Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _____________________

_____________________

Published by kppannawit, 2021-03-07 16:57:49

Description: _____________________

Search

Read the Text Version

รายงาน วิชา ภาษาไทย เรื่อง ความเชอ่ื ในวรรณคดีไทย นายนายปณั ณวิชญ์ สรุ ิยพงศ์ เลขท่ี 1 ม. 5/2 นายนายปฏพิ ทั ธ์ ราษฎรว์ ิรุฬห์กิจ เลขท่ี 6 ม. 5/2 นายณฐั ภทั ร อภัยภกั ดี เลขที่ 8 ม. 5/2 รายงานนเ้ี ป็นส่วนหน่งึ ของวชิ าภาษาไทย ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขตสพม.

คานา รายงานฉบบั น้ีเป็นสว่ นหนึ่งของวชิ าภาษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 โดยมี จดุ ประสงค์เพอ่ื ศกึ ษาความรทู้ ไี่ ดจ้ ากเรื่อง ความเชื่อในวรรณคดี ซ่งึ รายงานนมี้ เี นอื้ หา เกีย่ วกับความรเู้ กย่ี วกับความเชอื่ ต่างๆในวรรณคดี ผ้จู ดั ทาไดเ้ ลอื กหวั ข้อน้ีในการทารายงาน เนือ่ งมาจากเป็นเร่อื งทีน่ ่าสนใจและ ต้อง ขอขอบคณุ อาจารยศ์ ุภลักษณ์ พลเรอื ง ผ้ใู ห้ความรู้และแนวทางการศึกษา เพอ่ื น ๆ ทุก คนที่ให้ ความชว่ ยเหลอื มาโดยตลอดผู้จดั ทาหวงั ว่ารายงานฉบับนีจ้ ะให้ความรู้ และเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ อู้ า่ นทุก ๆ ท่าน คณะผู้จัดทา

สารบญั สงิ่ เร้นลบั ในวรรณคดกี บั ความเชื่อของชนชาตไิ ทย………………………………………………………………………………2 วิวัฒนาการของสงิ่ เร้นลับในวรรณคดไี ทย………………………………………………………………………………………………4 อทิ ธิพลของส่งิ เรน้ ลบั ในวรรณคดี……………………………………………………………………………………………………………6 บรรณานกุ รม.................................................................................................................................................11

1 ย้อนกลบั ไปเมอ่ื ครั้งบทความแรกยังไมถ่ อื กาเนิด การเดนิ ทางของเราเร่ิมตน้ จาก ความสงสยั ในความเชื่อเร่ืองสิ่งเร้นลับ ดงั ทคี่ ุณเองกท็ ราบดีวา่ กอ่ นจะกล่าวถึง ตานานเร่อื งใดสักเร่ือง หนงั สอื หลายเล่มกล็ ้วนเกร่ินแต่เพียงวา่ สิ่งเร้นลบั อยคู่ ่คู น ไทยมาชา้ นาน ประโยคนท้ี าใหเ้ ราสนใจค้นควา้ และคาถามทผ่ี ุดข้ึนในใจของ เรากม็ ไิ ดม้ ีเพียง เกดิ ขน้ึ มานานเทา่ ใด? แตย่ งั รวมถึง มที ม่ี าท่ีไปอย่างไร ? อกี ดว้ ย คาถามเหล่านค้ี อื ไฟฉายท่เี ราใชส้ ่องสว่าง และวรรณคดีคือแผนทที่ ่ีเราเลือกใช้ เพ่ือการเดินทาง บทความทีผ่ า่ นมาท้ังหมดของเราเปน็ เคร่อื งยืนยันได้อย่างดวี า่ การศกึ ษาวิวัฒนาการของสิง่ เรน้ ลับในไทยจากวรรณคดีนามาซง่ึ ข้อมลู ท่นี ่าสนใจ แม้แต่คณะตาท่สี ามเองยงั รสู้ กึ วา่ บางข้อมลู ทีเ่ ราสบื คน้ ได้มาช่างกระตนุ้ ต่อมการ เรยี นรู้บางต่อมใหข้ ยันทางาน แมเ้ ราจะไมร่ วู้ า่ มนั อยูส่ ว่ นไหนของรา่ งกายก็ ตาม….

2 ในบทความทง้ั 5 บทความ นอกเหนือไปจากเน้อื หาเร่อื งวรรณคดที ี่เรานาเสนอ และความสนุกสนานที่เราพบพาน ตาท่ีสามยังสอดแทรกลกั ษณะเดน่ ของสงิ่ เร้น ลบั ในแตล่ ะยคุ สมัยไว้ในบทความของเราด้วย ซึ่งจากการศึกษาพบวา่ หากใช้ ความแตกตา่ งของสิ่งเร้นลับที่ปรากฏในวรรณคดเี ป็นเกณฑ์ เราจะสามารถแบ่ง ยคุ สมยั ของสง่ิ เร้นลบั ในวรรณคดไี ทยออกเป็น 4 ยคุ สมยั อันไดแ้ ก่ สมัยก่อน สุโขทัย สมยั สโุ ขทยั สมัยอยธุ ยา และสมยั รตั นโกสินทร์ ด้วยเหตุน้ี เราจงึ ใหท้ งั้ 5 บทความจากวรรณคดี 5 เรอื่ งของเรา เปน็ ตัวแทนให้ เห็นจดุ เด่นของส่งิ เรน้ ลับในวรรณคดแี ตล่ ะยุคสมยั ดังภาพ สงิ่ เรน้ ลับในวรรณคดกี บั ความเช่อื ของชนชาติไทย ส่งิ เรน้ ลบั ทป่ี รากฏในวรรณคดีเป็นหลักฐานอยา่ งดที ท่ี าใหเ้ ราร้วู ่า ชนชาตไิ ทยมี ความเชือ่ อยา่ งไรตอ่ เรือ่ งที่วทิ ยาศาสตร์อาจไม่มคี าตอบ วรรณคดชี ว่ ยให้เราเห็น พัฒนาการของความเชอ่ื และแสดงใหเ้ ห็นว่าความเชอ่ื เรื่องสิง่ ล้ีลบั ของคนไทย

3 คลา้ ยคลึงกบั หลายประเทศในแถบเอเชยี อาคเนย์ ไมว่ า่ จะเป็น พม่า ลาว และ กัมพชู า ซึ่งลว้ นแต่ตง้ั อยูใ่ นภูมิภาคใกล้เคยี ง และนบั ถอื ศาสนาเดียวกนั อย่างท่ีคณุ ทราบดี ตานานเรอ่ื งคาสาปวูดูไมไ่ ดม้ าจากชนชาติไทย และตานาน เร่ืองเผา่ พนั ธแ์ุ มม่ ดก็ไมไ่ ดม้ าจากพม่า ลาว หรือกมั พูชา แต่ในขณะเดียวกันทงั้ สามประเทศกลับมีความเชอื่ ในหลายๆเร่อื งท่ีตรงกบั ไทย ท่เี ป็นเชน่ นเ้ี พราะ ความเช่ือของแต่ละชนชาติจะมีท่มี าจากความเช่ือทอ้ งถื่นในพ้ืนทใ่ี กล้เคียง และ อิทธพิ ลของศาสนาทชี่ นชาตินน้ั ๆนับถือ ในทีน่ ีค้ าสาปวูดูและตานานแมม่ ด ไมใ่ ชค่ วามเชอื่ ในศาสนาของชนชาติแถบเอเชยี อาคเนย์ ชนชาตแิ ถบนี้จงึ ไม่มี ความเช่ือดังกล่าวรว่ มกัน ศาสนาพุทธแบบลังกาวงศแ์ ละศาสนาพราหมณ์คอื สองศาสนาที่เขา้ มาในภมู ภิ าค นี้ นอกจากจะเผยแผค่ าสอนแล้วยังชว่ ยตอกยา้ ความเชอื่ ดัง้ เดิมของคนใน ทอ้ งถน่ิ ใหช้ ัดเจนย่งิ ขึ้น ดงั จะเห็นไดจ้ ากภาพทส่ี ะท้อนออกมาในรปู แบบของ สังคม วถิ ีชีวิต รวมถึงศลิ ปวฒั นธรรม ไม่ว่าจะเป็นภาพจติ รกรรมฝาผนงั สถาปัตยกรรม และวรรณคดี

4 ววิ ัฒนาการของสิ่งเรน้ ลับในวรรณคดไี ทย ดังที่เราไดก้ ล่าวไวข้ ้างตน้ ว่า เราสามารถแบ่งสง่ิ เร้นลับท่ปี รากฏในวรรณคดีไทย ออกเป็น 4 ยุคสมัย และส่ิงทเี่ ราอยากจะนาเสนอในบทความส่งท้าย คอื ววิ ฒั นาการของส่งิ เร้นลับ ซ่ึงจะอธิบายให้คุณเห็นเป็นรูปธรรมดงั นี้ ก่อนสโุ ขทยั เดิมทชี นชาติไทยของเรานับถือวญิ ญาณ แบง่ ไดเ้ ป็น 4 จาพวก ไดแ้ ก่ ผีธรรมชาติ ผีบรรพบรุ ุษ ผบี ้านผเี มอื ง และผฟี า้ จนพฒั นาไปเป็นความ เชื่อที่ว่า บนฟา้ ยงั มสี งั คมของผชี ั้นสูง ทีม่ รี ะบอบการปกครองเหมือนสังคม มนษุ ย์ และใหช้ อ่ื ของผเี หลา่ น้ันว่า เทพ ( ปฐมบท: ความเช่อื เร่อื งส่งิ เรน้ ลับ ในวรรณคดไี ทย ) สมยั สโุ ขทยั ความเชอ่ื เรอ่ื งศาสนาพุทธทาให้ชนชาติไทยไดเ้ รียนรู้เรือ่ งบาป บญุ คณุ โทษ ต้นเหตขุ องชาติกาเนดิ ทีไ่ ม่เทา่ เทียมกนั จงึ เช่ือมโยงความเชื่อเดิม ใหเ้ ขา้ กบั เรือ่ งบาปบุญ และวรรณคดีทีเ่ ปน็ หลกั ฐานช้ินเอกสาหรบั การกระทานี้ คือ คอื ไตรภูมิพระรว่ ง ฉบบั พระยาลไิ ท (บททส่ี อง: ผีเปรตในไตรภูมพิ ระรว่ ง) สมัยอยธุ ยา นอกเหนอื จากเรือ่ งบาปบุญคุณโทษในพระพุทธศาสนา ชน ชาตไิ ทยยงั เรียนรเู้ รอ่ื งไสยศาสตรแ์ ละโหราศาสตร์ที่ได้รบั อทิ ธิพลมาจากศาสนา พราหมณ์ วรรณคดีเรอ่ื งแรกที่ทาให้เราเห็นความเช่อื ที่มาจากศาสนาพราหมณ์ คอื ลลิ ิตโองการแช่งนา้ ซึ่งมีบทกล่าวนมสั การเทพสามองคใ์ นความเช่ือของ ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู (บทที่สาม: คาสาปแช่งในลลิ ติ โองการแช่งน้า) และลลิ ิต พระลอคอื วรรณคดีเร่ืองถดั มา ที่สะท้อนให้เห็นความเช่ือเรื่องไสยศาสตร์ ผา่ น การทาเสน่ห์ (บททส่ี :่ี ยาเสน่ห์ในลิลิตพระลอ)

5 สมัยรตั นโกสินทร์ ทง้ั ความเชื่อเรอ่ื งบาปบุญ และความเช่ือเรื่องไสยศาสตร์ ผสมผสานกนั ไดอ้ ย่างเหลือเชอื่ ในวรรณคดเี อกเร่ืองขนุ ชา้ ง ขุนแผน อกี ท้ัง รูปแบบของคุณไสยท่ีหลากหลาย และการเขา้ มาอย่างเต็มรูปแบบของความเชื่อ เรอ่ื งโหราศาสตร์ ทาใหส้ ามารถแยกความแตกตา่ งระหว่างความเชอ่ื ในสมัย อยธุ ยาและรัตนโกสนิ ทร์ได้ (บททีห่ า้ : ไสยเวทย์ในขุนชา้ งขุนแผน) วชิ าอาคมทแ่ี กก่ ล้าของขุนแผน

6 อิทธพิ ลของส่ิงเร้นลับในวรรณคดี สง่ิ เร้นลบั ท่ปี รากฏในวรรณคดีมเิ พยี งแตส่ ร้างอรรถรสใหก้ บั เน้ือหาเท่านัน้ แตย่ ัง สง่ อทิ ธิพลถงึ ปัจจัยตา่ งๆ ทง้ั การปกครองอาณาจักร และวถิ ีชวี ติ ของคนในยุค สมัยนน้ั ๆ ดงั จะกล่าวตอ่ ไปนี้ อทิ ธิพลตอ่ ระบอบการปกครอง สมยั สุโขทยั พระยาลไิ ททรงพระราชนพิ นธเ์ ร่อื ง ไตรภูมิพระรว่ ง เพอื่ ประโยชน์ในดา้ นการปกครองนอกเหนอื ไปจากการเผยแผ่ศาสนาพุทธ เพราะ เมือ่ ราษฎรเกรงกลัวบาปกรรมไม่กล้าทาช่วั บา้ นเมืองก็จะสงบเรียบร้อย สมัยอยธุ ยา ในสมัยน้กี ษตั ริย์ปกครองแบบเทวราชาอนั ได้รบั อทิ ธพิ ลมาจาก ชนชาติขอม การปกครองในรูปแบบน้ีเป็นผลมาจากความเชอ่ื ในศาสนา พราหมณ์ จึงก่อใหเ้ กิดวรรณคดีเพอ่ื ประโยชนก์ ารปกครอง เช่น ลิลิตโองการ แช่งน้า และลิลิตตะเลงพา่ ย ลิลิตโองการแช่งน้า กลา่ วถึงพระราชพธิ ถี ือน้าพิพัฒน์สตั ยา ซึง่ เป็นพธิ ีดื่มน้า เพือ่ ให้คาสัตย์วา่ จะ จงรกั ภักดตี ่อสถาบันพระมหากษัตริย์

7 พระราชพธิ ถี ือน้าพิพฒั นส์ ตั ยาในปจั จุบัน ลิลิตตะเลงพา่ ย กลา่ วถึงพธิ ีโขลนทวาร พิธีที่ใหก้ องทพั ลองผ่านซมุ้ ประตูปา่ ที่ทาข้ึนตามตารา พราหมณ์ โดยมีพราหมณ์คู่หนง่ึ นงั่ บนสองขา้ งซุ้มคอย ประพรมน้าเทพมนตรอ์ วยชัย สมัยรตั นโกสินทร์ วรรณคดใี นสมัยนไ้ี ด้รับอทิ ธิพลมาจากสมัยอยธุ ยา และ ปรากฏวรรณคดที ม่ี ีที่มาจากต่างประเทศ วรรณคดีที่กล่าวถึงเรื่องเหนือ ธรรมชาตแิ ละส่งผลตอ่ การปกครอง เชน่ รามเกยี รต์ิ ท่นี าเคา้ โครงเรอ่ื งมาจาก รามายณะ ของอินเดีย อภนิ ิหารและสิง่ เรน้ ลับในวรรณคดเี รื่องนี้คือเครอ่ื งมือ แสดงออกถงึ ความย่ิงใหญข่ องสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ 2. สภาพสังคมและวิถชี วี ิต สง่ิ เรน้ ลับในวรรณคดีมผี ลต่อสภาพสงั คมและวิถีชีวิตของคนในทุกยคุ สมยั เม่ือมี วรรณคดีพระพุทธศาสนาอย่างไตรภูมพิ ระร่วง วถิ ชี ีวติ ของชนชาตไิ ทยกผ็ กู พนั กับศาสนาพทุ ธ ผคู้ นเกรงกลวั ในบาปและตอ้ งการบญุ เพือ่ ส่งตวั เองขึ้นสวรรค์

8 กระทั่งวรรณคดใี นยคุ สมยั หลงั ๆทีม่ เี น้อื หาเก่ียวกับพธิ กี รรม กย็ งั สง่ ผลให้วิถีชีวติ ของชนชาติไทยมรี ายละเอียดมากขึน้ และทาในสิ่งทเี่ ปน็ คุณแก่ตนในเชิงกศุ โล บาย อาทิ การทาพธิ ถี ือน้าพพิ ฒั นส์ ัตยา ซึ่งแน่นอนวา่ คาสาปมิไดม้ รี ูปรา่ งเป็น อาวธุ มาประหารผู้ทที่ าผิดให้เหน็ หากแต่พธิ ดี งั กลา่ วทาเพอื่ ให้เกิดผลตอ่ จิตใจ ทาใหห้ วาดกลวั และไมก่ ลา้ คดิ รา้ ย จวบจนในยุคสมยั ปจั จุบนั สิ่งเร้นลบั ในวรรณคดีก็ยงั คงสง่ ผลตอ่ วถิ ชี วี ิตของเรา อยู่ หากมองมาที่ตวั เองแลว้ ยังไมเ่ หน็ ภาพ เราอยากใหค้ ณุ นึกถึงปยู่ ่าตายาย ท่ี หลายๆท่านยงั คงเล่าเร่อื งพระมาลัยท่องนรกได้ทกุ ฉาก หรือแมก้ ระท่งั รปู ปัน้ ทศ กัณฑ์ทย่ี ังมคี นจดุ ธูปบชู า จะเห็นไดว้ ่า อทิ ธิพลท่ีมีต่อสภาพสังคมและวิถีชีวิต จะผูกพนั กบั ศาสนาด้วย เพราะสงิ่ เรน้ ลบั ในวรรณคดีท่มี รี ูปแบบแตกตา่ งกันออกไปก็มีผลมาจากเรื่องของ ศาสนาน่ันเอง ทาไมความเชื่อเรอ่ื งผีจึงไม่หมดไป q? เป็นท่นี ่าสงั เกตวา่ แมป้ ระเทศไทยจะสาวเทา้ ก้าวเขา้ ส่ยู คุ ดจิ ิทลั พรอ้ มกบั นานา อารยประเทศ แต่ความเชอ่ื เรอ่ื งผกี ไ็ ม่เคยหมดไป นน่ั เป็นเพราะอะไรกันนะ ? ความเช่อื เรอื่ งผที ี่ยงั คงปรากฏในภาพยนตร์ไทยปัจจุบัน คาถามน้พี วกเราตาทสี่ ามก็พยายามอยา่ งยงิ่ ท่จี ะหาคาตอบ และไดข้ อ้ สรปุ หลงั ถกเถยี งกนั อย่างดเุ ดือดยิ่งกวา่ พระรามรบกับทศกัณฐ์ว่า เพราะสังคมไทยได้ผูก

9 ติดความเชื่อเรื่องผีเข้าไวก้ ับเง่อื นตายทแ่ี กอ้ อกได้ยากมาก ซึ่งกค็ ือ ศาสนา โดยเฉพาะ ศาสนาพุทธ อนั เป็นศาสนาประจาชาติไทยโดยพฤตนิ ยั นน่ั เอง หากคณุ ไดอ้ ่านบทความแรกของเรา คณุ จะทราบว่าแท้จริงแล้วศาสนาและผมี ี รากฐานมาจากส่งิ เดียวกัน แตเ่ มอื่ พฒั นาต่อไป ศาสนากลับเป็นส่งิ ท่ตี อบ คาถามท่มี นษุ ยส์ งสัยได้ จึงถูกใชเ้ ป็นบรรทัดฐานความดแี ละความชั่ว ศาสนาคือ ตัวแทนของฝ่ายดี ในขณะท่ีผคี ือตวั แทนของฝ่ายชว่ั ความเชอื่ เรอ่ื งผที คี่ นนาไป รวมไวก้ บั ศาสนาตง้ั แตต่ น้ จงึ ตอ้ งอยู่คู่กนั ไปตราบเท่าท่คี นยงั เชื่อถือในศาสนา ดว้ ยประการฉะนี้ แล…. บทสรุปทแี่ ท้จริง จากศิลาจารึกพอ่ ขุนรามคาแหง วรรณคดเี รอ่ื งแรกของไทย มาสู่ขุนชา้ งขนุ แผน อันเปน็ วรรณคดเี ร่อื งสุดท้ายทเี่ ราใชเ้ ป็นแผนท่นี าทาง ทาให้พวกเราคณะตาท่ี สามตระหนักไดว้ า่ รปู แบบของความเช่อื เรอ่ื ง สง่ิ เรน้ ลับในวรรณคดไี ทยจะ ยังคงอยูแ่ ละมีแนวโน้มทจี่ ะซับซ้อนข้นึ ไปเรื่อยๆ หากแตอ่ าจถกู ลดทอน ความสาคัญลงเหลอื เพยี งตานานหรอื เรื่องเล่าที่ฟังสนกุ เนือ่ งดว้ ยอทิ ธพิ ลจาก โลกตะวันตกทแ่ี มแ้ ตพ่ ธิ ีกรรมกม็ อิ าจต้านทานไมใ่ ห้ถูกลบเลอื นไปได้ อย่างไรก็ ตามยงั มีสิ่งหน่งึ ทีซ่ ่อนอย่ใู นววิ ัฒนาการเรื่องสงิ่ เรน้ ลบั ท่เี รากาลังศึกษา ….. ส่งิ ที่นา่ กลวั ท่ีสดุ ท่แี ทจ้ รงิ คอื …..มนษุ ย์

10 คณุ อาจเคยรสู้ ึกขนลุกกับตานานแม่นาคพระโขนง เปรตวัดสทุ ัศน์ หรอื อาจ หวาดผวาเมือ่ จินตนาการไปวา่ จะมผี ีสาวมุดเข้ามาในผ้าหม่ เหมือนในภาพยนตร์ ญี่ปุ่นเลือ่ งช่อื วิวฒั นาการเร่ืองสง่ิ เร้นลบั ท่เี ราได้ศกึ ษา แสดงใหเ้ ห็นว่าความเชื่อเรื่องส่ิงเรน้ ลบั พัฒนามาจากความกลวั กลัวในสง่ิ ที่มอี ยู่ แต่ไม่รูว้ ่าคืออะไร และจินตนาการ เองจากความกลัวน้ันว่ามีส่ิงทยี่ ง่ิ ใหญก่ วา่ ท่ีคอยกาหนดชะตาชวี ติ

11 บรรณนานุกรม https://mayakarn.wordpress.com/2017/04/12/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E 0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AB%E0%B8%81- %E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0% B8%9B%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A 7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8A/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook