Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิธีการทางศุลกากร (CUSTOM)

พิธีการทางศุลกากร (CUSTOM)

Published by Rung Sarinthon, 2019-06-26 23:25:49

Description: พิธีการทางศุลกากร (CUSTOM)

Search

Read the Text Version

พิธีการศุลกากรส่งออก ทางเรือ ในการส่งออกสินค้า ผู้ส่งออกจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และประกาศทีกรมศุลกากรและหน่ายงานอืนๆ ทีเกียวข้อง ในการส่งออกกําหนดไว้ใหค้ รบถ้วนเช่นเดียวกับการนาํ เข้า โดยมีคํา แนะนาํ ในการจัดเตรยี มเอกสาร เพือปฏิบัติตามขันตอนพิธีการ ศุลกากรในการส่งออกสินค้า ดังนี 49

1.ประเภทใบขนสินค้าขาออก 1.1 แบบกศก 101/1 ใบขนสินค้าขาออก ใช้สาํ หรบั ส่งออกในกรณีดังต่อ ไปนี - การส่งออกสินค้าทัวไป - การส่งออกของส่วนบุคคลและเอกสิทธิ - การส่งออกสินค้าจากคลังสินค้าทัณฑ์บน - การส่งออกสินค้าทีขอชดเชยค่าภาษีอากร - การส่งออกสินค้าทีขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ - การส่งออกสินค้าทีต้องการใบสุทธินาํ กลับ - การส่งออกสินค้ากลับออกไป (RE-EXPORT) 1.2 แบบ A.T.A. Carnet ใบขนสินค้าสาํ หรบั นาํ ของเข้าหรอื ส่งของออก ชัวคราว ใช้สาํ หรบั พิธีการส่งออกชัวคราวในลักษณะทีกําหนดใน อนุสัญญา 1.3 ใบขนสินค้าพิเศษสาํ หรบั รถยนต์และจักรยานยนต์นาํ เข้าหรอื ส่งออก ชัวคราว ใช้สาํ หรบั การส่งออกรถยนต์ และจักรยานยนต์ชัวคราว 2.เอกสารทีผู้ส่งออกควรจัดเตรียมในการส่งออกสินค้า 2.1 บัญชีราคาสินค้า (Invoice) 2.2 ใบอนุญาตส่งออกหรอื เอกสารอืนใดสาํ หรบั สินค้าควบคุมการส่ง ออก (ถ้ามี) 50

3. กระบวนการส่งสินค้าออกด้วยวธิ ีทางอิเล็กทรอนิกส์ 3.1 ผู้ส่งออกหรอื ตัวแทน ส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออก และบัญชีราคา สินค้า ทุกรายการจากเครอื งคอมพิวเตอรข์ องผู้ส่งออกหรอื ตัวแทน มายังเครอื งคอมพิวเตอรข์ องกรมศุลกากร โดยผ่านบรษิ ัทผู้ใหบ้ รกิ าร ระบบแลกเปลียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เมือเครอื งคอมพิวเตอรข์ องกรม ศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าขาออก และเมือข้อมูลถูกต้อง ครบถ้วนแล้วระบบจะออกเลขทีใบขนสินค้าขาออกให้ ผู้ส่งออกชาํ ระค่า ภาษีอากร (ถ้ามี) และชาํ ระค่าธรรมเนียมใบขนสินค้าผ่านธนาคาร 3.2 ผู้รบั ผิดชอบการบรรจุสินค้าเข้าตู้คอนเทนเนอร์ เมือบรรจุสินค้า เรยี บรอ้ ยแล้วจะส่งข้อมูลการบรรจุสินค้าเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอรข์ อง กรมศุลกากร ระบบจะทําการตรวจสอบข้อมูลและเมือถูกต้องไม่ผิด พลาด ระบบจะกําหนดเลขทีใบกํากับการขนย้ายสินค้า และส่งข้อมูลไปยัง ผู้รบั ผิดชอบการบรรจุเพือพิมพ์ใบกํากับการขนย้ายสินค้าพรอ้ มนาํ สินค้า ไปยังท่าหรอื ทีส่งออก 3.3 เจ้าหน้าทีศุลกากรทีท่าส่งออกจะทําการตรวจสอบนาํ หนัก และราย ละเอียดกับใบกํากับการขนย้ายสินค้าและบันทึกลงในระบบคอมพิวเตอร์ และตรวจสอบสถานะของใบขนสินค้าขาออกว่าเงือนไขเปนยกเว้นการ ตรวจ (GREEN LINE) หรอื ใหต้ รวจ (RED LINE) 51

3.4 ใบขนสินค้าขาออกทียกเว้นการตรวจ (GREEN LINE) สาํ หรบั ใบขนสินค้าขาออกประเภทนี ผู้ส่งออกสามารถดาํ เนินการนาํ สินค้าไปรบั บรรทุกขึนเรอื เพือส่งออกได้ทันที 3.5 ใบขนสินค้าขาออกทีถูกกําหนดเงือนไขใหต้ รวจ (RED LINE) ซงึ จะ ต้องตรวจสอบพิกัด ราคา และสินค้าใหถ้ ูกต้องตามหลักเกณฑ์ทีกําหนด (ท่าหรอื ทีใดทีมีการใช้เครอื งเอกซเรย์ใหใ้ ช้การตรวจสอบสินค้าขาออก ด้วยเครอื งเอกซเรย์) พรอ้ มทังตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนตามกฎ หมายอืนๆ ทีเกียวข้อง ก่อนจะตรวจปล่อย ณ ทีทําการศุลกากรเพือส่ง ออกต่อไป - หากไม่พบข้อสงสัยใดๆ ใหเ้ จ้าหน้าทีผู้ตรวจสอบ (เจ้าหน้าทีผู้ได้รบั การกําหนดชือ) ทําการบันทึกตรวจสอบว่า \"ตรวจสอบพอใจ\" ใน ระบบคอมพิวเตอร์ และของนันไม่ต้องทําการตรวจสอบ โดยการเปด ตรวจทางกายภาพอีก เว้นแต่กระทําเพือชักตัวอย่าง หรอื ประโยชน์ อืนใดในทางศุลกากรเท่านัน - หากพบข้อสงสัยใดๆ ใหท้ ําการเปดตรวจสินค้านันเพือการตรวจ สอบ และหากพบความผิดใหด้ าํ เนินการตามกฎหมายต่อไป 52

4. การแก้ไขข้อมูลใบกํากับการขนย้ายสินค้า และใบขนสินค้าขาออก 4.1 กรณีใบกํากับการขนย้ายสินค้ายังไม่ได้มีการตัดบัญชี ณ สถานีรบั บรรทุก (Matching) ผู้รบั ผิดชอบการบรรจุสามารถแก้ไขข้อมูลใบ กํากับการขนย้ายสินค้าได้ด้วยตนเอง 4.2 กรณีใบกํากับการขนย้ายสินค้าทีได้มีการตัดบัญชี ณ สถานีรบั บรรทุก(Matching) แล้ว ผู้รบั ผิดชอบการบรรจุต้องยืนคํารอ้ งขอ แก้ไขข้อมูลใบกํากับการขนย้ายสินค้าต่อเจ้าหน้าศุลกากร ดังนี - รหสั สถานทีตรวจปล่อย - เลขทีตู้คอนเทนเนอรไ์ ม่ถูกต้อง - การเปลียนแปลงหรอื ยกเลิกหรอื เพิมเลขทีใบขนสินค้าขาออก - การเปลียนชือเรอื เทียวเรอื - การเปลียนตู้คอนเทนเนอร์ - อืนๆ กรณีผู้รบั ผิดชอบการบรรจุไม่มาดาํ เนินการยืนคํารอ้ งเพือขอแก้ไขเรอื ง ใดๆ ตามข้อ 4.2 สินค้าในตู้คอนเทอนเนอรด์ ังกล่าวจะไม่ได้รบั การบรรทุก ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ 53

4.3 กรณีมีปญหาเกียวกับข้อมูลในใบขนสินค้าขาออก หลังการส่งออกผู้ ส่งออกต้องยืนคํารอ้ งขอแก้ไขข้อมูล มีดังนี - การตรวจรบั กลับคืน ยกเลิกการส่งออก - การส่งออกไม่ครบ (SHORT PACKING) แต่ไม่ได้ส่งข้อมูลมา แก้ไข ทางอิเล็กทรอนิกส์ภายใน 10 วันนับแต่วันตัดบัญชีใบกํากับ การขนย้าย เจ้าหน้าทีศุลกากรจะพิจารณาอนุญาตเปนการเฉพาะราย - กรณีมีปญหาเกียวกับใบอนุญาต ใหน้ าํ ใบอนุญาต/ใบรบั รอง ติดต่อ หน่วยบรกิ ารศุลกากรประจาํ ท่า/ทีส่งออก ภายใน 15 วันนับแต่วันที ตัดบัญชีใบกํากับการขนย้ายสินค้า - การแก้ไขเรอื งอืนๆ ภายหลังการส่งออก จะพิจารณาอนุญาต เปนการเฉพาะราย 54

5. ข้อควรทราบในการส่งสินค้าออก การใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรทีเกียวข้องกับการส่งออก 5.1 การคืนอากรตามมาตรา 19 (RE-EXPORT) 5.2 การคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิ (การคืนอากรทีได้ชาํ ระไว้ขณะนาํ เข้าเพือทําการผลิตและส่งออก) 5.3 การขอชดเชยค่าภาษีอากร 5.4 การส่งเสรมิ การลงทุน (BOI) 5.5 คลังสินค้าทัณฑ์บน 5.6 เขตปลอดอากร (Free Zone) 5.7 เขตประกอบการเสรี (IEAT-FREE ZONE) 55

56

พิธีการศุลกากรส่งออก สินค้าทางอากาศ การปฏิบัติพิธีการส่งออกสินค้า ณ สาํ นักงานศุลกากร ตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ การปฏิบัติพิธีการศุลกากรส่งออกสินค้าทางอากาศยาน ในปจจุบัน เปนการดาํ เนินการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบ ไรเ้ อกสาร โดยมีจุดมุ่งหมาย ในการอํานวยความสะดวก ทางการค้าและเพือส่งเสรมิ ความสามารถในการแข่งขันบน เวทีการค้าโลกผู้ทีประสงค์จะดาํ เนินการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรส่งออกสินค้าทางอิเล็กทรอนิกส์แบบไรเ้ อกสาร (e-Export) ณ สาํ นักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่า อากาศยานสุวรรณภูมิ ต้องทําการลงทะเบียนกับกรม ศุลกากร ประกาศกรมศุลกากรที 25/2557 ลงวันที 19 มีนาคม พ.ศ. 2557 เพือบันทึกข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลระบบ คอมพิวเตอรข์ องกรมศุลกากร โดยมีขันตอนต่างๆด้าน พิธีการศุลกากรดังต่อไปนี 57

ขันตอนการปฏิบัติพิธีการส่งออก ณ เขตปลอดอากรท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิ สาํ หรบั ผู้ส่งของออกทีไม่ได้ตังตัวแทนออกของในการปฏิบัติพิธีการ ศุลกากร ผู้ส่งของออก สามารถดาํ เนินการด้วยตนเองได้โดยปฎิบัติ ดังนี 1. ลงทะเบียน เปนผู้ผ่านพิธีการศุลกากรหรอื ดาํ เนินการในกระบวนการ ศุลกากร ได้ทีทําการศุลกากรทัวประเทศ สาํ หรบั การลงทะเบียน ณ เขต ปลอดอากรท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ 1.1 หลักฐานทีใช้ในการลงทะเบียน 1.1.1 กรณีนิติบุคคลหรอื บุคคลทีเข้าระบบภาษีมูลค่าเพิม - สาํ เนาภาพถ่ายหนังสือรบั รองการเปนหนุ้ ส่วนหรอื บรษิ ัท ซงึ ออกใหไ้ ม่เกิน 6 เดือน - สาํ เนาภาพถ่ายบัตรประจาํ ตัวผู้เสียภาษีอากรหรอื ภ.พ.20 หรอื ภ.พ.09 - Bank Statement หรอื สมุดบัญชีเงินฝากออมทรพั ย์ใน นามบรษิ ัท หา้ งรา้ น (ถ้ามี) - สาํ เนาภาพถ่ายหรอื หนังสือรบั รองตราสาํ คัญของบรษิ ัท (บอจ.3) หรอื หา้ งหนุ้ ส่วน (หส.2)**กรณีหนังสือรบั รองระบุ เงือนใขต้องประทับตราสาํ คัญของบรษิ ัทหรอื หา้ งหนุ้ ส่วน - บัตรประจาํ ตัวประชาชนหรอื หนังสือเดินทาง(Passport) ของ ผู้มีอํานาจลงนาม - ใช้แบบคําขอฯตามประกาศกรมศุลกากรที 25/2557 หมายเลข1** 58

1.1.2 กรณีสาํ หรบั บุคคลธรรมดา - บัตรประจาํ ตัวประชาชนหรอื หนังสือเดินทาง (Passport) - ใช้แบบคําขอทะเบียนตามประกาศกรมศุลกากรที 25/2557 หมายเลข 1-1**  โดยสามารถ Load แบบคําขอฯ ได้ที Website ของกรมศุลกากรที www.customs.go.th 2. ส่งข้อมูลใบขนสินค้า ผู้ส่งของออกสามารถส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออก ได้ 4 ช่องทาง ได้แก่ 2.1. ผู้ส่งของออกส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออกด้วยตนเอง 2.2. ผู้ส่งของออกมอบหมายใหต้ ัวแทนออกของ (Custom Broker) เปนผู้ส่งข้อมูลแทน 2.3 ผู้ส่งของออกใช้เคาน์เตอรบ์ รกิ าร(Service Counter) ใน การ ส่งข้อมูล โดยสามารถติดต่อ Counter Services ได้ทีชันลอย ศูนย์ อาหารอาคาร BC-2 & P2 และทีอาคาร AO 1-4 เพือส่งข้อมูลใบขน สินค้าและข้อมูลใบกํากับการขนย้ายสินค้า  2.4 ผู้ส่งของออกใช้บรกิ ารส่งข้อมูลโดยเจ้าหน้าทีศุลกากรทีฝาย บรกิ ารศุลกากร 2.1 ส่วนบรกิ ารศุลกากร 2 อาคาร CE ชัน 1 โดยผู้ส่ง ของออกยืนรายละเอียดข้อมูลเกียวกับใบขนสินค้า พรอ้ มบัตร ประชาชน หรอื หนังสือเดินทาง และชาํ ระค่าธรรมเนียม 59

เอกสารทีใชด้ ําเนินการ 1. ใบขนสินค้าขาออกซงึ ลงลายมือชือผู้ส่งของออก/ผู้รบั มอบอํานาจ แล้ว จาํ นวน 2 ชุด 2. บัญชีราคาสินค้า (Invoice) 3. Air Waybill 4. Packing list (ถ้ามี) 5. รายละเอียดข้อมูลใบขนสินค้าและใบกํากับการขนย้ายสินค้าทาง อากาศยาน 1 ชุด ผู้ส่งของออกต้องส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาออก และส่งข้อมูลใบกํากับ การขนย้ายสินค้าทางอากาศยาน พรอ้ มกันในคราวเดียวก่อนการขนย้าย ของส่งออกผ่านจุดทีกําหนด checking post เลขทีใบกํากับฯ จะใช้เลข ทีเดียวกันกับใบขนสินค้า ทังนีใหย้ ืนข้อมูลก่อนตารางเวลา (Vessel Schedule) ทีอากาศยานจะออกไปนอกราชอาณาจักรไม่น้อยกว่า 6 ชัวโมง 60

3. ปฏิบัติพิธีการส่งออก ผู้ส่งของออกหรอื ตัวแทนแสดงใบกํากับการ ขน ย้ายสินค้าทางอากาศยานและ Air Waybill ใหแ้ ก่เจ้าหน้าทีศุลกากร ส่วน บรกิ ารศุลกากร 2 (อาคาร CI) เมือเจ้าหน้าทีศุลกากรตรวจสอบใบกํากับ การขนย้ายสินค้าทางอากาศยานแล้วพบว่า มีข้อมูลอยู่ในระบบ คอมพิวเตอรข์ องศุลกากร เจ้าหน้าทีศุลกากรจะดาํ เนินการ ดังนี 3.1 กรณี ยกเว้นการตรวจ (Green Line) เจ้าหน้าทีศุลกากรลง ลายมือ     ชือ ประทับตราชือ และวันเดือนป ในใบกํากับการขนย้าย สินค้าทางอากาศยาน 3.2 กรณี เปดตรวจ (Red Line) ระบบจะกําหนดชือเจ้าหน้าที ศุลกากร เพือเปดตรวจสินค้าตามระเบียบปฏิบัติและกฎหมายศุลกากร เมือเจ้าหน้าทีได้ตรวจสินค้าถูกต้องครบถ้วนแล้วเจ้าหน้าทีจะลงลายมือ ประทับตราชือ และวันเดือนป ในใบกํากับการขนย้ายสินค้าทาง อากาศยาน 3.3 กรณีต้อง X-Ray สินค้า เจ้าหน้าทีศุลกากรจะดาํ เนินการ X-Ray เมือเหน็ ว่าถูกต้องเรยี บรอ้ ยแล้ว จะประทับตรา \"X-RAY\" พรอ้ มลง ลายมือ ประทับตราชือ และวันเดือนป ในใบกํากับการขนย้ายสินค้าทาง อากาศยาน **เมือผ่านกระบวนการข้างต้นแล้ว เจ้าหน้าทีศุลกากรจะคืนใบกํากับการขน ย้ายสินค้าใหผ้ ู้ส่งของออกหรอื ตัวแทนเพือนาํ สินค้าไปทียังคลังสินค้า และ ดาํ เนินการตรวจชังนาํ หนักและส่งมอบของใหค้ ลังสินค้าเพือทําการส่ง ออก 61

3.4 นาํ สินค้าพรอ้ มทังสาํ เนาใบกํากับการขนย้ายสินค้า, Air waybill ไปแสดงต่อเจ้าหน้าทีคลังสินค้า (Terminal Operator: TMO) ซงึ ขึนอยู่กับสายการบินทีผู้ส่งของออกใช้บรกิ าร (ควรตรวจสอบสายการ บินทีใช้บรกิ ารว่าอยู่ ณ คลังสินค้า (TMO) TG หรอื BFS) เพือชังนาํ หนักสินค้าและรอบรรทุกขึนเครอื งต่อไป 3.5 คลังสินค้า (Terminal Operator: TMO) ส่งข้อมูล e- Manifest เข้าสู่ระบบคอมพิวเตอรข์ องกรมศุลกากร เพือการประมวล ผลรบั บรรทุกโดยอัตโนมัติ ซงึ ผู้ประกอบการสามารถนาํ ข้อมูลไปใช้ สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษีอากรได้ทันทีทีสถานะใบขนสินค้าเปน 0409 ** สินค้าและใบกํากับการขนย้ายสินค้าทีข้อมูลถูกต้องแล้วควรมาถึง หน่วยบรกิ ารศุลกากร ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ก่อนเทียวบินออกไม่น้อย กว่า 2 ชัวโมง 62

กรณีต้องผ่านการอนุมัติจากหน่วยงานอืน 1. ใบขนสินค้าขาออกทีมีคําสังยกเว้นการตรวจ (Green Line) กรณีต้องผ่านการอนุมัติ/อนุญาต/รบั รอง จาก หน่วยงานอืนทีเกียวข้องกับการศุลกากร ใหผ้ ู้ส่งของ ออกนาํ เอกสาร เช่น เอกสารเพือประกอบการใช้สิทธิ พิเศษทางภาษีอากร ใบอนุญาต / ใบทะเบียน / หนังสือ อนุญาต ตามเงือนไขของกฎหมายทีเกียวข้อง สาํ หรบั ของทีส่งออกตามบัญชีราคาสินค้าทีส่งออกเปนเฉพาะ ครงั ก่อนการส่งออก ยืนต่อเจ้าหน้าทีหน่วยบรกิ าร ศุลกากร ส่วนบรกิ ารศุลกากร 2 ณ วันทีปฎิบัติพิธีการ ศุลกากร หรอื ภายใน 15 วัน นับตังแต่วันตัดบัญชีใบ กํากับการขนย้ายสินค้า หากไม่ยืนเอกสารเอกสารใหถ้ ูก ต้องครบถ้วนและภายในกําหนดเวลามีความผิดตาม ประมวลระเบียบปฏิบัติกําหนด 2. ใบขนสินค้าขาออกทีมีคําสังใหเ้ ปดตรวจ (Red Line) เพือตรวจสอบพิกัด ราคา และของ ใหผ้ ู้ส่งของ ออกนาํ เอกสาร เช่น เอกสารเพือประกอบการใช้สิทธิ พิเศษทางภาษีอากร ใบอนุญาต / ใบทะเบียน / หนังสือ อนุญาต ตามเงือนไขของกฎหมายทีเกียวข้อง ยืนต่อ เจ้าหน้าทีศุลกากร ขณะทําการตรวจของทีส่งออกนัน 63

ข้อพึงระวงั 1. การบันทึก MASTER AWB. เช่น 21712860008 ใหบ้ ันทึกโดยไม่ ได้ขีดหรอื เว้นวรรค และไม่มีอักษรใดๆ 2. การบันทึกหมายเลข HOUSE AWB. ใหบ้ ันทึกโดยพิมพ์ตัวอักษร และตัวเลข ใหต้ ิดกัน โดยไม่ขีดหรอื เว้นวรรค เช่น CTI0012 3. กรณี Direct Shipment ใหร้ ะบุเลข House Airway Bill และ Master Airway Bill ใหเ้ ปนเลขเดียวกัน 4. กรณีการผ่านพิธีการส่งข้อมูล e-Export ด้วยระบบ Manual ให้ ติดต่อทีฝายบรกิ ารศุลกากรที 2.1 ส่วนบรกิ ารศุลกากร 2 (อาคาร CE ชันล่าง) ก่อนเทียวบินออกไม่น้อยกว่า 6 ชัวโมง 64

การขอแก้ไขข้อมูลการส่งออกสินค้า 1. กรณีทีสินค้าส่งออกไปนอกราชอาณาจักรไม่ครบตามจาํ นวน (Short Packing)  1.1 ผู้ส่งของออกสามารถส่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เข้าสู่ระบบ คอมพิวเตอรข์ องศุลกากรเพือแก้ไขข้อมูลรายการของสินค้าทีไม่ได้ ส่งออก และยืนยันปรมิ าณ หรอื จาํ นวนหบี หอ่ สินค้าทีส่งออกใหถ้ ูก ต้องตรงตามความเปนจรงิ ได้ โดยไม่ต้องมีการพิจารณาความผิด ภายใน 10 วัน นับแต่วันตัดบัญชีใบกํากับการขนย้ายสินค้า 1.2 หากต้องการแก้ไขข้อมูล ภายหลัง10 วันนับแต่วันตัดบัญชีใบ กํากับการขนย้ายสินค้าทางอากาศยานไปแล้วนัน กรณีใบขนสินค้า Green Line ใหย้ ืนคํารอ้ งขอแก้ไขข้อมูลดังกล่าวต่อฝายบรกิ าร ศุลกากรที 2.1 ส่วนบรกิ ารศุลกากร 2 (อาคาร CE ชันล่าง) ส่วน ใบขนสินค้า Red Line ยืนต่อเจ้าหน้าทีผู้ตรวจตัดบัญชีใบกํากับ การขนย้ายสินค้าทางอากาศยาน ณ หน่วยบรกิ ารศุลกากร โดยจะ พิจารณาความผิดตามกฎหมายต่อไป 2. กรณีทีต้องการขอตรวจรบั สินค้ากลับคืน หรอื ยกเลิกการส่งออก ให้ ผู้ส่งของออกจัดทําคํารอ้ งแบบแสดงขอตรวจรบั สินค้ากลับคืน / ยกเลิกการส่งออกตามแบบแนบท้ายประกาศกรมศุลกากรที 128/2556 เพือแก้ไขข้อมูลใบขนสินค้าใหถ้ ูกต้อง 65

3. กรณีการขอแก้ไขข้อมูลใบขนสินค้าในเรอื งอืน ๆ ภายหลังการส่ง ออกใหย้ ืน คํารอ้ งทีฝายบรกิ ารศุลกากรที 2.1 ส่วนบรกิ ารศุลกากร 2 (อาคาร CE) 4. กรณีทีมีการเปลียนแปลงชืออากาศยาน หรอื เทียวบิน วันทีส่งออก เลขทีแอรเ์ วย์บิล ใหผ้ ู้ส่งของออกหรอื ตัวแทน จัดทําคํารอ้ งขอแก้ไขชือ อากาศยานเทียวบิน วันที ส่งออก เลขทีแอรเ์ วย์บิล ตามแบบแนบท้าย ในประกาศกรมศุลกากรที 34/2554 66

67

พิธีการสาํ หรับสินค้าถ่าย ลํา/ผ่านแดน นิยาม การผ่านแดน คือ การขนส่งของผ่านประเทศไทย จากด่านศุลกากรแหง่ หนึงทีขนส่งของเข้ามา ไปยังด่านศุลกากรอีกแหง่ หนึงทีขนส่งของออกไป ภายใต้การควบคุมของศุลกากร โดยมีจุดเรมิ ต้นและสินสุดของการขนส่ง อยู่นอกราชอาณาจักร การขนส่งของนันอาจมีการเปลียนถ่ายยานพาหนะ การเก็บรกั ษาของ การเปลียนภาชนะบรรจุเพือประโยชน์ในการขนส่ง การ เปลียนรูปแบบการขนส่งได้ แต่ทังนี ต้องไม่มีการใช้ประโยชน์ใดๆ ซงึ ของ นัน หรอื มีพฤติกรรมใดๆ เพือประโยชน์ทางการค้าเกียวกับของดังกล่าวใน ระหว่างการผ่านประเทศไทย การผ่านแดนในปจจุบัน มี 2 รูปแบบ คือ 68

1.การผา่ นแดนตามความตกลงระหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ 1.1 ความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ ทางถนนระหวา่ งรฐั บาลแหง่ ราช อาณาจกั รไทยและรฐั บาลแหง่ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ผทู้ ี ทําหนา้ ทีรบั ผดิ ชอบการขนสง่ เรยี กวา่ ผขู้ นสง่ ผา่ นแดน ซงึ ต้องเปนผทู้ ีได้ รบั อนมุ ตั ิจากกรมการขนสง่ ทางบกในการทําหนา้ ทีขนสง่ ของผา่ นแดน และ การขนสง่ ต้องดาํ เนนิ การความตกลงฯ ในเรอื งดา่ นศุลกากรทีเปน ดา่ นศุลกากรผา่ นเขา้ และออก และ เสน้ ทางการขนสง่   1.2 ความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ สนิ ค้าผา่ นแดนระหวา่ งประเทศไทยกับ ประเทศมาเลเซยี โดยการรถไฟแหง่ ประเทศไทยเปนผรู้ บั ผดิ ชอบในฐานะผู้ ขนสง่ ผา่ นแดน เนอื งจากเปนการขนสง่ สนิ ค้าของมาเลเซยี ระหวา่ งฝง ตะวนั ออกไปยงั ฝงตะวนั ตกของคาบสมุทรมาเลเซยี โดยทางรถไฟใน ประเทศไทย (ดา่ นศุลกากรทีรบั ผดิ ชอบ คือ ดา่ นศุลกากรปาดงั เบซาร์ และ ดา่ นศุลกากรสไุ หงโก-ลก) 69

2. การผา่ นแดนตามความตกลง GATT 1994 ผทู้ ีทําหนา้ ทีรบั ผดิ ชอบการ ขนสง่ นี เรยี กวา่ ผขู้ อผา่ นแดน รายละเอียดตามเอกสารแนบ Click การถ่ายลํา คือ การถ่ายของจากยานพาหนะหนงึ ทีขนสง่ ของเขา้ มาใน ประเทศไทย ไปยงั อีกยานพาหนะหนงึ ทีขนสง่ ของออกไปนอกราชอาณาจกั ร ภายใต้การควบคมุ ของศุลกากรในดา่ นศุลกากรแหง่ เดยี วกัน โดยมจี ุดเรมิ ต้น และสนิ สดุ ของการขนสง่ อยูน่ อกราชอาณาจกั ร 70

ความรบั ผดิ ในเรอื งอากรขาเขา้ และ อากรขาออก 1.ของผา่ นแดน หรอื ถ่ายลํา ทีไดย้ นื ใบขนสนิ ค้าตามแบบ และ ดาํ เนนิ การตาม หลักเกณฑ์ วธิ กี ารและเงือนไขทีอธบิ ดกี ําหนด และไดน้ าํ ของออกไปนอก ประเทศไทยภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ทีนาํ เขา้ มาในราชอาณาจกั ร ของนนั ไมอ่ ยู่ ภายใต้ความรบั ผดิ ทีจะต้องเสยี อากร กล่าวคือ ไมต่ ้องชาํ ระอากรขาเขา้ และ อากรขาออก 2.ของผา่ นแดน หรอื ถ่ายลําทีมกี ารยนื คําขอเปลียนเปนการนาํ เขา้ ภายใน กําหนด 30 วนั นบั แต่วนั ทีนาํ เขา้ มาในราชอาณาจกั ร และไดป้ ฏิบตั ิครบถ้วน ตามกฎหมายศุลกากรและกฎหมายอืนทีเกียวกับการนาํ เขา้ ของนนั ต้องชาํ ระ อากรขาเขา้ โดยคํานวณตามสภาพของ ราคาของ และพกิ ัดอัตราศุลกากร ที เปนอยูใ่ นเวลาทีนาํ ของนนั เขา้ มาในราชอาณาจกั ร 71

3.ของผา่ นแดนตามความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ ทางถนนระหวา่ งรฐั บาลแหง่ ราชอาณาจกั รไทยและรฐั บาลแหง่ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทีไม่ ไดน้ าํ ออกไปนอกประเทศไทย หรอื ไมม่ กี ารยนื คําขอเปลียนเปนการนาํ เขา้ ภายใน 90 วนั นบั แต่วนั ทีนาํ เขา้ มาในราชอาณาจกั ร ของนนั ตกเปนของตกค้า 4.ของผา่ นแดนตามความตกลงGATT 1994 หรอื ของถ่ายลํา ทีไมไ่ ดน้ าํ ออก ไปนอกประเทศไทย หรอื ไมม่ กี ารยนื คําขอเปลียนเปนการนาํ เขา้ ภายใน 30 วนั นบั แต่วนั ทีนาํ เขา้ มาในราชอาณาจกั ร ของนนั ตกเปนของแผน่ ดนิ 72

การขอเปนผขู้ นสง่ ผา่ นแดน ผขู้ อผา่ นแดน ผขู้ อถ่ายลํา ผทู้ ีประสงค์จะขอเปนผขู้ นสง่ ผา่ นแดน หรอื ผขู้ อผา่ นแดน หรอื ผขู้ อ ถ่ายลํา ต้องเปนผทู้ ีมคี ณุ สมบตั ิตามทีกรมศุลกากรกําหนดและยนื คําขอ อนมุ ตั ิ เมอื ไดร้ บั อนมุ ตั ิแล้วต้องทําสญั ญาประกันทัณฑ์บนและวางหลักประกัน เปนเงินสดหรอื หนงั สอื คําประกันของธนาคารเปนประกันการดาํ เนนิ การ โดยผู้ ขอผา่ นแดนทีจดทะเบยี นเปนผขู้ อถ่ายลําดว้ ยสามารถใชห้ ลักประกันจาํ นวน เดยี วกันคําประกันการดาํ เนนิ การทังสองประเภทได้ และ หากเปนผปู้ ระกอบ การ AEO สามารถใชห้ ลักประกันของAEO คําประกันไดด้ ว้ ย แต่เฉพาะ ผขู้ อ ผา่ นแดนทีขอเปนผขู้ นสง่ ผา่ นแดนดว้ ยต้องวางหลักประกันแยกกัน โดยหลัก ประกันดงั กล่าวครอบคลมุ การดาํ เนนิ การทกุ ครงั ทีมกี ารขนสง่ ทังนผี ไู้ ดร้ บั อนมุ ตั ิเปนผขู้ นสง่ ผา่ นแดน หรอื ผขู้ อผา่ นแดน หรอื ผขู้ อถ่ายลํา อาจเลือก การวางหลักประกันเปนแบบรายเทียวก็ได้ 73

พธิ กี ารศุลกากรในการขนยา้ ยของผา่ นแดน และ ถ่ายลํา  ผขู้ นสง่ ผา่ นแดน หรอื ผขู้ อผา่ นแดน หรอื ผขู้ อถ่ายลํา ทีไดร้ บั อนมุ ตั ิ ต้องจดั ทําใบขนสนิ ค้าผา่ นแดนหรอื ใบขนสนิ ค้าถ่ายลําในระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ แบบไรเ้ อกสารตามทีกรมศุลกากรกําหนด ยกเวน้ การผา่ นแดนทางรถไฟตาม ความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ สนิ ค้าผา่ นแดนระหวา่ งประเทศไทยกับประเทศ มาเลเซยี ใหใ้ ชใ้ บขนสนิ ค้าผา่ นแดนในรปู แบบกระดาษ เรยี กวา่ แบบ 448 74

อ้างอิง http://www.customs.go.th/cont_strc_simple.php? xleft_menu=menu_business_160421_02_160421 _01_160914_01&ini_menu=menu_business_160 421_02&ini_content=business_160426_02_1604 26_01&root_left_menu=menu_business_160421 _02_160421_01&lang=th&left_menu=menu_busi ness_160421_02_160421_01 75

พิธีการทางศุลกากร (CUSTOM) จดั ทําโดย นางสาวศรนิ ทร จนั ทรอ์ าหาร ระดับปวส.2 แผนกการท่องเทียว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook