Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 7

บทที่ 7

Published by wanvisaaa2538, 2020-06-13 05:11:50

Description: บทที่ 7

Search

Read the Text Version

1

ศิลปนยิ ม 20300-1002 บทท่ี 7 หวั ขอ้ : ศลิ ปะกับวัฒนธรรม 2

บทที่ 7 ศลิ ปะกบั วัฒนธรรม มนุษย์มีความเปน็ ศลิ ปนิ โดยทั่วทุกคน จะต่างก็เพียงใครมีมากหรอื นอ้ ย และใครจะสามารถ ใชม้ ือในการแสดงออกได้มากกวา่ ใครเทา่ น้นั เพราะธรรมชาติมีอะไรท่ีพร้อมอยู่แลว้ มนุษยเ์ พียงแต่นาเอาสิ่ง ที่ธรรมชาติมอี ยแู่ ล้วนั้นมาสร้างสรรคจ์ ัดทาขึ้นใหม่ ก็จะได้ศิลปะอันเป็นส่งิ สร้างสรรค์อย่างหนงึ่ ท่ีมนุษย์สร้าง ขึน้ ดงั นัน้ ศิลปะจงึ เป็นหัวใจสาคัญยงิ่ ของการสรา้ งสรรค์ทั้งมวล ร่องรอยวถิ ีการดาเนนิ ชีวิตของมนุษย์ หรือเรียกอกี อยา่ งว่า วัฒนธรรม ของยุคต่าง ๆไดถ้ ูก บนั ทึกไวว้ ่า มสี ตปิ ญั ญา ความสามารถเพียงใดดว้ ยผลงานศิลปะนัน่ เอง ศิลปะกับวฒั นธรรมตา่ งเป็นเหตผุ ล ของกนั และกัน จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. บอกความหมายและท่ีมาของศลิ ปะกับวฒั นธรรมได้ 2. อธิบายความหมายและคุณลกั ษณะของศลิ ปะกบั วัฒนธรรมได้ 3. บอกบทบาท หนา้ ที่ และคณุ ค่าของศิลปะกับวฒั นธรรมได้ 1. ศิลปะเกดิ จากวฒั นธรรม เพราะวัฒนธรรมคือผลรวมแหง่ วถิ ีชีวิตของมนษุ ย์ เพ่อิ สนองตอบความต้องการทาง กาย ให้มีชีวติ อยรู่ อด พรอ้ มกับความเจรญิ งอกงาม ในการรบั รทู้ างกาย ทางสตปิ ญั ญา ทางอารมณ์ ทางสังคม ทางสนุ ทรยี ะ และการสร้างสรรค์ ศิลปะช่วยกลอ่ มเกลาและสนองตอบความตอ้ งการของวิถีชีวิตมนุษย์ไดด้ รี ะดับหนง่ึ เพราะสนุ ทรียะหรือความงามท่แี ฝงอยูใ่ นศลิ ปะนน้ั ๆสว่ นใหญม่ รี ะเบยี บแบบแผนของความงามท่ีมี พลังโน้มน้าวจิตใจของมนุษย์ใหค้ ิดดี ทาดีได้ ศลิ ปะจงึ ได้รับการสร้างขน้ึ เป็นสัญลกั ษณ์ของ วฒั นธรรมในแตล่ ะทางมากหลาย ด้วยรปู แบบของศิลปะท่ีเกย่ี วกบั เครอ่ื งใช้ เครอื ่งประดับ และรูป เคารพมาโดยตลอดตัง้ แตด่ กึ ดาบรรพ์ มวี ิถชี ีวติ เปน็ ตัวกาหนดท้ังทางตรงและทางอม้ จึงกลา่ วไดว้ า่ ศลิ ปะมวี ัฒนธรรมเป็นตัวกาหนดวา่ จะสรา้ งสรรคง์ านศิลปะประเภทใด 3

2.วัฒนธรรมเป็นตัวกากบั ดูแลศลิ ปะ เน่อื งจากวัฒนธรรมเปน็ วิถีการดาเนินชีวิตของทนษุ ย์ทสี่ งั คมแต่ละยคุ แตล่ ะกลุ่มยอมรบั วา่ ดีงาม มคี ณุ ค่าเปน็ มรดกแหง่ สงั คมควรท่จี ะรักษาและวฒั นธรรมก็มีสภาณภาพเปน็ นามธรรมทางจติ นยิ ม โดย ศิลปะเองกม็ ฐี านะเปน็ รูปธรรมของวฒั นธรรมนนั้ ๆ จงึ ชอบท่ีจะตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมแหง่ ยคุ ด้วยกรอบแห่งแบบแผนตามนน้ั หลายอย่างของแต่ละยคุ ยอ่ มมีการเปล่ยี นแปลง เมอ่ื แนวคิดและวสั ดุ สาหรบั ใช้ในการสร้างสรรค์ไดร้ บั การคิดค้นใหแ้ ปลกออกไป บนความเปลี่ยนแปลงนี้ แมจ้ ริงคือ การ สะทอ้ นภูมปิ ัญญา ความสามารถแห่งยุค ศลิ ปนิ ก็คอื มนษุ ยท์ ี่ต้องยงั ชีพด้วยปัจจัย 4 บางครั้งศิลปินกท็ างานแบบท่เี รียกวา่ อิสรเสรี โดย ไมใ่ ยดกี บั กระแสคา่ นิยมทางวฒั นธรรมแห่งสังคม ทาให้ไมม่ ีใครเรยี กรอ้ งหรือสนใจผลงานของศิลปิน วถิ ี ชีวิตของศิลปินเองกต็ ้องยากลาเค็ญ อดอยากสิ้นเนอ้ื ประดาตวั เพราะไม่มีค่านิยม จึงไม่มคี นนยิ มใน ผลงาน ในทางตรงข้ามกลบั มแี ต่ผู้วพิ ากษว์ ิจารณ์ ติเตียนต่าง ๆนานา ซง่ึ แท้จรงิ สงั คมมไิ ด้สนใจศึกษาไม่ เขา้ ใจ จึงเห็นเพยี งผลงานทา่ ร้างสรรคอ์ อกมาแปลกๆ ทาใหไ้ มต่ อบสนองไดเ้ พียงชอบหรอื ไมช่ อบ แต่ส่วน ใหญไ่ ปในทางไมส่ นบั สนนุ 3.ความงามทางศลิ ปะ ความงามทางศิลปะ เกิดจากสัญชาตญาณอนั เร้นลับกภายในที่กอ่ ตวั เกดิ ความรสู้ กึ ทางความงาม ความรูส้ กึ นีเ้ รียกว่า สุนทรียะ และความรู้สกึ ทางความงามมมี ูลเหตจุ ากการมองเหน็ วา่ ความสวยความ งามของธรรมชาตนิ ่าชน่ื ชมและซาบซงึ้ จนเป็นสงิ่ สะเทือนใจใหม้ นษุ ยเ์ กดิ ความนกึ คิดท่ีจะสรา้ งสรรค์ ความงามฝห้นอกเหนอื จากไปจากอกี ธรรมชาติท่มี ี จากสติปญั ญาและความสามารถท่แี สดงออกใน รปู แบบงานศลิ ปะที่มคี วามงาม ให้คนรนุ่ หลังไดพ้ นิ จิ ศึกษาเรียนรู้ พรอ้ มช่วยขัดเกลาจิตใจของมนุษยใ์ ห้ เกดิ ความซาบซ้ึงถึงความปราณตี ละเอียดออ่ นทางความงามทางศิลปะทเ่ี จอื ผสานไปสูศ่ ีลธรรมจรรยา ศาสนา และสังคมฉะนัน้ ความงามทางศิลปะจงึ เปน็ ผลงานท่ีมนษุ ย์สรา้ งข้ึนอย่างมีระเบียบแบบแผนและ มีขอบเขตเพอื่ ความ๓มใิ จแห่งตนและปิติยนิ ดแี ก่หม่คู ณะ ตอ่ เมอ่ื ไม่นานไปอกี 10-20 ปี หรือมากกว่านี้ ผู้คนจึงหันมานิยมชมชบอว่าเปน็ ของดี มอี ัจฉริย สร้างสรรค์ เชน่ แวนโกะ๊ ศลิ ปนิ ชาวฮอลันดา เม่อื มีชิวตเขาเขยี นภาพไว้มาก ทมุ่ เงินทองซ้อื สแี ละเฟรม สาหรบั เขียนภาพ จนกระท่ังต้องขายบ้าน ขายทกุ ส่งิ ทกุ อยา่ งจนหมดตัว เพราะผลงานเขายคุ นั้นไมเ่ ปน็ ที่นิยม ของสงั คมและวฒั นธรรม ผลงานจึงขายไมได้แมแ้ ต่ภาพเดยี ว จนภายหลังเขาตายในวยั น 87 ปี เขาจึง กลายเป็นบุคคลมีชอ่ื แต่ไรร้ ่าง โดยผู้สนบั สนนุ เผยแพรผ่ ลงานเขาไปท่ัวโลก เปรยี บไดก้ บั การทางานทุกด้าน หากไม่เหลียวแลวฒั นธรรมรอบตวั ขณะนั้นเปน็ เชน่ ไร ก็คอื การทางานอนั ไมถ่ กู ท่ี ไม่ถูกเวลา และไมถ่ กู คน แล้วจะมีประโยชน์อะไร 4

Self-Portrait with Bandaged Ear ปี ค.ศ. 1889 วนิ เซนต์ แวน โก๊ะ มีชอ่ื เสียงจากภาพเหมือนของตัวเองเป็นอย่างมาก เขาวาดภาพบคุ คล มากกว่า 30 คนในชว่ งชวี ิตของเขา ส่วนรูปนมี้ เี รื่องราวท่มี ีชอ่ื เสยี งอย่างมาก เน่ืองจากแวนโกะ๊ ได้ตัดหูข้าง ซ้ายของเขาดว้ ยใบมดี จากน้นั เขาก็ไปที่ซอ่ งโสเภณแี ละบอกกับหญงิ โสเภณีทช่ี อื่ เรเชลว่า “จงปกปอ้ งส่งิ น้ี ดว้ ยชีวติ ของคณุ ” นเี่ ป็นหนึง่ ในสองภาพที่เขาวาดขึน้ หลังจากเหตกุ ารณน์ ั้น จะสงั เกตได้ว่าหูขา้ งซา้ ยของเขา มผี า้ พันแผล และทาให้รไู้ ด้วา่ เขาวาดรูปตวั เองจากเงาสะทอ้ นในกระจก The Starry Night ปี ค.ศ. 1889 แม้ว่าจะเป็นภาพวาดจากความทรงจา แต่ผลงานชนิ้ โบวแ์ ดงน้แี สดงใหเ้ หน็ วิวนอก หนา้ ต่างจากห้องของเขาเองภายในหมบู ้าน Saint-Remy ในประเทศฝรั่งเศส งานช้นิ นี้แสดงถงึ ความสนใจ ในด้านดาราศาสตร์ และจากการศกึ ษาที่หอดูดาวกริฟฟิธ พาร์ค ได้แสดงให้เห็นว่า วินเซนตไ์ ด้วาดรูปทแี่ สดง ถงึ ดวงจันทร์ ดาวศุกร์ และดวงดาวอีกหลายดวงในตาแหน่งท่ีแนน่ อนในยามคา่ คืนภายใตท้ อ้ งฟ้าท่หี มุนวน ภาพวาดน้ถี ือเปน็ งานท่ยี ิ่งใหญท่ ่ีสดุ ในศลิ ปะตะวันตกและเป็นผลงานทม่ี ชี ่ือเสยี งที่สุดของ วนิ เซนต์ แวน โกะ๊ 5

3.ความสมั พันธร์ ะหวา่ งศลิ ปะกับวัฒนธรรม เพราะความท่ีตา่ งก็เป็นเหตุเป็นผลของกนั และกันอย่างแยกไม่ออก ดจุ เดยี วกบั ทเ่ี ราคุ้นเคยกบั คา ว่า ศิลปวฒั นธรรม ท่เี หมือนเปน็ คาคาเดยี ว ศิลปะถกู สรา้ งขน้ึ มาเพือ่ ตอบสนองทางกายทางใจสาหรบั มนษุ ยท์ พ่ี อใจจากการได้เหน็ ไดย้ ิน ได้ ใช้สอยสิง่ ทดี่ ีงาม ไพเราะเหมาะสม ไม่ว่าประยกุ ตศิลป์หรือวิตรศิลป์ ต่างก็มีวตั ถุประสงคท์ างการ สรา้ งสรรค์อันแนช่ ัดว่าเพอื่ มนุษยด์ ้วยกนั ได้เกดิ รบั ร้ถู ึงความงาม ความไพเราะ ความซาบซึ้ง ทีโ่ อนออ่ น ผอ่ นคลายทางใจทางอารมณ์ รจู้ กั ทีป่ ฏิบตั ติ น แต่งกาย บารุงตัว ตามแบบแผนของวัฒนธรรมแหง่ ยคุ ใช้ มือใหร้ ู้จักทาแต่สิ่งท่ีมีประโยชนด์ งี าม วิง่ เหล่านี้ล้วนเป็นวฒั นธรรมท้งั สน้ิ มีศลิ ปะเป็นตัวแสดงออกอยา่ ง เป็นณุปธรรมที่คอยโนม้ นาและชีถ้ ึงมุมสะทอ้ นของจิตนิยมทางวัฒนธรรมแห่งยคุ สมยั 4.บทบาท หนา้ ท่ี และคุณคา่ ของศลิ ปวัฒนธรรม ศิลปวฒั นธรรมเปน็ ผลงานสร้างสรรค์ของศิลปินทีไ่ ด้รับการยอมรบั ในสงั คมยุคนัน้ บทบาทของ ศิลปวฒั นธรรมบอกใหเ้ ราไดร้ ับรู้ถึงแนวความคดิ และรสนยิ มทางดา้ นความงาม อันเป็นส่วนหนึ่งของ วฒั นธรรมหรือวิถีการดาเนินชวี ิตของมนษุ ย์ในอดตี โดยสะทอ้ นภาพลักษณ์บางอยา่ งทีส่ บื ทอดมาจน ปัจจุบัน หน้าท่ขี องวฒั นธรรมจะต้องพิจารณาควบคู่กบั สภาพแวดลอ้ ม สภาพสังคม เพราะวฒั นธรรมจะ มีหนา้ ทถ่ี ่ายทอดความเช่อื ศาสนา สะท้อนภาพสงั คม แสดงความคิดสร้างสรรคข์ องศลิ ปิน สะทอ้ นบาง เหตุการณ์ ประวตั ิศาสตร์ คุณค่าของศิลปวตั ถุเปน็ สว่ นหน่งึ ของวัฒนธรรม ซึ่งมิไดม้ ีตากดั ไว้แต่ดา้ นความงามเพยี งอย่าง เดยี วหากได้มกี ารแสดงออกถึงแนวความคิดท่ีสรา้ งสรรค์แรงบนั ดาลใจเปน็ การสะทอ้ นภาพรวมของ วฒั นธรรมในสงั คมขณะที่สรา้ งศลิ ปวัตถุขึ้นมา โดยเฉพาะอย่างยิง่ ดา้ นประวัติศาสตร์ ควรแกก่ ารศกึ ษษใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ เพอ่ื ให้ผลของการช่อื ชมยินดีมีความหมายและตระหนักถงึ คณุ ค่าทางศิลปวัฒนธรรม ยิ่งข้ึน 6

7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook