คำนำ ข้าพเจา้ นางสาวบังอร ภชู าดา ตาแหน่งครู กศน.ตาบล อาเภอมัญจาคีรี จงั หวัดขอนแกน่ ได้เข้ารบั การอบรมเก่ียวกับประวัติศาสตรช์ าติไทยและบญุ คุณของพระมหากษตั ริยไ์ ทยทาให้ไดท้ ราบว่ากว่าท่ีจะมา เป็นประเทศไทยไดท้ ุกวันน้นี ัน้ เปน็ เพราะพระบญุ คุณของพระมหากษตั รยิ ์ไทยและบูรพมหากษตั ริยต์ ราธริ าช เจา้ ทุกพระองค์ ขา้ พเจ้าได้นากระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบสืบค้นหาความรู้และขอ้ มูลจากแหล่งสบื ค้นท่มี ี เอกสารอา้ งอิงชดั เจนและสรปุ รวบรวมความรทู้ ่ีไดร้ ับการอบรมและการศึกษานามาบรรยายและสอนใหก้ ับ ประชาชนท่วั ไป และนักศึกษา กศน.ตาบลหนองแปนและนกั ศึกษา กศน.อาเภอมญั จาคีรี จงั หวดั ขอนแกน่ ได้ ศกึ ษาและรับร้เู รื่องราวในอดีตของประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยและบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ไทย เน่อื งจาก ประชาชนและนกั ศกึ ษาร่นุ ใหมย่ งั ไม่ทราบรายละเอียดเกีย่ วประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คณุ ของ พระมหากษตั ริยไ์ ทย ทาให้ข้าพเจา้ ซง่ึ ไดร้ ับการอบรมและศึกษาเรือ่ งราวไดน้ าความรู้ทไี่ ด้รบั มาถา่ ยทอดให้ เกดิ ประโยชนอ์ ย่างสงู สดุ ข้าพเจา้ ขอขอบพระคุณ นายสุรนิ ทร์ หวา่ งจติ ร์ ผู้อานวยการศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอาเภอมญั จาคีรี จงั หวัดขอนแก่น และผู้ท่เี กย่ี วข้องทุกท่านทีใ่ หค้ วามรว่ มมือ ช่วยเหลือ พรอ้ ม กับข้อคิดและขอ้ เสนอแนะในการจดั ทา BEST PRACTICE ให้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ข้าพเจ้าผ้จู ดั ทาหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าจะเปน็ ประโยชนแ์ ละเปน็ แนวทางตอ่ ผู้รับการอบรมและครูผู้สอน และผมู้ หี นา้ ทีเ่ ก่ียวข้อง ตลอดจนผู้ทส่ี นใจทวั่ ไป เป็นอยา่ งสูง นำงสำวบงั อร ภูชำดำ ครู กศน.ตำบลหนองแปน อำเภอมญั จำครี ี
ผลงำนกำรปฏิบัตงิ ำนทีเ่ ปน็ เลศิ ดำ้ นบริหำรจัดกำรยอดเย่ยี ม ( BEST PRACTICE ) ๑. ชอ่ื ผลงำน BEST PRACTICE สบื สาน รกั ษา ตอ่ ยอด การสอนประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย ๒. ข้อมลู ทัว่ ไปของผู้พัฒนำ BEST PRACTICE ๒.๑ ช่อื ผพู้ ัฒนำ BEST PRACTICE นางสาวบงั อร ภชู าดา ๒.๒ สงั กัด กศน.อำเภอมญั จำครี ี จงั หวดั ขอนแก่น ๒.๓ โทรศพั ท์ ๐๖๔๕๕๔๙๘๗๔ ๓. เปา้ หมาย / วัตถุประสงคข์ องการพัฒนา BEST PRACTICE ๓.๑ เพ่ือให้นกั ศกึ ษา กศน. และประชาชนทั่วไปเกิดความสานกึ ในความเป็นไทย มคี วามเขา้ ใจใน ความ เปน็ มาของประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย ๓.๒ เพ่อื ให้นักศกึ ษา กศน. และประชาชนท่ัวไปเกดิ ความสานกึ ในบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ และ ร่วมกนั ทาการปกป้องสถาบันชาติ ศาสนาและเทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ ใหอ้ ยใู่ น จิตสานึกของคนไทยตลอดไป ๓.๓ เพื่อสรา้ งความสามัคคใี หก้ บั คนในชาติ ๔. เป้ำหมำย เพ่ือใหน้ ักศกึ ษาสายสามญั ระดับ ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลายและ ประชาชนทั่วไป ไดเ้ รียนรู้ประวัติศาสตรจ์ ากแหล่งเรยี นรทู้ างประวตั ศิ าสตรต์ ามมาตรฐานการเรยี น และตวั ชีว้ ัดของหลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑.และ สามารถเข้าใจและถา่ ยทอดส่งิ ท่ีรับรู้มาออกไปบอกเล่าตอ่ กนั ได้ ๕. กำรดำเนนิ งำน การสอนประวัติศาสตร์ผ่านแหลง่ เรียนร้ทู างประวตั ศิ าสตร์โดยใช้กระบวนการสรา้ งวฒั นธรรมการ วิจยั ให้นักศึกษา มีขั้นตอนการดาเนินงานดังน้ี ๑ ศกึ ษาสภาพปจั จุบัน/หลักสูตร/มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด ๒ สารวจแหลง่ เรียนรทู้ างประวัติศาสตร์/ทอ้ งถิ่น ๓ จัดทาโครงการทศั นศึกษาแหลง่ เรียนรทู้ างประวัติศาสตร์ ๔ ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้/กจิ กรรมการเรยี นรูโ้ ดยใชก้ ระบวนการสร้างวฒั นธรรมการ วจิ ยั ให้ นกั เรยี น/สืบค้นด้วยวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ๕ ดาเนนิ งานตามจดุ ประสงค์
๖. กากับตดิ ตาม ประเมนิ ผลการจดั กจิ กรรม ๗. สรปุ รายงานและประเมินผลการดาเนินงาน ๘ .นาผลการดาเนนิ งานไปปรบั ปรงุ ข้ันตอนกำรดำเนนิ งำน ศกึ ษำสภำพปัจจบุ นั /หลักสูตร/ มำตรฐำนกำรเรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ัด สำรวจแหล่งเรยี นร้ทู ำง ประวัติศำสตร์/ท้องถน่ิ จดั ทำโครงกำรทศั นศกึ ษำ แหลง่ เรียนรทู้ ำงประวตั ศิ ำสตร์ กำรสอนประวัติศำสตร์ ออกแบบหน่วยกำรเรยี นรู้/กิจกรรมกำรเรียนรู้โดยใช้ นำผลกำรดำเนินงำน ผ่ำนแหลง่ เรียนรู้ โดย กระบวนกำรสร้ำงวฒั นธรรมกำรวิจัยให้นักศกึ ษำ/สบื ค้น ไปปรับปรุง กระบวนกำรสร้ำง วฒั นธรรมกำรวิจยั ให้ ดว้ ยวธิ กี ำรทำงประวตั ิศำสตร์ ดำเนินงำนตำมจดุ ประสงค์ ปรับปรงุ กำกบั ตดิ ตำม ประเมินผล พฒั นำ ปรบั ปรงุ กำรจัดกิจกรรม พัฒนำ สรุปรายงานและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน รูปภำพที่ ๑ ขน้ั ตอนกำร ดำเนนิ งำน สรุปรายงานและประเมนิ ผลการดาเนินงาน
ผลกำรดำเนนิ กำร/ผลสมั ฤทธิ์/ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั ๑ ผลการดาเนินการ การสอนประวตั ศิ าสตร์ผา่ นแหล่งเรยี นร้ทู างประวัติศาสตร์โดยใชก้ ระบวนการ สรา้ งวัฒนธรรมการวิจัยใหน้ กั เรยี น ผู้สอนได้ดาเนนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้รวบรวมข้อมูลและมีผลการ ดาเนินงานดงั น้ี ผลท่ีเกดิ กับผู้สอน ๑) ครตู อ้ งเตรยี มวางแผนการสอน โดยการศึกษาหลักสตู รวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ชวี้ ัด จดั ทาโครงสร้างรายวิชา ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ ๒) จดั กระบวนการเรียนรู้ โดยกระบวนการสร้างวฒั นธรรมการวจิ ัย ๔ ข้นั ตอน ได้แก่ การต้ังคาถาม การวางแผนค้นหาคาตอบ ดาเนนิ การค้นหาคาตอบ สรุปผลการค้นคว้าและนาเสนอ ๓) ครูสรา้ งสถานการณก์ ระตุ้นใหน้ ักศกึ ษาเกิดการคดิ สงสยั และเกดิ คาถาม ๔) ครกู ับนกั ศึกษามีปฏิสมั พันธ์ที่ดีต่อกนั ๕) ครจู ัดทาโครงการศึกษาแหลง่ เรียนรทู้ างประวตั ิศาสตร์ ผลทเี่ กิดกับนักศึกษำ ๑) นกั ศึกษามีความพึงพอใจกับกิจกรรมการเรยี นประวตั ิศาสตรผ์ ่านแหลง่ เรียนรู้ทาง ประวัตศิ าสตร์โดยใชก้ ระบวนการสรา้ งวฒั นธรรมการวิจยั ในระดับมากท่สี ุด ๒) นกั ศึกษาได้วธิ กี ารเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวจิ ยั สนกุ กบั การเรียนรู้ ไดเ้ ปลีย่ นแปลง พฤตกิ รรมการเรียนรู้ จากเดมิ ที่นักศึกษาเปน็ เพยี งผู้รบั ความรู้ปฏบิ ัตงิ านหรอื ทากจิ กรรมตามคาสัง่ ที่ ไดร้ บั มอบหมายจากครู ๓) นกั ศกึ ษาสามารถแสวงหาความรู้ไดด้ ้วยตนเองและรวู้ า่ จะไปหาความรู้จาก ท่ีไหนจะไปหา อยา่ งไร และปฏิบตั ิอยา่ งไรจงึ จะได้ความรนู้ นั้ มา ๔) นักศึกษาไดม้ กี ารพัฒนาวธิ กี ารเรยี นรู้ โดยการตัง้ คาถาม และนักศกึ ษานาเสนอผลการ คน้ ควา้ ตามวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ๕ข้นั ตอนไดแ้ ก่ กาหนดหวั ข้อเรือ่ งทสี่ นใจ รวบรวมหลักฐาน และข้อมลู ตรวจสอบหลักฐาน ตีความหลกั ฐานและสรปุ และนาเสนอ ๕) นักศึกษาได้รบั ประสบการณ์ตรงจากการศึกษาแหล่งเรียนรู้ทางประวตั ิศาสตร์และเกิดความรู้ ท่ีคงทน ปจั จัยควำมสำเรจ็ ๑ ครูมีความอดทน มงุ่ ม่ัน อุทศิ เวลา มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ทีด่ ี เพราะตอ้ งประสานกับบุคลากรใน โรงเรียน /หน่วยงาน/ องค์กร/ ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ /แหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี กีย่ วข้อง ๒ ผบู้ รหิ ารใหก้ ารสนับสนนุ งบประมาณดาเนินการ / นิเทศ กากบั ติดตาม เสนอแนะ
๓ ผู้ปกครอง ชุมชน และหนว่ ยงานภายนอกให้ความรว่ มมือในเร่อื งแหล่งเรียนร้ทู ่ี หลากหลายและ เปน็ วิทยากรใหก้ ับนกั ศึกษา บทเรียนที่ได้รับ จากการดาเนินการ การสอนประวัตศิ าสตร์ผา่ นแหล่งเรียนรทู้ างประวัตศิ าสตร์โดยใช้ กระบวนการสร้างวัฒนธรรมการวจิ ัยให้เรียน มกี ารดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ครูได้แสวงหาความรู้ ใหม่ ๆ ผบู้ ริหารมกี ารนเิ ทศ ตดิ ตามอย่างเป็นระบบและต่อเน่อื ง ทาให้การดาเนินงานประสบ ความสาเรจ็ ส่งผลดตี ่อ ผเู้ กี่ยวข้อง ดังนี้ ๑ ครูต้องเตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ ประสานงานกบั หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งทั้งภายใน กศน.ตาบลหนองแปน และนอก กศน.ตาบลหนองแปน ให้พรอ้ ม และเตรยี มสอ่ื ต่าง ๆ เช่นใบงาน ใบความรเู้ พมิ่ เตมิ ให้นักศกึ ษา เพือ่ สง่ เสริมสนบั สนุนให้ นกั ศึกษาเกิดการเรยี นร้ไู ดอ้ ยา่ งเตม็ ประสิทธภิ าพ ๒ นกั ศึกษาสามารถสร้างองค์ความรูไ้ ดด้ ้วยตนเองอย่างเป็นขน้ั เป็นตอน โดยครเู ปน็ ผู้กระตุ้นให้ นกั ศึกษาเกดิ คาถาม วางแผนการคน้ คว้า ดาเนินการคน้ หาคาตอบ และนาเสนอความรู้ ๓ ครตู อ้ งเตรยี มพรอ้ มเพอ่ื แก้ปญั หาเฉพาะหนา้ เพราะในขณะทีส่ อนเหตุการณ์อาจไมเ่ ปน็ ไปตาม แผนทค่ี รูวางไว้ ครูจงึ ตอ้ งเตรยี มพรอ้ มในการแก้ปญั หา เพือ่ ดงึ เกมการเรยี นรู้การสอนให้เปน็ ไปตาม แผนที่ วางไวแ้ ละสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชีว้ ัด ๔ นกั ศึกษามพี ัฒนาการและทกั ษะในการแสวงหาความร้แู ละสามารถนาประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ เชน่ นกั ศึกษาตงั้ คาถามเพ่ือนาไปสกู่ ารสืบคน้ ได้ มีการวางแผนการสืบค้น นาเสนอ ความรู้ และสรา้ งช้นิ งานออกมาไดอ้ ย่างเหมาะสม ๕ นกั ศึกษามที ักษะในการคน้ หาข้อมูลและกระบวนการทางาน ทาให้ครูเห็นความแตกตา่ งของ นักศึกษาในการเรียนรู้ซงึ่ อาจแบ่งกลุ่มได้ ดังนี้ ๕.๑ กลุ่มชอบเขยี นรายงาน ส่วนมากจะเปน็ เด็กผูห้ ญงิ เนอ่ื งจากลายมือสวย ๕.๒ กลุ่มชอบสบื ค้น เนื่องจากเขยี นหนงั สือไม่คอ่ ยถกู ๕.๓ กลุ่มชอบนาเสนอเนือ่ งจากชอบพูดและสามารถสรปุ ใจความสาคัญของเรือ่ งได้ ๕.๔ กลมุ่ ชอบทาชิน้ งาน เนือ่ งจากมฝี ีมือในการประดิษฐ์ ตกแตง่ วาดภาพระบายสี ๖ ก่อนพานกั ศึกษาไปศกึ ษาแหล่งเรียนรู้ ครตู ้องสอนเนื้อหานนั้ ๆ ใหน้ กั ศกึ ษาเป็นอย่าง ดี เมื่อไป พบสถานทจ่ี ริงนักศกึ ษาจะเขา้ ใจเรอื่ งราวตา่ งๆ ได้ดีย่ิงขึ้น และไดร้ ับคาชมจากวิทยากร เพราะ นักศึกษาสามารถโต้ตอบการพูดคยุ กบั วทิ ยากรได้ กำรเผยแพร่ ๑ ผ้สู อนไดเ้ ผยแพร่ให้กบั ครู กศน.ตาบลหนองแปน และคณะครู กศน.อาเภอมัญจาคีรี และ ครูผูส้ อนท่สี นใจ
๒ เผยแพร่ทาง เว็ปไซด์ของ กศน.ตาบลหนองแปน www.http://๒๐๒.๑๔๓.๑๓๗.๑๐๐: ๘๑/nongpaen/ และ Facebook : กศน ตาบลหนองแปน อาเภอมญั จาครี ี จังหวดั ขอนแกน่ ๓ จัดทาแผน่ พับเผยแพร่แก่นักศกึ ษาและผู้ปกครอง คาบรรยายประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย โดย นางสาวบังอร ภชู าดา ครู กศน.ตาบลหนองแปน แผน่ ดนิ ไทยไดม้ าเพราะกล้าหาญ จากสันดานนกั สู้ผรู้ ักถิ่น กลายมาเปน็ แดนสยามนามแผ่นดนิ เทิดชวี ินบรรพ บรุ ุษส้สู ุดใจ ภายใตผ้ ืนแผ่นดินทีท่ ่านหยดั ยืน ผนื แผ่นดนิ ท่มี ีความรักความหวงแหนของเหล่าบรรพชน ผนื แผน่ ดนิ ท่แี ลกมาด้วยเลอื ด ดว้ ยเน้อื ดว้ ยชวี ติ ของบรู พระมหากษตั ริยต์ ราธิราชเจ้าทกุ พระองค์ เป็นสิ่งท่พี วก เราทุกคนจะลมื เลือนเสียมิได้ รำชธำนีแห่งแรกของไทย สุโขทยั ราชธานีที่มี ลายสอื ไทยมรดกไทยมอบไว้ให้ลูกหลาน ความร่งุ เรอื งงดงามยงั ถกู จารึกจนถงึ ปัจจบุ นั กรุงศรีอยุธยำ ราชธานที ี่มีอายุยาวนานถงึ 417 ปี ราชธานีที่มี วรี กษัตรยิ ์และวรี สตรี ยอมพลกี ายไม่ เสยี ดายแมช้ ีวิต เพ่อื รกั ษาแผน่ ดินไว้ใหล้ กู หลาน ทีส่ บื สานเผา่ พงศด์ ารงความเป็นไทย กรุงธนบรุ ศี รมี หำสมทุ ร แผน่ ดนิ ทมี่ ีมหาบรุ ุษผู้ยงิ่ ใหญ่ ผซู้ ง่ึ กอบกู้เอกราชดว้ ยความห้าวหาญ จวบ จนถงึ กาลพลกิ แผ่นดนิ ทรงสละส้นิ แมร้ าชสมบตั ิเพื่อให้ ขตั ิยะเลอื ดไทยนาพาชาติรงุ่ เรืองสบื ไป รัตนโกสินทร์ แผ่นดินท่พี ระมหากษัตรยิ ท์ รงรกั ราษฎรประดจุ ลูกในอุทร รัชกำลท่ี ๑พระบำทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟำ้ จุฬำโลกมหำรำช (กษัตริย์นกั รบ) รัชกำลที่ ๒ พระบำทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหล้ำนภำลัย (กษตั ริยผ์ ้เู ป็นเอกด้านนพิ นธ์และดนตรี) รัชกาลท่ี ๓ พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจ้าอยหู่ วั กษัตรยิ ์ผู้ปราดเปรื่องเร่ืองการค้า รัชกาลท่ี ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั กษตั รยิ ์ผเู้ ปน็ พระบดิ าแหง่ วิทยาศาสตร์ไทย รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระมหากษตั รยิ ผ์ ูม้ ีสายพระเนตรอันยาว ไกลและมอบความเปน็ ไท ดว้ ยการเลกิ ทาส รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระมหากษัตรยิ ผ์ ูท้ รงเปน็ พระมหาธีรราชเจ้า พระผูซ้ ึ่งหลอ่ หลอมและเตรยี มความพร้อมให้ปวงชนชาวไทยไดก้ า้ วเข้าไปหยดั ยืนทีมนานาประเทศ พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู วั
รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว แหง่ ราชวงศ์จกั รพี ระองคท์ รงเปน็ บคุ คลดีเดน่ ของโลกและไดร้ บั การยกยอ่ งจากองคก์ ารยูเนสโก พระองค์มคี วามดเี ด่นด้าน การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรมและมีคุณูประการตอ่ ประเทศชาติเปน็ อเนกนานัปการ พระองค์ทรงเป็น พระมหากษตั รยิ ์พระองค์แรก ทอ่ี ยภู่ ายใต้ รัชกาลท่ี ๘ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล พระมหากษัตริย์ผีท่ รงนาพาซง่ึ ความ สามัคคี เสด็จขึน้ ครองราชย์เปน็ พระมหากษตั ริย์ รชั กาลท่ี ๘ แหง่ บรมราชวงศจ์ ักรีวงศเ์ พียง ระยะเวลา ๑๒ ปี รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระบรมมหาชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ บพิตร เสดจ็ พระราชสมภพในสกลุ มหิดล เสด็จพระราชสมภพ ณ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า เมอื่ พระ ชนม์มายไุ ด้ 18 พรรษา รฐั บาลได้กราบอญั เชิญทลู ขึน้ ครองราชย์ เปน็ พระมหากษัตรยิ ์รชั กาลท่ี ๙ แหง่ พระราชวงศจ์ ักรวี งศ์ ทรงโปรดเกลา้ โปรดกระหม่อมใหม้ ีการพระราชพิธีบรมราชภิเษกตาม แบบอยา่ งแนวราชประเพณที รงประทาน ปฐมบรมราชโองการวา่ ....เราจะครองแผ่นดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แห่งมหาชนชาวสยาม ...และราชาภิเษกสมรสกบั สมเดจ็ พระนางเจา้ สิรกิ ิตต์ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง เป็นค่บู ุญพระบารมี ตลอดระยะเวลาการทรง ครองราชย์พระองค์ท่านได้ทรงประกอบพระราชกรณยี กจิ เพื่อประชาชนชาวไทยมากกว่า 4 พนั โครงการและเสด็จเยี่ยมเยียนประชาชนของพระองค์ทา่ นด้วยสายพระบาท พระบารมีแผ่ปกเกลา้ ประชาชนไปทกุ ทอ้ งที่ แตท่ ุกทา่ นคะ่ ในความจรงิ ท่หี ลายคนอาจไม่ทราบ การทรงงานเพ่ือ ประชาชนชาวไทยของพระองคท์ ่าน พระองคท์ รงงานด้วยสายพระเนตรเพยี งขา้ งเดียว พระองค์ทา่ น ทรงงานหนัก จนมีพระอาการประชวร คณะแพทย์ โรงพยาบาลศิรริ าชไดถ้ วายการรกั ษาอย่างใกล้ ชิตและเตม็ ความสามารถ แตอ่ าการของพระองคท์ รงทรุดหนกั มากและพระองคท์ รงสิ้นพระชนม์ด้วย อาการสงบ เม่ือวันที่ ๑๓ ตลุ าคม ปีพุทธศักราช ๒๕๕๙.... “ วนั ๑๓ ตุลา วันฟ้าดับ พ่อลาลบั กลับสู่ ณ แดนสรวง เสียงรา่ ไห้จากใจไทยทุกดวง นา้ ตารว่ งไหลรนิ ส้นิ หลกั ชัย เสียงกรีดร้องกึกก้องร้องโหยหา พอ่ กลบั มา กลบั มาจะไดไ้ หม เสียงสะอ้นื สดุ ช้าเกนิ ทาใจ นา้ ตาไหลยังหลัง่ ท้ังแผน่ ดิน ฟ้าร้อง ไหร้ ้องหาอาลัยรกั นกึ พระ พักษ์เคยทรงแย้มเกษมศรี ๘๙ ชรรษาเนนิ นานปี พระทรงมคี ณุ ล้นเกล้าเหนือเผ่าไทย มา วันน้พี ่อหลวงล่วงลับแลว้ พระองคแ์ กว้ เทวดาทอ่ี าศัย ชว่ ยรับเสดจ็ พระองค์สูส่ วรรคาลัย เหลา่ ไพร่ฟา้ ขอเทิดไว้กราบกราญ “
รัชกาลท่ี ๑๐ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชริ าลงกรณบดทิ รเทพยวรางกรู พระวชิรเกล้า เจ้าอยู่หัว พระองคท์ รงมุง่ มั่นแน่วแน่พระทัย มีพระราชปณิพานทีจ่ ะสืบสาน พระราชกรณยี กิจต่อ จากสมเด็จพอ่ และสมเด็จแมข่ องพระองค์ พระองค์ทรงสืบสานพระราชกรณยี กจิ ตามพระบาท อยา่ งเช่นปฐมบรมราชโองการท่ีวา่ “ เราจะสบื สาน รักษา และตอ่ ยอด และครองแผน่ ดินโดยธรรม เพ่อื ประโยชนส์ ขุ ของประชาราษฎรตลอดไป “ นี้คือความมงุ่ มั่นพระทยั ทีพ่ ระองคจ์ ะดาเนินรอย ตามสมเดจ็ พ่อและสมเดจ็ แมข่ องพระองค์ พระองค์รงสบื สานพระราชกรณียกิจทส่ี าคัญของสมเด็จ พอ่ พระองคก์ ว่า สีพ่ ันโครงการ พระองคท์ รงรกั ษาขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมท่ดี ีงามเยยี่ ง สมเดจ็ แม่ของพระองคท์ ่ีพร่าสอนพระองค์ และพรองคท์ รงตอ่ ยอด โครงการจิตอาสาเราทาความดี ด้วยหัวใจ หวั ใจคือหัวใจของประชาชน ประชาชนทีเ่ ปน็ ทร่ี ักย่งิ ของพระองค์ น้คี อื พระมหากษตั ริยท์ ี่ มบี ญุ ญาธกิ ารท่มี ากล้นในแผน่ ดนิ สยาม สถาบันพระมหากษัตริย์ คอื สถาบนั ที่สาคญั ของชาตไิ ทย สถาบนั พระมหากษตั ริยม์ อิ าจพรากจากประเทศไทยได้ พระองคท์ รงพราสอนทัศนคตทิ ีด่ ีต่อ บา้ นเมือง เราคนไทยทุกคนควรรกั ษาพระองคไ์ ว้ ควรรกั ษาสถาบันพระมหากษัตรยิ ไ์ วเ้ พราะสถาบัน พระมหากษตั ริย์คือสมบตั ิช้นิ เดยี วที่มีคุณคา่ ท่คี นไทยเหลืออยู่ พระองคค์ ือพระมหากษตั ริยท์ ี่มาทา ให้ประชาชนชาวไทยทุกคนมีความสุข นคี้ อื สง่ิ ทเี่ ราควรจะรักพระองค์ เฉกเชน่ พระองค์ทรงรกั ราษฎรประดุจพ่อรักลกู ในอุธรณ์ ขอใหพ้ ระองค์จงทรงพระเจรญิ ยง่ิ ยนื นาน... ส่ิงทีท่ า่ นได้รับชมและรับฟังไปเมอ่ื สักครู่ เปน็ เพยี งเศษเสยี้ วสว่ นหนง่ึ ของประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย เรา มาทราบวา่ ชาตทิ ่ผี า่ นระยะเวลามานรอ้ ยปีพนั ปีจวบจนมผี ืนแผน่ ดนิ ทีพ่ วกเรา ชาวมญั จาคีรแี ละคน ไทยทุกคน หวงแหนยิ่งเหนอื สิง่ อนื่ ใด วนั นี้เราคนไทยจะทาอย่างไรเพอ่ื ให้ผืนแผน่ ดนิ ไทยคงความ เปน็ ไทยสืบตอ่ ไปชวั่ ลกู ชวั่ หลานตราบจนกัลปาวสาน... นางสาวบังอร ภูชาดา ครู กศน.ตาบล ผ้สู ่งผลงาน ( นายสรุ ินทร์ หวา่ งจิตร์ ) ผู้อานวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอมญั จาครี ี
ภำคผนวก
ผลงำนกำรปฏบิ ตั ิงำนทเี่ ปน็ เลิศด้ำนบริหำรจดั กำรยอดเยย่ี ม ( BEST PRACTICE ) โดย นางสาวบงั อร ภูชาดา ครู กศน.ตาบลหนองแปน แผน่ ดนิ ไทยไดม้ าเพราะกลา้ หาญ จากสันดานนกั ส้ผู ้รู ักถนิ่ กลายมาเป็นแดนสยามนามแผ่นดนิ เทดิ ชวี นิ บรรพ บรุ ุษส้สู ุดใจ ภายใตผ้ นื แผ่นดนิ ทท่ี า่ นหยัดยืน ผนื แผน่ ดินทมี่ คี วามรกั ความหวงแหนของเหล่าบรรพชน ผืน แผน่ ดนิ ทีแ่ ลกมาดว้ ยเลือด ดว้ ยเน้ือด้วยชีวติ ของบรู พระมหากษัตรยิ ์ตราธิราชเจ้าทุกพระองค์ เปน็ สิง่ ทพ่ี วก เราทกุ คนจะลืมเลือนเสยี มิได้ รำชธำนแี ห่งแรกของไทย สุโขทยั ราชธานีท่มี ี ลายสอื ไทยมรดกไทยมอบไว้ใหล้ กู หลาน ความรงุ่ เรอื ง งดงามยังถูกจารกึ จนถงึ ปจั จบุ ัน สมยั สโุ ขทยั
กรุงศรอี ยธุ ยา ราชธานีทม่ี ีอายยุ าวนานถงึ 417 ปี ราชธานีท่มี ี วีรกษัตรยิ ์และวีรสตรี ยอมพลกี ายไมเ่ สยี ดาย แมช้ ีวติ เพื่อรักษาแผน่ ดนิ ไวใ้ หล้ ูกหลาน ท่สี ืบสานเผา่ พงศ์ดารงความเป็นไทย
สมัยกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรศี รีมหาสมทุ ร แผ่นดนิ ทม่ี ีมหาบุรุษผู้ยิ่งใหญ่ ผู้ซึ่งกอบกู้เอกราชด้วยความห้าวหาญ จวบจนถึงกาลพลกิ แผ่นดินทรงสละส้ินแม้ราชสมบตั ิเพอ่ื ให้ ขตั ยิ ะเลอื ดไทยนาพาชาติรุ่งเรืองสบื ไป สมัย กรุงธนบรุ ี
รตั นโกสนิ ทร์ แผ่นดนิ ทพี่ ระมหากษัตริย์ทรงรกั ราษฎรประดจุ ลูกในอทุ ร สมัยกรุงรตั นโกสินทร์ รชั กาลท่ี ๑ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช (กษตั ริยน์ กั รบ)
สมยั กรงุ รตั นโกสนิ ทร์ ร. ๑
รชั กาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้านภาลัย (กษัตรยิ ผ์ เู้ ป็นเอกด้านนิพนธแ์ ละดนตร)ี
รชั กาลท่ี ๓ พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา้ เจา้ อยู่หัว (กษัตรยิ ์ผู้ปราชญ์เปร่ืองเรือ่ งการค้า)
รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หัว (กษัตรยิ ์ผูเ้ ปน็ พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย)
รชั กาลที่ ๕ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั มอบความเป็นไทด้วยการเลิกทาส
รชั กาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั (พระมหาธรี ราชเจ้า)
รชั กาลที่ ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว (พระมหากษตั ริยอ์ งคแ์ รกและไดร้ ับรางวัลยูเนสโก และกบั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย)
รชั กาลที่ ๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล (พระมหากษตั ริยผ์ ู้ทรงนาพาซง่ึ ความสามัคคี)
รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศ มหาภมู พิ ลอดลุ ย เดชมหาราช บรมนาถบพติ ร
รชั กาลท่ี ๑๐ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ ทรมหาวชริ าลงกรณ พระวชิรเกลา้ เจา้ อย่หู วั
ภำพกิจกรรมกำรเป็นวทิ ยำกรบรรยำย ประวัตศิ ำสตรช์ ำตไิ ทยและ บุญคุณของพระมหำกษัตริยไ์ ทย( BEST PRACTICE ) ภำพกจิ กรรมอัดคลปิ วิดิโอ “ เงินถุงแดง “
บรรยำย “เงินถงุ แดง” ให้นักศกึ ษำฟงั ๓-๕ สิงหาคม ๒๕๖๓ วิทยากรประวตั ิศาสตรช์ าตไิ ทยกบั สานกั งาน กศน.จังหวดั ขอนแกน่ จัดโครงการเสรมิ สร้างความเป็นพลเมอื งดีตามรอยพระยุคลบาทด้านการศึกษาสู่การปฏบิ ตั ิ สานักงาน กศน.จงั หวัดขอนแกน่
๑๔ สงิ หำคม ๒๕๖๓ โครงกำรประวตั ิศำสตรช์ ำตไิ ทยและบญุ คณุ ของพระมหำกษัตรยิ ไ์ ทย
๒๕ สงิ หาคม ๒๕๖๓โครงการเสรมิ สร้างความเปน็ พลเมอื งดตี ามรอยพระยุคลบาทดา้ นการศึกษาสู่การปฏิบตั ิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 34
Pages: