ์ ข้อความหรือโปรแกรมเข้าเคร่ือง ถ้าเป็นการเขียนภาพจะใช้เครื่องอา่ นพิกดั ภาพกราฟิก (Graphics Tablet) โดย มปี ากกาชนิดพเิ ศษสาหรับเขียนภาพ หรือถ้าเป็นการเลน่ เกมก็จะมีก้านควบคมุ (Joystick) สาหรับเคล่อื นตาแหน่ง ของการเลน่ บนจอภาพ เป็นต้น ขนั ้ ตอนท่ี 2 : ประมวลผลข้อมลู (Process)เม่อื นาข้อมลู เข้ามาแล้ว เครื่องจะดาเนินการกบั ข้อมลู ตามคาสงั่ ท่ีได้รับ มาเพ่ือให้ได้ผลลพั ธ์ตามที่ต้องการ การประมวลผลอาจจะมีได้หลายอย่าง เช่น นาข้อมลู มาหาผลรวม นาข้อมลู มาจดั กลมุ่ นาข้อมลู มาหาคา่ มากท่ีสดุ หรือน้อยท่ีสดุ เป็นต้น ขนั ้ ตอนที่ 3 : แสดงผลลพั ธ์ (Output) เป็นการนาผลลพั ธ์จากการประมวลผลมาแสดงให้ทราบทางอปุ กรณ์ที่ กาหนดไว้ โดยทวั่ ไปจะแสดงผ่านทางจอภาพ หรือเรียกกนั โดยทว่ั ไปวา่ \"จอมอนิเตอร์\" (Monitor) หรือจะพมิ พ์ข้อมลู ออกทางกระดาษโดยใช้เครื่องพิมพ์ก็ได้

บทท่ี 1 ความรูเ้ บ้อื งตน้ เก่ียวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ โดยปกตแิ ล้วการทางานของคอมพวิ เตอร์จะต้องมีองค์ประกอบ 4 อยา่ ง คอื ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บคุ ลากรและข้อมลู (สารสนเทศ)

บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ววิ ฒั นาการของคอมพวิ เตอร์ • ววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ เร่ิมตน้ จากวิวฒั นาการของการคานวณ อุปกรณ์ท่ีใชใ้ นการคานวณ หรือเครื่องคานวณต่างๆ เนื่องจากถือไดว้ า่ \"คอมพวิ เตอร์\" เป็นเคร่ืองคานวณรูปแบบหน่ึงนน่ั เอง โดยอาจจะเร่ิมได้ จากการนบั จานวนดว้ ยกอ้ นหิน, เศษไม,้ กิ่งไม,้ การใชถ้ ่านขีดเป็น สัญลกั ษณ์ตามฝาผนงั ท้งั น้ีเคร่ืองคานวณที่นบั เป็นตน้ แบบของ คอมพวิ เตอร์ท่ีงานในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ ลกู คิด (Abacus) นน่ั เอง

บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ลูกคดิ (Abacus) ลกู คดิ เป็นเคร่ืองคานวณเครื่องแรก ท่ีมนษุ ย์ได้ประดษิ ฐ์คิดค้น ขนึ ้ มา โดยชาวตะวนั ออก (ชาวจีน) และยงั มีใช้งานอยใู่ นปัจจบุ นั มี ลกั ษณะตา่ งๆ ออกไป เชน่ ลกั ษณะลกู คดิ ของจีน ซงึ่ มีตวั นบั รางบน สอง แถว ขณะที่ลกู คดิ ของญี่ป่ นุ มตี วั นบั รางบนเพยี งแถวเดยี ว แม้เป็ น อปุ กรณ์สมยั เก่า แตก่ ็มีความสามารถในการคานวณเลขได้ทกุ ระบบ

บทที่ 1 ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส่วนประกอบของลกู คิด

บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ แท่งเนเปี ยร์ (Napier's rod) อุปกรณ์คานวณที่ช่วยคูณเลข คิดคน้ โดย จอห์น เนเปี ยร์ (John Napier : 1550 - 1617) นกั คณิตศาสตร์ชาวสก๊อต มีลกั ษณะเป็นแท่งไมท้ ี่ตีเป็น ตาราง และช่องสามเหล่ียม มีเลขเขียนอยบู่ นตารางเหล่าน้ี เม่ือตอ้ งการคูณ เลขจานวนใด กห็ ยบิ แท่งที่ใชร้ ะบุเลขแต่ละหลกั มาเรียงกนั แลว้ จึงอ่าน ตวั เลขบนแท่งน้นั ตรงแถวท่ีตรงกบั เลขตวั คูณ กจ็ ะไดค้ าตอบที่ตอ้ งการ โดยก่อนหนา้ น้ีเนเปี ยร์ ไดท้ าตารางลอการิทึม เพอื่ ช่วยในการคูณและหาร เลข โดยอาศยั หลกั การบวก และลบเลขมาช่วยในการคานวณ

บทท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ แท่งเนเปี ยร์

บทท่ี 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเกย่ี วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไม้บรรทดั คานวณ (Slide Rule) วิลเล่ียม ออทเตรด (1574 - 1660) ได้นาหลกั การลอการิทมึ ของเนเปี ยร์มาพฒั นาเป็น ไม้บรรทดั คานวณ หรือสไลด์รูล โดยการนาคา่ ลอการิทมึ มาเขียนเป็นสเกลบนแทง่ ไม้สองอนั เมื่อนามาเลือ่ นตอ่ กนั ก็จะอา่ นคา่ เป็นผลคณู หรือผลหารได้ โดยอาศยั การคาดคะเนผลลพั ธ์

บทท่ี 1 ความร้เู บอื้ งตน้ เกย่ี วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไม้บรรทดั คานวณ (Slide Rule)

บทที่ 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเกย่ี วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock) นาฬิกาคานวณ เป็ นเคร่ืองคานวณท่ีรับอิทธิพลจากแทง่ เน เปี ยร์ โดยใช้ตวั เลขของแทง่ เนเปี ยร์บรรจบุ นทรงกระบอกหกชดุ แล้วใช้ฟันเฟืองเป็นตวั หมนุ ทดเวลาคณู เลข ประดิษฐ์โดย วลิ เฮล์ม ชิคการ์ด (1592 - 1635) ซงึ่ ถือได้วา่ เป็นผ้ทู ่ีประดษิ ฐ์ เครื่องกลไกสาหรับคานวณได้เป็ นคนแรก

บทท่ี 1 ความร้เู บ้อื งต้นเก่ียวกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ นาฬิกาคานวณ (Calculating Clock)

บทที่ 1 ความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ เครื่องคานวณของปาสกาล (Pascal's Pascaline Calculator) เครื่องคานวณของปาสกาล ประดิษฐใ์ นปี 1642 โดย เบลส ปาสกาล (Blaise Pascal :1623 - 1662) นกั คณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส โดยเคร่ืองคานวณน้ีมีลกั ษณะเป็นกล่อง ส่ีเหล่ียม มีฟันเฟื องสาหรับต้งั และหมุน ตวั เลขอยดู่ า้ นบน ถือไดว้ า่ เป็น \"เคร่ือง คานวณใชเ้ ฟื องเคร่ืองแรก\" Blaise Pascal

บทท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งต้นเก่ยี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ Pascal's Pascaline Calculator การคานวณใชห้ ลกั การหมุนของฟันเฟื องหน่ึง อนั ถูกหมุนครบ 1 รอบ ฟันเฟื องอีกอนั หน่ึง ทางดา้ นซา้ ยจะถกู หมุนไปดว้ ยในเศษ 1 ส่วน 10 รอบ เช่นเดียวกบั การทดเลขสาหรับผลการ คานวณจะดูไดท้ ี่ช่องบน และไดถ้ ูกเผยแพร่ ออกสู่สาธารณชนเม่ือ พ.ศ. 2188 แต่ไม่ ประสบผลสาเร็จเท่าท่ีควร เครื่องมือน้ีสามารถ ใชไ้ ดด้ ีในการคานวณบวกและลบ เท่าน้นั ส่วน การคูณและหารยงั ไม่ดีเท่าไร

บทที่ 1 ความร้เู บ้อื งตน้ เกีย่ วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ The Leibniz Wheel

บทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine) เครื่องวเิ คราะห์ของแบบเบจ (Babbage's Analytical Engine) ชารลส์ แบบเบจ (Charles Babbage: 1792 - 1871) นกั วทิ ยาศาสตร์ชาวองั กฤษ ไดป้ ระดิษฐเ์ คร่ืองผลต่าง (Difference Engine) ข้ึนมาในปี 1832 เป็นเคร่ือง คานวณท่ีประกอบดว้ ยฟันเฟื องจานวนมาก สามารถคานวณคา่ ของตารางไดโ้ ดยอตั โนมตั ิ แลว้ ส่งผลลพั ธไ์ ปตอกลงบนแผน่ พิมพส์ าหรับนาไปพิมพไ์ ดท้ นั แบบเบจไดพ้ ฒั นาเครื่องผลต่าง อีกคร้ังในปี 1852 โดยไดร้ ับเงินอุดหนุนจากรัฐสภาองั กฤษ แต่กต็ อ้ งยตุ ิลงเม่ือผลการดาเนินการไม่ไดด้ งั ที่หวงั ไว้

บทท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกีย่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องผลต่างของแบบเบจ (Babbage's Difference Engine)

บทท่ี 1 ความรู้เบอื้ งต้นเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ หลงั จากน้นั แบบเบจกห็ นั มาออกแบบเคร่ืองวเิ คราะห์ (Babbage's Analytical Engine) โดยเครื่องน้ีประกอบดว้ ย \"หน่วยความจา\" ซ่ึงกค็ ือ ฟันเฟื องสาหรับนบั \"หน่วยคานวณ\" ท่ีสามารถบวกลบคูณหารได้ \"บตั รปฏิบตั ิ\" คลา้ ยๆ บตั รเจาะรูใชเ้ ป็นตวั เลือกวา่ จะคานวณอะไร \"บตั ร ตวั แปร\" ใชเ้ ลือกวา่ จะใชข้ อ้ มลู จากหน่วยความจาใด และ \"ส่วนแสดงผล\" ซ่ึงกค็ ือ \"เครื่องพมิ พ์ หรือเครื่องเจาะบตั ร\" แต่บุคคลท่ีนาแนวคิดของแบบ เบจมาสร้างเคร่ืองวิเคราะห์ (Analytical Engine) กค็ ือ ลกู ชาย ของแบบเบจช่ือ เฮนร่ี (Henry) ในปี 1910

บทท่ี 1 ความร้เู บือ้ งตน้ เกย่ี วกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งไรกต็ ามความคิดของแบบเบจ เก่ียวกบั เคร่ืองผลต่าง และเครื่องวเิ คราะห์ เป็น ประโยชน์ต่อวงการคอมพิวเตอร์ในยคุ ตอ่ มามาก จึงไดร้ ับสมญาวา่ \"บดิ าแห่งคอมพวิ เตอร์\" เน่ืองจากประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 4 ส่วน คือ 1. ส่วนเกบ็ ขอ้ มูล เป็นส่วนท่ีใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลนาเขา้ และผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการคานวณ 2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใชใ้ นการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ 3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนท่ีใชใ้ นการเคลื่อนยา้ ยขอ้ มูลระหวา่ งส่วนเกบ็ ขอ้ มลู และส่วน ประมวลผล 4. ส่วนรับขอ้ มูลเขา้ และแสดงผลลพั ธ์ เป็นส่วนที่ใชร้ ับขอ้ มลู จากภายนอกเคร่ืองเขา้ สู่ส่วน เกบ็ ขอ้ มูล และแสดงผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการคานวณทาใหเ้ ครื่องวเิ คราะห์น้ี มีลกั ษณะใกลเ้ คียง กบั ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั

บทท่ี 1 ความรูเ้ บอื้ งตน้ เก่ียวกบั คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ อยา่ งไรกต็ ามความคิดของแบบเบจ เก่ียวกบั เครื่องผลต่าง และเครื่องวเิ คราะห์ เป็น ประโยชนต์ อ่ วงการคอมพวิ เตอร์ในยคุ ต่อมามาก จึงไดร้ ับสมญาวา่ \"บดิ าแห่ง คอมพวิ เตอร์\" เนื่องจากประกอบดว้ ยส่วนสาคญั 4 ส่วน คือ 1. ส่วนเกบ็ ขอ้ มูล เป็นส่วนที่ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลนาเขา้ และผลลพั ธ์ท่ีไดจ้ ากการคานวณ 2. ส่วนประมวลผล เป็นส่วนที่ใชใ้ นการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ 3. ส่วนควบคุม เป็นส่วนท่ีใชใ้ นการเคลื่อนยา้ ยขอ้ มลู ระหวา่ งส่วนเกบ็ ขอ้ มลู และส่วน ประมวลผล 4. ส่วนรับขอ้ มลู เขา้ และแสดงผลลพั ธ์ เป็นส่วนที่ใชร้ ับขอ้ มลู จากภายนอกเครื่องเขา้ สู่ส่วน เกบ็ ขอ้ มูล และแสดงผลลพั ธ์ที่ไดจ้ ากการคานวณทาใหเ้ คร่ืองวเิ คราะห์น้ี มีลกั ษณะ ใกลเ้ คียงกบั ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบนั

บทท่ี 1 ความร้เู บอื้ งตน้ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ABC เคร่ืองคานวณขนาดเลก็ ทใ่ี ช้หลอดสูญญากาศ John V. Atanasoff Clifford Berry

บทท่ี 1 ความรเู้ บือ้ งตน้ เก่ียวกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ABC เครื่องคานวณขนาดเลก็ ทใ่ี ช้หลอดสูญญากาศ ปี 1940 จอห์น วนิ เซนต์ อาตานาซอฟ (John V. Atanasoff) และลกู ศิษฐช์ ่ือ คลิฟฟอร์ด เบอรี (Clifford Berry) แห่ง มหาวิทยาลยั ไอโอวา ร่วมกนั ประดิษฐเ์ ครื่องคานวณขนาดเลก็ ที่ใชห้ ลอดสูญญากาศ ซ่ึงนบั วา่ เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ระบบ ดิจิตอลเคร่ืองแรก เรียกเครื่องน้ีวา่ ABC หรือ Atanasoff Berry Computer

บทท่ี 1 ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ Atanasoff Berry Computer

บทท่ี 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกีย่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ Mark I เคร่ืองคานวณอเิ ลก็ ทรอนิกส์ของไอบเี อม็ ในปี 1943 บริษทั ไอบีเอม็ (IBM: International Business Machines Co.,) โดยโธมสั เจ. วตั สนั (Thomas J. Watson) ไดพ้ ฒั นาเคร่ืองคานวณท่ีมีความสามารถเทียบเท่ากบั คอมพิวเตอร์ ซ่ึงกค็ ือ เคร่ืองคิดเลขท่ีใช้ เคร่ืองกลไฟฟ้ าเป็นตวั ทางาน ประกอบดว้ ยฟันเฟื องในการทางาน อนั เป็นการนาเอาเทคโนโลยเี คร่ือง วเิ คราะห์แบบแบบเบจมาปรับปรุงนนั่ เอง เคร่ืองน้ียงั ไม่สามารถบนั ทึกคาสง่ั ไวใ้ นเครื่องได้ มีความสูง 8 ฟตุ ยาว 55 ฟุต ซ่ึงกค็ ือ เครื่อง Mark I หรือช่ือทางการวา่ Automatic Sequence Controlled Calculator

บทท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ Mark I - Automatic Sequence Controlled Calculator

บทท่ี 1 ความรูเ้ บอื้ งต้นเกย่ี วกบั คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ENIAC เครื่องคอมพวิ เตอร์เคร่ืองแรกของโลก จอห์น ดบั ลิว มอชลีย์ (John W. Mauchly) และ เจ เพรสเพอร์ เอคเกิรต (J. Prespern Eckert) ไดร้ ับทุนอุดหนุนจากกองทพั สหรัฐอเมริกา ในการสร้างเคร่ืองคานวณ ENIAC เมื่อปี 1946 นบั วา่ เป็น \"เคร่ืองคานวณอิเลก็ ทรอนิกส์เครื่องแรกของโลก หรือ คอมพิวเตอร์เคร่ืองแรกของโลก\" ENIAC เป็นคายอ่ ของ Electronics Numerical Integrator and Computer เป็นเคร่ืองคานวณท่ีมีจุดประสงคเ์ พ่อื ใชง้ านในกองทพั โดย ใชค้ านวณตารางการยงิ ปื นใหญ่ วิถีกระสุนปื นใหญ่ อาศยั หลอดสุญญากาศจานวน 18,000 หลอด มีน้าหนกั 30 ตนั ใชเ้ น้ือท่ีหอ้ ง 15,000 ตารางฟตุ เวลาทางานตอ้ งใชเ้ วลา ถึง 140 กิโลวตั ต์ คานวณในระบบเลขฐานสิบ เคร่ือง ENIAC น้ีมอชลีย์ ไดแ้ นวคิดมา จากเคร่ือง ABC ของอาตานาซอฟ

บทท่ี 1 ความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ENIAC - Electronics Numerical Integrator and Computer

บทที่ 1 ความรูเ้ บื้องต้นเก่ยี วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ EDVAC กบั สถาปัตยกรรมฟอนนอยมานน์ EDVAC หรือ Electronics Discrete Variable Automatic Computer นบั เป็น เคร่ืองคอมพวิ เตอร์เครื่องแรก ท่ีสามารถเกบ็ คาสงั่ เอาไว้ ทางาน ในหน่วยความจา พฒั นาโดย จอห์น ฟอน นอย มานน์ (Dr. John Von Neumann) นกั คณิตศาสตร์ชาวฮงั การี ร่วมกบั ทีมมอชลีย์ และเอคเกิรต โดยฟอน นอยมานน์ แนวคิดท่ีน่าสนใจเกี่ยวกบั การทางาน ของคอมพิวเตอร์ จนไดร้ ับการขนานนามวา่ “สถาปัตยกรรม ฟอนนอนมานน”์

บทท่ี 1 ความรูเ้ บ้ืองต้นเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ \"สถาปัตยกรรมฟอนนอนมานน์\" ซ่ึงมรี ายละเอยี ดดงั นี้ - มีหน่วยความจาสาหรับใชเ้ กบ็ คาสง่ั และขอ้ มลู รวมกนั (The stored program concept) - การดาเนินการ กระทาโดยการอ่านคาสงั่ จากหน่วยความจา มา แปลความหมาย แลว้ ทาตามทีละคาสงั่ - มีการแบ่งส่วนการทางาน ระหวา่ งหน่วยประมวลผล หน่วยความจา หน่วยควบคุม และหน่วยดาเนินการรับ และส่ง ขอ้ มูล

บทท่ี 1 ความรเู้ บ้อื งต้นเกยี่ วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ UNIVAC เครื่องคอมพวิ เตอร์สาหรับใช้ในงานธุรกจิ เครื่องแรกของโลก หลอดสุญญากาศ มอชลีย์ และเอคเกิรต ในนามบริษทั เรมิงตนั แรนด์ (Remington Rand) ไดส้ ร้างเคร่ืองคอมพวิ เตอร์อีกเครื่อง หน่ึงในเวลาต่อมา คือ UNIVAC (Universal Automatic Computer) เพอ่ื ใชง้ านสามะโนประชากรของสหรัฐอเมริกา เป็นเครื่องที่ทางานในระบบเลขฐานสิบเหมือนเดิม อยา่ งไร กต็ าม UNIVAC กย็ งั มีขนาดใหญ่มาก ยาว 14 ฟุต กวา้ ง 7 ฟุตคร่ึง สูง 9 ฟุต มีหลอดสุญญากาศ 5,000 หลอด แต่มี ความเร็วในการทางานสูง สามารถเกบ็ ตวั เลข หรือตวั อกั ษร ไวใ้ นหน่วยความจาไดถ้ ึง 12,000 ตวั

บทที่ 1 ความร้เู บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ UNIVAC (Universal Automatic Computer)

บทท่ี 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ยคุ ทห่ี น่ึง Vacuum Tube เร่ิมจากปี ค.ศ. 1951 - 1958 ใชห้ ลอด หรือหลอดสูญญากาศ สูญญากาศ (Vacuum Tube) เป็นวงจร สาคญั ในการทางาน นบั เป็นยคุ เริ่มตน้ ที่ ความรู้เก่ียวกบั เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์พ่งึ ก่อเกิด คอมพิวเตอร์ในยคุ น้ีไดแ้ ก่ UNIVAC, ENIAC คอมพิวเตอร์ในยคุ น้ี มกั จะใชก้ บั งานธุรกิจ เช่น งานเงินเดือน บญั ชี หรือควบคุมสินคา้ คงคลงั

บทท่ี 1 ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ลกั ษณะเฉพาะของคอมพวิ เตอร์ยคุ ท่ี 1 - ใชห้ ลอดสูญญากาศ เป็นส่วนประกอบหลกั - ตวั เครื่องมีขนาดใหญ่ ใชก้ าลงั ไฟฟ้ าสูง เกิดความร้อนสูง - ทางานดว้ ยภาษาเคร่ือง (MachineLanguage) - มีการพฒั นาภาษาสญั ลกั ษณ์ เช่น Symbolic Language และ Assembly

บทที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งตน้ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ยุคทส่ี อง ปี ค.ศ. 1959 - 1964 ใชท้ รานซิสเตอร์ (Transistor) เป็นวงจรสาคญั ซ่ึงเป็นอุปกรณ์ท่ีพฒั นาโดยนกั วทิ ยาศาสตร์ช้นั นาสามคนจากหอ้ งปฏิบตั ิการเบลล์ (Bell Lab.) ไดแ้ ก่ วลิ เลียม ชอคลีย์ (W. Shock), จอห์น บาร์ดีน (J. Bardeen), วอลเตอร์ แบรทเตน (H. W. Brattain) โดยทรานซิสเตอร์ เป็นแผงวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ที่มีขนาดเลก็ กวา่ หลอดสูญญากาศมาก แตม่ ีความจาที่สูง กวา่ ไม่ตอ้ งเวลาในการวอร์มอพั ใชพ้ ลงั งานต่า ทางานดว้ ยความเร็วที่สูงกวา่ นอกจาก เทคโนโลยเี ร่ืองวงจร ยงั มีเทคโนโลยอี ่ืนมาร่วมดว้ ย เช่น เกิดภาษาคอมพวิ เตอร์ข้ึนมา คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Language) และภาษาระดบั สูงต่างๆ เช่น ภาษา FORTRAN, COBOL สาหรับหน่วยบนั ทึกขอ้ มลู กม็ ีการนาเทป แม่เหลก็ มาใชง้ าน

บทท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ Transistor

บทที่ 1 ความรู้เบอ้ื งต้นเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ยุคทสี่ าม IC : Integrated Circuit ปี ค.ศ. 1965 - 1670 เป็นยคุ ท่ีคอมพวิ เตอร์ เร่ิมปรับเปลี่ยนมาก เน่ืองจากมีการพฒั นา แผงวงจรรวม (IC : Integrated Circuit) อนั เป็นผลงานของบริษทั เทก็ ซสั อินสตรูเมนต์ (Texas Instruments Co.,) ทาใหเ้ กิด คอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ลงมา ระดบั มินิคอมพิวเตอร์

บทที่ 1 ความรู้เบือ้ งตน้ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ยคุ ท่สี ่ี ปี ค.ศ. 1971 ถึงปัจจุบนั เป็นยคุ ของวงจร VLSI (Very Large Scale Integration) ในรูป ของไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) เปลี่ยนระบบหน่วยความจาจากวงแหวน แม่เหลก็ เป็นหน่วยความจาสารก่ึงตวั นาท่ี Microprocessor – VLSI เรียกวา่ RAM (Random Access Memory) (Very Large Scale Integration) ส่งผลใหเ้ กิดคอมพวิ เตอร์ส่วนบุคคล (PC : Personal Computer)

บทท่ี 1 ความรเู้ บ้ืองต้นเกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพวิ เตอร์ยคุ ท่หี ้า การพฒั นาเครือข่ายคอมพวิ เตอร์จะเป็นการเชื่อมโยงคอมพวิ เตอร์เขา้ ดว้ ยกนั เพือ่ การ ติดตอ่ ส่ือสารในเครือขา่ ยใหส้ ามารถใชท้ รัพยากรร่วมกนั ได้ โดยเร่ิมจากการทางานเป็น กลุม่ ซ่ึงเคร่ืองคอมพวิ เตอร์กลุม่ เดียวกนั สามารถใชอ้ ุปกรณ์ร่วมกนั ได้ สามารถส่งขอ้ มูลภายในอาคาร หรือขา้ ม ระหวา่ งเมืองไปจนถึงอีกซีกหน่ึงของโลก ซ่ึง ขอ้ มลู ตา่ งๆ อาจเป็นท้งั ขอ้ ความ รูปภาพ เสียง ก่อใหเ้ กิดความสะดวก รวดเร็วแก่ผใู้ ช้ ซ่ึง ความสามารถเหลา่ น้ีทาใหเ้ ครือขา่ ย คอมพวิ เตอร์มีความสาคญั และจาเป็นตอ่ การใช้ งานในแวดวงตา่ งๆ

บทที่ 1 ความรู้เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ • 1) ไมโครคอมพิวเตอร์ (microcomputer) • 2) สถานีงานวศิ วกรรม (engineering workstation) • 3) มินคิ อมพวิ เตอร์ (minicomputer) • 4) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (mainframe computer) • 5) ซเู ปอร์คอมพวิ เตอร์ (supercomputer) หรือคอมพิวเตอร์ ประสทิ ธิภาพสงู (high performance computer)

บทที่ 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ยี วกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ 1. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) มีขนาดเลก็ ท่ีสุด แต่กม็ ีประสิทธิภาพ สูง นิยมใช้กนั มากในปัจจุบันเน่ืองจากมาขนาดเลก็ นา้ หนักเบา ราคาไม่แพงสามารถ เคล่ือนยา้ ยไดง้ ่ายและสะดวก สามารถแบ่งแยก ไมโครคอมพิวเตอร์ตามขนาดของเครื่องไดด้ งั น้ี 1.1 คอมพวิ เตอร์แบบต้ังโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นไมโครคอมพวิ เตอร์มีขนาดเลก็ ไดร้ ับการออกแบบมาใหต้ ้งั บนโตะ๊ มีการแยกชิ้นส่วนประกอบเป็ นจอภาพ เคส(Case) และแป้ นพิมพ์

บทที่ 1 ความรูเ้ บือ้ งต้นเก่ียวกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ 1.2 โนต้ บุก๊ คอมพิวเตอร์ (Notebook Computer) เป็น ไมโครคอมพวิ เตอร์มีขนาดเลก็ สามารถหิ้วพกพาไปในที่ ตา่ งๆ ได้ มีน้าหนกั ประมาณ 1.5 – 3 กิโลกรัม เคร่ือง ประเภทน้ีมีประสิทธิภาพเหมือนเครื่องแบบต้งั โตะ๊ 1.3 ปาลม์ ทอ็ ปคอมพวิ เตอร์ (Palmtop Computer) เป็น ไมโครคอมพิวเตอร์แบบพกพาท่ีมีขนาดเลก็ สามารถใส่ กระเป๋ าเส้ือได้ ใชส้ าหรับทางานเฉพาะอยา่ ง เช่น เป็นสมุด จดบนั ทึกประจาวนั เป็นพจนานุกรม

บทท่ี 1 ความรู้เบ้อื งตน้ เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ สถานีงานวิศวกรรม (Engineering Workstation) เหมาะสาหรับงานกราฟิ ก การ สร้างรูปภาพและการทาภาพเคล่ือนไหว การเชื่อมโยงสถานีงานวศิ วกรรมรวมกนั เป็น เครือขา่ ยทาใหส้ ามารถแลกเปล่ียนขอ้ มูลและการใชง้ านร่วมกนั อยา่ งมีประสิทธิภาพ โดย ใชร้ ะบบปฏิบตั ิการยนู ิกซ์ ประสิทธิภาพของซีพียอู ยใู่ นช่วงหลายร้อยลา้ นคาส่ังตอ่ วนิ าที (Million Instructions Per Second : MIPS) อยา่ งไรกต็ าม หลงั จากที่ใชซ้ ีพียแู บบริสก์ (Reduced Instruction Set Computer : RISC) กส็ ามารถเพมิ่ ขีดความสามารถเชิงคานวณ ของซีพียสู ูงข้ึนอีก

บทที่ 1 ความรเู้ บอ้ื งต้นเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ มินิคอมพวิ เตอร์ (Minicomputer) เป็นเครื่องที่ สามารถใช้งานพร้อมๆ กันได้หลายคน จึงมีเครื่อง ปลายทางท่ีเชื่อมตอ่ กนั ราคามกั จะสูงกวา่ เครื่องสถานีงาน วศิ วกรรม นามาใชส้ าหรับประมวลผลในงานสารสนเทศ ขององคก์ รขนาดกลาง จนถึงองคก์ รขนาดใหญ่ท่ีมีการวาง ระบบเป็นเครือข่าย เช่น งานบญั ชีและการเงิน งาน ออกแบบทางวศิ วกรรม งานควบคุมการผลิตในโรงงาน อุตสาหกรรม ปัจจุบนั คอมพวิ เตอร์ในกลุม่ น้ีเปล่ียนเป็น สถานีบริการบนเครือข่ายในรูปแบบเซิร์ฟเวอร์ (Server)

บทที่ 1 ความร้เู บ้อื งตน้ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer) มีขนาดใหญ่ ประสิทธิภาพสูง มีความเร็วในการทางาน และมีหน่วยความจาสูงมาก เหมาะกบั หน่วยงานขนาด ใหญ่ เช่น ธนาคาร เป็นตน้ ปัจจุบนั เมนเฟรมไดร้ ับ ความนิยมนอ้ ยลงท้งั น้ีเพราะคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ มี ประสิทธิภาพและความสามารถดีข้ึน ราคาถกู ลง ขณะเดียวกนั ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์กด็ ีข้ึนจนทา ใหก้ ารใชง้ านบนเครือขา่ ยกระทาไดเ้ หมือนการใชง้ าน บนเมนเฟรม

บทท่ี 1 ความรเู้ บอื้ งตน้ เกี่ยวกับคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ (supercomputer) หรือ คอมพิวเตอร์ประสิทธิภาพสูง (high performance computer) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมกบั งาน คานวณท่ีตอ้ งมีการคานวณตวั เลขจานวนหลายลานตวั ภายในเวลาอนั รวดเร็ว เช่น งานพยากรณ์อากาศ ท่ีตอ้ งนา ขอ้ มลู ตา่ งๆ เก่ียวกบั อากาศท้งั ระดบั ภาคพ้นื ดิน และ ระดบั ช้นั บรรยากาศเพ่ือดูการเคลื่อนไหวและการ เปล่ียนแปลงของอากาศ หรืองานดา้ นการควบคุม ขีปนาวธุ งานควบคุมทางอากาศ งานประมวลผลภาพทาง การแพทย์ งานดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และงานดา้ นวศิ วกรรม การออกแบบ

บทที่ 1 ความรเู้ บื้องต้นเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ทางานไดเ้ ร็ว และมีประสิทธิภาพสูงกวา่ คอมพวิ เตอร์ชนิดอื่นเพราะมีการพฒั นาใหม้ ีโครงสร้างการคานวณพิเศษ เช่น การคานวณแบบขนานที่เรียกวา่ เอม็ พพี ี (Massively Parallel Processing : MPP) ซ่ึงเป็นการคานวณท่ีกระทากบั ขอ้ มูลหลายๆ ตวั ในเวลาเดียวกนั ดว้ ยขดี ความสามารถของไมโครโพรเซสเซอร์ที่สูงข้ึนมาก จึงมีการ พฒั นาระบบไมโครคอมพิวเตอร์ต่อร่วมกนั เป็นเครือข่าย และใหก้ ารทางาน ร่วมกนั ในรูปแบบการคานวณเป็นกลุ่มหรือท่ีเรียกวา่ คลสั เตอร์ (Cluster Computer) คอมพวิ เตอร์ประเภทน้ีจึงทาการคานวณแบบขนานและสามารถ คานวณทางวิทยาศาสตร์ไดด้ ี

บทท่ี 1 ความร้เู บื้องตน้ เกยี่ วกับคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ ชนิดของคอมพวิ เตอร์ นอกจากน้ียงั มีการประยกุ ตค์ อมพวิ เตอร์ จานวนมากบนเครือข่ายใหท้ างานร่วมกนั โดยกระจายการทางานไปยงั เคร่ืองต่างๆ บน เครือข่าย ท้งั น้ีทาใหป้ ระสิทธิภาพการคานวณ โดยรวมสูงข้ึนมาก เราเรียกระบบการ คานวณบนเครือขา่ ยแบบน้ีวา่ คอมพวิ เตอร์ แบบกริด (Grid Computer)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook