Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore IPIH-5

IPIH-5

Published by rapepan36, 2021-03-01 03:58:24

Description: IPIH-5

Search

Read the Text Version

Important Person in History บุคคลสาํ คัญในประวตั ิศาสตร์ เสนอ คณุ ครูวุฒชิ ยั เชอื มประไพ โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม เขตพนื ทีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 1



Important Person in History บุคคลสาํ คัญในประวตั ิศาสตร์ สมาชกิ นายชัยยง ลาภสาธิต เลขท่1ี นายนลาธปิ สุขมุ ปาลกลุ เลขที่2 นายพเิ ชษฐ ลลิ ากุด เลขที3 นายภาวตั แกว แกมคง เลขท่ี 5 นายอดเิ ทพ ธรี ภาพธรรมกลุ เลขที่ 13 นางสาวกนกพร เดนิ รบิ รัมย เลขที่ 15 นางสาวกวินทรา ทองโม เลขที่ 17 นางสาวนแิ ลน มีเติม เลขที่ 25 นางสาวปานไพลนิ สีเปรม เลขที่ 27 นางสาวระพีพรรณ มากกล่ิน เลขที่ 33 เสนอ คณุ ครูวุฒชิ ยั เชอื มประไพ โรงเรนี มธั ยมวดั หยองแขม เขตพนื ทีการศึกษาัธยมศึกษาขต 1

Perface คํานาํ หนังสอื เล่มนีจดั ทําขนึ เพอื เปนสว่ นหนึงของ วชิ าประวตั ิศาสตรช์ นั มธั ยมศึกษาปที 5 หอ้ ง 5 เพอื ใหไ้ ด้ ศึกษาหาความรูใ้ นเรอื งบุคคลสาํ คัญในประวตั ิศาสตรช์ าติ ไทยและได้ศึกษาอยา่ งเขา้ ใจเพอื เปนประโยชน์กับบทเรยี น คณะผจู้ ดั ทําหวงั วา่ หนังสอื เล่มนีจะเปน ประโยชน์กับผอู้ ่านหรอื นักเรยี นนักศึกษาทีกําลังหาขอ้ มูล ในการทําเรอื งบุคคลประวตั ิศาสตรห์ ากมขี อ้ แนะนําหรอื ขอ้ ผดิ พลาดประการใดผจู้ ดั ทําขอน้อมรบั ไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทีนีด้วย คณะผจู้ ดั ทํา

Contents หนา้ ก เรอื ง ข คํานาํ สารบญั 1 พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกล้าเจา้ อยูห่ วั 2 สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง 3 พระบาทสมเดจ็ พระปนเกล้าเจา้ อยูห่ วั 4 กรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ 5 สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง 6 พระวภิ าคภวู ดล 7 พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตย์ 8 พอ่ ขุนรามคําแหงมหาราช 9 พระมหาธรรมราชาที 1 10 สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี 1 11 พระบรมไตรโลกนาถ 12 สมเดจ็ พระสรุ สิ รุ โิ ยทัย 13 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช 14 สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช 15 สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช 16 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 17 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย 18 พระบาทสมเดจ็ พระนงั เกล้าเจา้ อยูห่ วั 19 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั 20 พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั 21 รายการอ้างอิง

พระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ครงั ดาํ รงตําแหนง่ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าชฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ในดา้ นการสาธารณสขุ โปรดใหส้ รา้ งโรงพยาบาลสมเดจ็ พระยุพราชขนึ เพอื ใหก้ ารรกั ษาพยาบาลผเู้ จบ็ ปวยในถินทรุ กันดาร พระองค์ทรงเปนองค์นายกกิตติมศักดิ ของมูลนธิ โิ รงพยาบาล สมเดจ็ พระยุพราช เมอื วนั ที 11 สงิ หาคม พ.ศ. 2560 สมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั พระราชทานเงินจาํ นวน 100 ล้าน บาท ซงึ เปนรายไดจ้ ากการจาํ หนา่ ยสมุดไดอารี ภาพการต์ นู ฝพระหตั ถ์ เพอื สมทบทนุ สรา้ ง อาคารนวมนิ ทรบพติ ร 84 พรรษา โรงพยาบาลศิรริ าช คณะ แพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล 1

สมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ พระบรมราชนิ นี าถ ทรงปฏิบตั ิพระราช ภารกิจมากมาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ภารกิจในการสง่ เสรมิ คณุ ภาพชวี ติ อาชพี และความเปนอยูข่ องบุคคลผยู้ ากไร้ และประชาชนในชนบทหา่ งไกล ไดโ้ ดย เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ไปทัวทกุ หนแหง่ ในแผน่ ดนิ ไทยนี โครงการทีมสี าขาขยายกวา้ งขวางไปทัวประเทศโครงการหนงึ ก็คือ โครงการสง่ เสรมิ ศิลปาชพี ซงึ ในภายหลังทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯใหก้ ่อตัง เปนรปู มูลนธิ ิ พระราชทานนามวา่ \"มูลนธิ สิ ง่ เสรมิ ศิลปาชพี พเิ ศษในพระบรม ราชนิ ปู ถัมภ์\" เมอื วนั ที 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 และเมอื พ.ศ. 2528 ไดเ้ ปลียน ชอื เปน มูลนธิ สิ ง่ เสรมิ ศิลปาชพี ในสมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ พระบรม ราชนิ นี าถ อันเปนการสง่ เสรมิ อาชพี และขณะเดยี วกันยงั อนรุ กั ษ์และสง่ เสรมิ งานศิลปะพนื บา้ นทีมคี วามงดงามหลายสาขา เชน่ การปน การทอ การจกั สาน เปนต้น 2

พระบาทสมเดจ็ พระป่นิ เกลา้ เจา้ อยู่หวั พระบาทสมเดจ็ พระปนเกล้าเจา้ อยูห่ วั ทรงใฝพระราชหฤทัยใน วชิ าการดา้ นจกั รกลมาก และเพราะเหตทุ ีพระองค์โปรดการทหาร จงึ ทรง สนพระราชหฤทัยเกียวกับอาวุธยุทธภัณฑ์เปนพเิ ศษ เท่าทีค้นพบพระ บรมฉายาลักษณข์ องพระองค์นนั ก็มกั จะทรงฉลองพระองค์เครอื งแบบ ทหาร และเปนเครอื งแบบทหารเรอื ดว้ ย แต่เปนทีนา่ เสยี ดายวา่ ไมม่ กี าร บนั ทึกพระราชประวตั ิในสว่ นทีทรงสรา้ งหรอื วางแผนงานเกียวกับกิจการ ทหารใด ๆ ไวบ้ า้ งเลย แมใ้ นพระราชพงศาวดาร หรอื ในจดหมายเหตตุ ่าง ๆ ก็ไมม่ กี ารบนั ทึกผลงานพระราชประวตั ิในสว่ นนไี วเ้ ลย และแมพ้ ระองค์ เองก็ไมโ่ ปรดการบนั ทึก ไมม่ พี ระราชหตั ถเลขา หรอื มแี ต่ไมม่ ใี ครเอาใจใส่ ทอดทิง หรอื ทําลายก็ไมอ่ าจทราบได้ แต่ถึงกระนนั ก็ยงั มงี านเดน่ ทีมหี ลัก ฐานทังของฝรงั และไทยกล่าวไว้ แมจ้ ะนอ้ ยนดิ แต่ก็แสดงใหเ้ หน็ ถึงการ รเิ รมิ ทีลําหนา้ กวา่ ประเทศเพอื นบา้ น 3

กรมพระราชวงั บวรวิไชยชาญ พระบาทสมเดจ็ พระนงั เกล้าเจา้ อยูห่ วั และผทู้ ีเปนกาลังสาคัญ ใน กิจการดา้ นทหารเรอื ในสมยั นนั คือ เจา้ ฟาจุฑามณี กรมขุอิศเรศรงั สรรค์ และ จมนื ไวยวรนาถ (สมเดจ็ เจา้ พระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนาค)) ดว้ ยทัง 2 ท่านนมี คี วามรใู้ นวชิ าการต่อเรอื ในสมยั นนั เปนอยา่ งดี จงึ ไดร้ บั หนา้ ที ปกครอง บงั คับบญั ชาการทหารเรอื ในสมยั นนั พระบาทสมเดจ็ พระปนเกล้า เจา้ อยูห่ วั zกรมพระราชวงั บวรวไิ ชยชาญ ทรงเปนเจา้ นายทีมคี วามสามารถ หลายดา้ น ดา้ นนาฏกรรม ทรงพระปรชี า เล่นหนุ่ ไทย หนุ่ จนี เชดิ หนงั และงิว ดา้ นการชา่ ง ทรงชานาญเครอื งจกั รกล ทรงต่อเรอื กาปน ทรงทาแผนทีแบบ สากล ทรงสนพระทัยในแรธ่ าตุ ถึงกับทรงสรา้ งโรงถลงุ แรไ่ วใ้ นพระราชวงั บวรสถานมงคล เมอื พ.ศ. 2426 ทรงไดร้ บั ประกาศนยี บตั รจากฝรงั เศส ใน ฐานะผเู้ ชยี วชาญสาขาวชิ าชา่ ง 4

สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนีพันปหี ลวง สมเดจ็ พระศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหลวง ทรงสน พระทัยในการพฒั นาสตรแี ละทรงมพี ระราชดารวิ า่ ความรงุ่ เรอื งของบา้ นเมอื งยอ่ ม อาศัยการศึกษาเล่าเรยี นทีดี ดงั นนั ในป พ.ศ. 2444 จงึ ทรงบรจิ าคพระราชทรพั ย์ สว่ นพระองค์จดั ตังโรงเรยี นสาหรบั เดก็ หญงิ แหง่ ทีสองขนึ ในกรงุ เทพมหานคร ทรง พระราชทานชอื วา่ “โรงเรยี นสตรบี ารงุ วชิ า” และในป พ.ศ. 2447 ทรงเปดโรงเรยี น สาหรบั กลุ ธดิ าของขา้ ราชสานกั และบุคคลชนั สงู คือ “โรงเรยี นสนุ นั ทาลัย” ใหก้ าร อบรมดา้ นการบา้ นการเรอื น กิรยิ ามารยาท และวชิ าการต่าง ๆ อีกทังทรงจา่ ยเงิน เดอื นครู และค่า ใชส้ อยต่าง ๆ สาหรบั เปนค่าเล่าเรยี นแก่กลุ บุตรกลุ ธดิ าของ ขา้ ราชการใหญน่ อ้ ยและราษฎรอีก เปนจานวนมาก ทรงบรจิ าคพระราชทรพั ยส์ ว่ น พระองค์ใหต้ ังโรงเรยี น ทรงมคี วามหว่ งใยความเจบ็ ไขไ้ ดป้ วยของราษฎรและทหาร เปนอยา่ งยงิ โดยทรงสนบั สนนุ การก่อตังโรงพยาบาลศิรริ าชซงึ นบั วา่ เปนโรง พยาบาลแหง่ แรกของประเทศไทย และพระราชทานทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ ตังโรงเรยี น แพทยผ์ ดงุ ครรภ์ขนึ ในโรงพยาบาลแหง่ นสี าหรบั เปนสถานศึกษาวชิ าพยาบาลและ ผดงุ ครรภ์ของสตรี 5

พระวภิ าคภวู ดล(เจมส์ แมคคารท์ ี) การทาแผนทีแบบตะวนั ตกในประเทศไทย เรมิ ตังแต่นายแมค คารท์ ีเขา้ รบั ราชการไทย ไดใ้ ช้ หลักมูลฐานขนาดมติ ิทรงวงรี เอเวอเรสต์ ใน การสารวจทาแผนทีตลอดมา ชอื ทรงวงรี \"เอเวอเรสต์\" มาจากชอื ของนายพนั เอกเอเวอเรสต์ นายทหารชา่ งชาวอังกฤษ ผเู้ ปนหวั หนา้ สถาบนั การแผนทีอินเดยี ในสมยั ทีอินเดยี ยงั ขนึ กับอังกฤษการทา แผนทีซงึ ไดจ้ ดั ทาก่อนสถาปนาเปน กรมแผนทีเรมิ แรกในตอนปลาย พ.ศ. ๒๔๒๔ เปนการสารวจ สาหรบั วางแนวทางสายโทรเลข ระหวา่ ง กรงุ เทพฯ และมะละแหมง่ (Moulmein) ผา่ นระแหง (ตาก) ในการนี นายแมคคารท์ ีไดท้ าการสารวจสามเหลียมเล็ก โยงยดึ กับสาย สามเหลียมของอินเดยี ทียอดเขา ซงึ อยูท่ างตะวนั ตกของระแหงไว้ ๓ แหง่ งานแผนทีทีใชส้ ารวจ มกี ารวดั ทางดาราศาสตร์ และการวางหมุด หลักฐานวงรอบ (traverse) 6

พ่อขนุ ศรอี ินทราทิตย์ พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตยเ์ มอื ครงั ยงั เปนพอ่ ขุนบางกลางหาว ได้รว่ มมอื กับพอ่ ขุนผาเมอื ง เจา้ เมอื งราดแหง่ ราชวงศ์ศรนี า วนําถมุ รวมกําลังพลกัน กระทํารฐั ประหารขอมสบาดโขลญลําพง โดยพอ่ ขุนบางกลางหาวตีเมอื งศรสี ชั นาลัยและเมอื งบางขลงได้ และยกทังสองเมอื งใหพ้ อ่ ขุนผาเมอื ง สว่ นพอ่ ขุนผาเมอื งตีเมอื ง สโุ ขทัยได้ ก็ได้มอบเมอื งสโุ ขทัยใหพ้ อ่ ขุนบางกลางหาว พรอ้ มพระ ขรรค์ชยั ศรแี ละพระนาม \"ศรอี ินทราทิตย\"์ ซงึ ได้นํามาใชเ้ ปน พระนาม ภายหลังได้คลายเปน ศรอี ินทราทิตย์ การเขา้ มาครอง สโุ ขทัยของพระองค์ สง่ ผลใหร้ าชวงศ์พระรว่ งเขา้ มามอี ิทธพิ ลใน เขตนครสโุ ขทัยเพมิ มากขนึ และไดแ้ ผข่ ยายดินแดนกวา้ งขวางมาก ออกไป 7

พอ่ ขุนรามคําแหงมหาราช เมอื พอ่ ขุนศรอี ินทราทิตยท์ รงขจดั อิทธพิ ลของเขมรออกไปจาก กรงุ สโุ ขทัยไดใ้ นปลายพุทธศตวรรษที 18 การปกครองของกษัตรยิ ์ สโุ ขทัยไดใ้ ชร้ ะบบปตรุ าชาธปิ ไตยหรอื \"พอ่ ปกครองลกู \" ดังขอ้ ความ ในศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหงวา่ คําพูด\"....เมอื ชวั พอ่ กู กบู าเรอแก่ พอ่ กู กไู ดต้ ัวเนอื ตัวปลา กเู อามาแก่พอ่ กู กไู ด้หมากสม้ หมากหวาน อันใดกินอรอ่ ยดี กเู อามาแก่พอ่ กู กไู ปตีหนงั วงั ชา้ งได้ กเู อามาแก่พอ่ กู กไู ปท่อบา้ นท่อเมอื ง ไดช้ า้ งไดง้ วง ไดป้ วไดน้ าง ไดเ้ งือนไดท้ อง กู เอามาเวนแก่พอ่ ก.ู .\" 8

พระมหาธรรมราชาที่ 1 พระยาลิไทยทรงเลือมใสในพระพุทธศาสนาเปนอยา่ งมากนโยบายการปกครอง ทีใชศ้ าสนา เปนหลักรวมความเปนปกแผน่ จงึ เปนนโยบายหลักในรชั สมยั นี ดว้ ยทรงดา รวิ า่ การจะขยายอาณาเขตต่อไปเชน่ เดยี วกับในรชั กาลพอ่ ขุนรามคาแหง พระอัยกา ก็ จกั ต้องนาไพรพ่ ลไปล้มตายอีกเปนอันมาก พระองค์จงึ ทรงมพี ระราชประสงค์ทีจะ ปกครองบา้ นเมอื งเชน่ เดยี วกับพระเจา้ อโศกมหาราชทีทรงปกครองอินเดยี ใหเ้ จรญิ ได้ ดว้ ยการสง่ เสรมิ พระพุทธศาสนา และสงั สอนชาวเมอื งใหต้ ังอยูใ่ นศีลธรรมอันจะเปน วธิ รี กั ษาเมอื งใหย้ งั ยนื อยูไ่ ด้ ทรงสรา้ งเจดยี ท์ ีเมอื งนครชุม (กาแพงเพชร) ผนวชใน พระพุทธศาสนาเมอื พ.ศ.1905 ทีวดั ปามะมว่ งการทีทรงออกผนวช นบั วา่ ทาความ มนั คงใหพ้ ุทธศาสนามากขนึ ดงั กล่าวแล้ววา่ หลังรชั สมยั พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช แล้ว บา้ นเมอื งแตกแยก วงการสงฆเ์ องก็แตกแยก แต่ละสานกั แต่ละเมอื งก็ปฏิบตั ิ แตกต่างกันออกไป เมอื ผนู้ าทรงมศี รทั ธาแรงกล้าถึงขนั ออกบวช พสกนกิ รทังหลายก็ คล้อยตามหนั มาเลือมใสตามแบบอยา่ งพระองค์ กิตติศัพท์ของพระพุทธศาสนาใน สโุ ขทัยจงึ เลืองลือไปไกล พระสงฆช์ นั ผใู้ หญห่ ลายรปู ไดอ้ อกไปเผยแพรธ่ รรมในแควน้ ต่าง ๆ เชน่ อโยธยา หลวงพระบาง เมอื งนา่ น แมแ้ ต่พระเจา้ กือนาธรรมกิ ราชแหง่ อาณาจกั รล้านนาก็นมิ นต์พระสมุ ณเถระจากสโุ ขทัยไปเพอื เผยแพรธ่ รรมทีล้านนา 9

สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ่ี 1 สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที 1 (พระเจา้ อู่ทอง) ทรงสถาปนากรุง ศรอี ยุธยาเปนราชธานเี มอื วนั ศุกร์ ขนึ 6 ค่า เดอื น 5 ปขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวนั ที 4 มนี าคม พ.ศ. 1893 ชพี อ่ พราหมณถ์ วายพระนาม วา่ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดี แล้วโปรดใหข้ ุนหลวงพะงัว ซงึ เปนพระ เชษฐาของพระมเหสเี ปน สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชเจา้ ไปครองเมอื ง สพุ รรณบุรี สว่ นพระราเมศวร รชั ทายาทใหไ้ ปครองเมอื งลพบุรี ตรา กฎหมาย สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที 1 ทรงประกาศใชก้ ฎหมายถึง 10 ฉบบั 10

พระบรมไตรโลกนาถ พระราชกรณยี กิจพระบรมไตรโลกนาถดา้ นการปกครองประกอบดว้ ย การจดั ระเบยี บการปกครองสว่ นกลางและสว่ นภมู ภิ าค อันเปนแบบแผนซงึ ยดึ สบื ต่อกันมาจนถึงรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั และ การตราพระราชกําหนดศักดนิ า ซงึ ทําใหม้ กี ารแบง่ แยกสทิ ธิ และหนา้ ทีของ แต่ละบุคคลแตกต่างกันไป โดยทรงเหน็ วา่ รปู แบบการปกครองนบั ตังแต่รชั สมยั สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี 1 มคี วามหละหลวม หวั เมอื งต่าง ๆ เบยี ดบงั ภาษี อากร และปญหาการแขง็ เมอื งในบางชว่ งทีพระมหากษัตรยิ อ์ ่อนแอ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงตราพระราชกําหนดศักดนิ าขนึ เปนกฎเกณฑ์ของ สงั คม ทําใหม้ กี ารแบง่ ประชากรออกเปนหลายชนชนั สมเดจ็ พระบรมไตรโลก นาถ ทรงปฏิรปู การปกครองโดยมกี ารแบง่ งานฝายทหารและฝายพลเรอื น ออกจากกันอยา่ งชดั เจน ใหส้ มุหพระกลาโหมดแู ลฝายทหาร และใหส้ มุหนายก ดแู ลฝายพลเรอื น รวมทังจตสุ ดมภ์ในราชธานี 11

สมเดจ็ พระสุรสิ รุ โิ ยทัย พระราชพงศาวดาร ฉบบั พนั จนั ทนุมาศ (เจมิ ) ระบุวา่ เมอื วนั ที 3 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2090 สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิเสด็จออกไปดกู ําลังขา้ ศึกทีภเู ขาทอง[พระสรุ โิ ย ทัยพรอ้ มด้วยพระราชโอรสพระราชธดิ ารวม 4 พระองค์ตามเสด็จด้วย โดยพระองค์ ทรงแต่งกายอยา่ งพระมหาอุปราช ทรงชา้ งพลายทรงสรุ ยิ กษัตรยิ ส์ งู 6 ศอก ครนั ยก กองทัพออกไปบรเิ วณท่งุ ภเู ขาทอง กองทัพอยุธยาปะทะกับกองทัพพระเจา้ แปร ซงึ เปน ทัพหน้าของพมา่ ชา้ งทรงของสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิเกิดเสยี ทีหนั หลังหนีจากขา้ ศึก พระเจา้ แปรก็ทรงขบั ชา้ งไล่ตามมาอยา่ งกระชนั ชดิ พระสรุ โิ ยทัยทอดพระเนตรเหน็ พระ ราชสวามกี ําลังอยูใ่ นอันตรายจงึ รบี ขบั ชา้ งเขา้ ขวางพระเจา้ แปร ทําใหท้ รงไมส่ ามารถ ติดตามต่อไปได้ พระเจา้ แปรจงึ ทํายุทธหตั ถีกับพระสรุ โิ ยทัย เนืองจากพระนางอยูใ่ น ลักษณะเสยี เปรยี บ ชา้ งพระเจา้ แปรได้เสยชา้ งพระสรุ โิ ยทัย จนเท้าหน้าทังสองลอยพน้ พนื ดิน แล้วพระเจา้ แปรจงึ ฟนพระสรุ โิ ยทัยด้วยพระแสงของ้าวต้องพระอังสาขาดถึง ราวพระถัน สว่ นพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบบั หลวงประเสรฐิ อักษรนิติ ระบุวา่ มพี ระ ราชธดิ าสนิ พระชนมบ์ นคอชา้ งด้วย 12

สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ในป พ.ศ. 2135 พระเจา้ นนั ทบุเรง โปรดใหพ้ ระมหาอุปราชา นาํ กองทัพทหารสองแสนสี หมนื คน มาตีกรงุ ศรอี ยุธยาหมายจะชนะศึกในครงั นี สมเดจ็ พระนเรศวรทรงทราบวา่ พมา่ จะยกทัพ ใหญม่ าตี จงึ ทรงเตรยี มไพรพ่ ล มกี ําลังหนงึ แสนคนเดนิ ทางออกจากบา้ นปาโมกไปสพุ รรณบุรี ขา้ มนาํ ตรงท่าท้าวอู่ทองและตังค่ายหลวงบรเิ วณหนองสาหรา่ ย เชา้ ของวนั จนั ทร์ แรม 2 คํา เดอื น ยี ปมะโรง พ.ศ. 2135 สมเดจ็ พระนเรศวรและสมเดจ็ พระเอกาทศรถทรงเครอื งพชิ ยั ยุทธ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงชา้ ง นามวา่ เจา้ พระยาไชยานภุ าพ สว่ นสมเดจ็ พระเอกาทศรถ ทรงชา้ งนามวา่ เจา้ พระยาปราบไตรจกั ร ชา้ งทรงของทังสองพระองค์นนั เปนชา้ งชนะงา คือชา้ งมงี าทีไดร้ บั การ ฝกใหร้ จู้ กั การต่อสมู้ าแล้วหรอื เคยผา่ นสงครามชนชา้ ง ชนะชา้ งตัวอืนมาแล้ว ซงึ เปนชา้ งทีกําลัง ตกมนั ในระหวา่ งการรบจงึ วงิ ไล่ตามพมา่ หลงเขา้ ไปในแดนพมา่ มเี พยี งทหารรกั ษาพระองค์และ จาตรุ งค์บาทเท่านนั ทีติดตามไปทัน สมเดจ็ พระนเรศวรทอดพระเนตรเหน็ พระมหาอุปราชาทรง พระคชสารอยูใ่ นรม่ ไมก้ ับเหล่าเท้าพระยา จงึ ทราบไดว้ า่ ชา้ งทรงของสองพระองค์หลงถลําเขา้ มา ถึงกลางกองทัพ และตกอยูใ่ นวงล้อมขา้ ศึกแล้ว แต่ดว้ ยพระปฏิภาณไหวพรบิ ของสมเดจ็ พระ นเรศวร ทรงเหน็ วา่ เปนการเสยี เปรยี บขา้ ศึกจงึ ไสชา้ งเขา้ ไปใกล้ แล้วตรสั ถามดว้ ยค้นุ เคยมาก่อน แต่วยั เยาวว์ า่ \"พระเจา้ พเี ราจะยนื อยูใ่ ยในรม่ ไมเ้ ล่า เชญิ ออกมาทํายุทธหตั ถีดว้ ยกัน ใหเ้ ปน เกียรติยศไวใ้ นแผน่ ดนิ เถิด ภายหนา้ ไปไมม่ พี ระเจา้ แผน่ ดนิ ทีจะไดย้ ุทธหตั ถีแล้ว 13

สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราชเปนพระมหากษัตรยิ ผ์ เู้ ปนทีเลืองลือพระเกียรติยศใน พระราโชบายทางคบค้าสมาคมกับชาวต่างประเทศ รกั ษาเอกราชของชาติใหพ้ น้ จากการ เบยี ดเบยี นของชาวต่างชาติและรบั ผลประโยชนท์ ังทางวทิ ยาการและเศรษฐกิจทีชนต่าง ชาตินาํ เขา้ มา นอกจากนี ยงั ไดท้ รงอุปถัมภ์บาํ รงุ กวแี ละงานดา้ นวรรณคดอี ันเปนศิลปะที รงุ่ เรอื งทีสดุ ในยุคนนั เมอื สมเดจ็ พระนารายณเ์ สดจ็ เถลิงถวยั ราชสมบตั ิ ณ ราชอาณาจกั ร ศรอี ยูธยาแล้ว ปญหากิจการบา้ นเมอื งในรชั สมยั ของพระองค์เปนไปในทางเกียวขอ้ งกับ ชาวต่างประเทศเปนสว่ นใหญ่ ดว้ ยในขณะนนั มชี าวต่างประเทศเขา้ มาค้าขาย และอยูใ่ นราช อาณาจกั รไทยมากวา่ ทีเคยเปนมาในกาลก่อน ทีสาํ คัญมาก คือ ชาวยุโรปซงึ เปนชาติใหญม่ ี กําลังทรพั ย์ กําลังอาวุธ และผคู้ น ตลอดจน มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งทางวทิ ยาการต่าง ๆ เหนอื กวา่ ชาวเอเซยี มาก และชาวยุโรปเหล่านกี ําลังอยูใ่ นสมยั ขยายการค้า ศาสนาครสิ ต์ และอํานาจทางการเมอื งของพวกตนมาสดู่ นิ แดนตะวนั ออก ยกตัวอยา่ งเชน่ ในป พ.ศ. 2230 (ค.ศ. 1687) ออกญาพระเสดจ็ สเุ รนทราธบิ ดี พระยาพระคลัง และออกพระศรพี พิ ทั ธ์ รตั นราชโกษาไดล้ งนามในสนธสิ ญั ญาทางการค้ากับประเทศฝรงั เศส 14

สมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช หลังจากทีกรงุ ศรอี ยุธยาแตก กฎหมายบา้ นเมอื งกระจดั กระจาย สญู หายไปมาก จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหท้ ําการสบื เสาะ ค้นหามา รวบรวมไวไ้ ดป้ ระมาณ 1 ใน 10 และโปรดฯ ใหช้ าํ ระกฎหมายเหล่านนั ฉบบั ใด ยงั เหมาะแก่กาลสมยั ก็โปรดฯ ใหค้ งไว้ ฉบบั ใดไมเ่ หมาะก็โปรดใหแ้ ก้ไขเพมิ เติมก็มี ยกเลิกไปก็มี ตราขนึ ใหมก่ ็มี และเปนการแก้ไขเพอื ราษฎรไดร้ บั ผล ประโยชนม์ ากขนึ เชน่ โปรดฯ ใหแ้ ก้ไขกฎหมายวา่ ดว้ ยการพนนั ใหอ้ ํานาจ การตัดสนิ ลงโทษขนึ แก่ศาลแทนนายตราสทิ ธขิ าด และยงั หา้ มนายตรานาย บอ่ นออกเงินทดลองใหผ้ เู้ ล่น เกาะกมุ ผกู มดั จาํ จองเรง่ รดั ผเู้ ล่น กฎหมาย พกิ ัดภาษีอากรก็เกือบไมม่ ี เพราะผลประโยชนแ์ ผน่ ดนิ ไดจ้ ากการค้าสาํ เภา มากพอแล้ว กฎหมายวา่ ดว้ ยการจุกชอ่ งล้อมวงก็ยงั ไมต่ ราขนึ เปดโอกาส ใหร้ าษฎรไดเ้ ฝาแหนตามรายทาง โดยไมม่ พี นกั งานตํารวจแมน่ ปนคอยยงิ ราษฎร ซงึ แมแ้ ต่ชาวต่างประเทศก็ยงั ชนื ชมในพระราชอัธยาศัยนี 15

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช พระราชกรณยี กิจประการแรกทีพระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลก มหาราชทรงจดั ทําเมอื เสดจ็ ขนึ ครองราชย์ คือการโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ ม ใหต้ ัง กรงุ รตั นโกสนิ ทรเ์ ปนราชธานใี หม่ ทางตะวนั ออกของแมน่ าํ เจา้ พระยา แทนกรงุ ธนบุรี ดว้ ยเหตผุ ลทางดา้ นยุทธศาสตร์ เนอื งจากกรงุ ธนบุรตี ังอยูบ่ นสองฝงแมน่ าํ ทําใหก้ าร ลําเลียงอาวุธยุทธภัณฑ์ และการรกั ษาพระนครเปนไปไดย้ าก อีกทังพระราชวงั เดมิ มี พนื ทีจาํ กัด ไมส่ ามารถขยายได้ เนอื งจากติดวดั อรณุ ราชวรารามราชวรมหาวหิ ารและ วดั โมลีโลกยารามราชวรวหิ าร สว่ นทางฝงกรงุ รตั นโกสนิ ทรน์ นั มคี วามเหมาะสมกวา่ ตรงทีมพี นื แผน่ ดนิ เปนลักษณะหวั แหลม มแี มน่ าํ เปนคเู มอื งธรรมชาติ มชี ยั ภมู เิ หมาะ สม และสามารถรบั ศึกไดเ้ ปนอยา่ งดี การสรา้ งราชธานใี หมน่ นั ใชเ้ วลาทังสนิ 3 ป โดย พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงประกอบพธิ ยี กเสาหลักเมอื ง เมอื วนั อาทิตย์ ขนึ 10 คํา เดอื น 6 ปขาล จ.ศ. 1144 ตรงกับวนั ที 21 เมษายน พ.ศ. 2325 และโปรดเกล้าโปรดกระหมอ่ มใหส้ รา้ งพระบรมมหาราชวงั สบื ทอดราชประเพณี และสรา้ งพระอารามหลวงในเขตพระบรมมหาราชวงั ตามแบบกรงุ ศรอี ยุธยา ซงึ การ สรา้ งเมอื งและพระบรมมหาราชวงั เปนการสบื ทอดประเพณี วฒั นธรรม และศิลปกรรม ดงั เดมิ ของชาติ ซงึ ปฏิบตั ิกันมาตังแต่สมยั กรงุ ศรอี ยุธยา นอกจากนยี งั โปรดเกล้า โปรดกระหมอ่ มใหส้ รา้ งสงิ ต่าง ๆ อันสาํ คัญต่อการสถาปนาราชธานไี ดแ้ ก่ ปอมปราการ 16

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หล้านภาลัย ในรชั สมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปน ยุคทองของวรรณคดสี มยั หนงึ เลยทีเดยี ว ดา้ นกาพยก์ ลอนเจรญิ สงู สดุ จนมคี ํากล่าววา่ \"ในรชั กาลที 2 นนั ใครเปนกวกี ็เปนคนโปรด\" กวที ีมชี อื เสยี งนอกจากพระองค์เองแล้ว ยงั มกี รมหมนื เจษฎาบดนิ ทร์ (รชั กาลที 3) สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส สนุ ทรภู่ พระยาตรงั และนายนรนิ ทรธเิ บศร์ (อิน) เปนต้น พระองค์มพี ระราช นพิ นธท์ ีเปนบทกลอนมากมาย ทรงเปนยอดกวดี า้ นการแต่งบทละครทังละครในและ ละครนอก มหี ลายเรอื งทีมอี ยูเ่ ดมิ และทรงนาํ มาแต่งใหมเ่ พอื ใหใ้ ชใ้ นการแสดงได้ เชน่ รามเกียรติ อุณรทุ และอิเหนา โดยเรอื งอิเหนานี เรอื งเดมิ มคี วามยาวมาก ไดท้ รงพระ ราชนพิ นธใ์ หมต่ ังแต่ต้นจนจบ เปนเรอื งยาวทีสดุ ของพระองค์ วรรณคดสี โมสรใน รชั กาลที 6 ไดย้ กยอ่ งใหเ้ ปนยอดบทละครราํ ทีแต่งดี ยอดเยยี มทังเนอื ความ ทํานอง กลอนและกระบวนการเล่นทังรอ้ งและราํ นอกจากนยี งั มลี ะครนอกอืน ๆ เชน่ ไกรทอง สงั ขท์ อง ไชยเชษฐ์ หลวชิ ยั คาวี มณพี ชิ ยั สงั ขศ์ ิลปชยั ไดท้ รงเลือกเอาของเก่ามาทรง พระราชนพิ นธข์ นึ ใหมบ่ างตอน และยงั ทรงพระราชนพิ นธบ์ ทพากยโ์ ขนอีกหลายชุด เชน่ ชุดนางลอย ชุดนาคบาศ และชุดพรหมาสตร์ ซงึ ล้วนมคี วามไพเราะซาบซงึ เปนอมตะใช้ แสดงมาจนทกุ วนั น.ี ... 17

พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยูห่ วั เมอื ครงั ทีทรงกํากับราชการกรมท่า (ในสมยั รชั กาลที 2 ไดท้ รง แต่งสาํ เภาบรรทกุ สนิ ค้าออกไปค้าขายในต่างประเทศมรี ายไดเ้ พมิ ขนึ ใน ท้องพระคลังเปนอันมาก พระราชบดิ าทรงเรยี กพระองค์วา่ \"เจา้ สวั \" เมอื รชั กาลที 2 เสดจ็ สวรรคต มไิ ดต้ รสั มอบราชสมบตั ิแก่ผใู้ ด ขุนนางและ พระราชวงศ์ต่างมคี วามเหน็ วา่ พระองค์ (ขณะทรงดาํ รงพระราช อิสรยิ ยศเปนกรมหมนื เจษฏาบดนิ ทร)์ ขณะนนั มพี ระชนมายุ 37 พรรษา ทรงรอบรกู้ ิจการบา้ นเมอื งดี ทรงปราดเปรอื งในทางกฎหมาย การค้า และการปกครอง จงึ พรอ้ มใจกันอัญเชญิ ครองราชยเ์ ปนรชั กาลที 3 18

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว เมอื พ.ศ. 2411 พระองค์ทรงคํานวณวา่ จะสามารถ เหน็ สรุ ยิ ุปราคาเต็มดวงไดใ้ นประเทศสยาม ณ หมูบ่ า้ นหวา้ กอ ตําบลคลองวาฬ จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์ พระองค์จงึ โปรดใหต้ ังพลับพลาเพอื เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ทอด พระเนตรสรุ ยิ ุปราคาทีตําบลหวา้ กอ ซงึ เมอื ถึงเวลาที พระองค์ทรงคํานวณก็เกิดสรุ ยิ ุปราคาเต็มดวงดงั ทีทรงได้ คํานวณไว้ พระองค์เสดจ็ ประทับอยูท่ ีหวา้ กอเปนระยะเวลา ประมาณ 9 วนั จงึ เสดจ็ กลับกรงุ เทพมหานคร 19

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั พระราชกรณียกิจทีสาํ คัญของรชั กาลที 5 ไดแ้ ก่ ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ใหม้ กี ารเลิกทาสและไพรใ่ นประเทศไทย การปองกันการเปน อาณานิคมของจกั รวรรดิฝรงั เศสและจกั รวรรดอิ ังกฤษ ได้มกี ารประกาศ ออกมาใหม้ กี ารนับถือศาสนาโดยอิสระในประเทศ โดยบุคคลศาสนาครสิ ต์ และศาสนาอิสลามสามารถปฏิบตั ิศาสนกิจได้อยา่ งอิสระ นอกจากนีได้มี การนําระบบจากทางยุโรปมาใชใ้ นประเทศไทย ไดแ้ ก่ระบบการใชธ้ นบตั รและ เหรยี ญบาท ใชร้ ะบบเขตการปกครองใหม่ เชน่ มณฑลเทศาภิบาล จงั หวดั และอําเภอ และได้มกี ารสรา้ งรถไฟ สายแรก คือ กรุงเทพฯ ถึง อยุธยา ลงวนั ที 1 มนี าคม ร.ศ.109 ซงึ ตรงกับ พุทธศักราช 2433 นอกจากนีได้มงี านพระ ราชนิพนธ์ ทีสาํ คัญ การก่อตังการประปา การไฟฟา ไปรษณียโ์ ทรเลข โทรศัพท์ การสอื สาร การรถไฟ สว่ นการคมนาคม ใหม้ กี ารขุดคลองหลาย แหง่ เชน่ คลองประเวศบุรรี มย์ คลองสาํ โรง 20

เอกสารอ้างอิงออนไลน์ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เขา้ ถงึ ได้จาก : https.//th.m.wikipedia.org/wiki/. (สืบค้นเมอื่ วันที่ : 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ กิ ิติ์ พระบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง เขา้ ถึงไดจ้ าก : https://www.matichon.co.th/court-news/news_1481039 (สบื ค้นเมอ่ื วันท่ี : 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564) พระบาทสมเดจ็ พระปิน่ เกล้าเจ้าอยู่หวั เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.komchadluek.net/news/today-in- history/327363 (สบื คน้ เมื่อวนั ที่ : 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2564) กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.tnews.co.th/religion/. (สืบคน้ เมอ่ื วันที่ : 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2564) สมเด็จพระศรพี ชั รินทราบรมราชนิ นี าถ พระบรมราชชนนพี ันปีหลวง เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.redcross.or.th/uncategorized/8846/ (สบื คน้ เม่ือวนั ท่ี : 26 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ.2564) พระวิภาคภูวดล เขา้ ถงึ ได้จาก : https://news.trueid.net/detail/K3bdEq6yBDaZ (สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ : 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) พอ่ ขุนศรอี นิ ทราทติ ย์ เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.trueplookpanya.com/learning/ detail/19521-029760 (สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี : 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) พ่อขุนรามคําเเหงมหาราช เข้าถงึ ไดจ้ าก : http://www.prachin.ru.ac.th/. (สบื คน้ เมอ่ื วันที่ : 26 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) พระมหาธรรมราชาที่ 1 เข้าถงึ ได้จาก : https://www.wikiwand.com/th/. (สืบค้นเมื่อวนั ที่ : 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที 1่ี เขา้ ถงึ ได้จาก : https://www.trueplookpanya.com/learning/ detail/19522-029761 (สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ : 26 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2564) 21



Important person in History บุคคลสาํ คัญในประวตั ิศาสตร์ pdf file scan Qr code price 125 bath


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook