หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 ชือ่ หน่วย พุทธประวตั ิ พระสาวก ศาสนิกชน ตวั อย่าง และชาดกรหสั ส 31101 วชิ า สังคมศึกษาพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรมชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลา 4 ชัว่ โมงชื่อผูส้ อน สาธิตา คีรีประพาส โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 ****************************************************1. สาระการเรียนรู้ / ตัวช้ีวดัสาระที่ 1 ( พระพุทธศาสนา )มาตรฐานการเรียนรู้ /ตวั ช้วี ัดส 1.1 ม. 2/5 วิเคราะห์พุทธประวตั ิหรือประวตั ศิ าสดาของศาสนาท่ีตนนบั ถือตามทีก่ าหนด ม. 2/6 วเิ คราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดาเนินชวี ิตและข้อคดิ จากประวัติสาวกชาดก เรอ่ื งเลา่ และศาสนิกชนตวั อย่างตามทกี่ าหนด2. สาระสาคญัการวิเคราะห์พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ย่อมทาให้ได้ข้อคิดและคณุ ธรรมอันเปน็ แบบอยา่ งของท่าน เพ่อื นาไปประยุกตป์ ฏบิ ัติในการดาเนินชวี ติ อย่างถูกต้อง3. สาระการเรียนรู้3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง1) สรุปและวเิ คราะห์พุทธประวัติ- การผจญมาร - การตรสั รู - การส่ังสอน2) พทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า- พระสารีบตุ ร - พระโมคคลั ลานะ- นางขชุ ชุตตรา - พระเจ้าพิมพิสาร3) ชาดก- มิตตวนิ ทุกชาดก - ราโชวาทชาดก4) ศาสนกิ ชนตวั อยา่ ง- พระมหาธรรมราชา(ลิไทย) - สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถน่ิ(พจิ ารณาตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา)4. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น4.1 ความสามารถในการส่ือสาร4.2 ความสามารถในการคิด
1) ทกั ษะการตคี วาม 3) ทกั ษะการวิเคราะห์ 2) ทกั ษะการแปลความ 4) ทักษะการประยกุ ต์ใชค้ วามรู้ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต5. คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงค์ 1. ซ่อื สตั ย์ สจุ รติ 5. มุง่ มน่ั ในการทางาน 2. มวี ินัย 6. มีความอดทน อดกล้นั 3. ใฝ่เรยี นรู้ 7. มคี วามกตญั ญู 4. อยูอ่ ยา่ งพอเพียง 8. มคี วามอ่อนน้อมถ่อมตน6. หลักฐานการเรียนรู้ - แบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 2 เร่ือง พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชน ตัวอย่าง และชาดก7. การวัดและประเมินผล 7.1 การประเมินกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ืองพุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยา่ ง และชาดก 7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 2.1 เร่ือง พุทธประวัติ 2) ตรวจใบงานท่ี 2.2 เรื่อง พระสารีบุตร 3) ตรวจใบงานที่ 2.3 เร่อื ง พระโมคคลั ลานะ 4) ตรวจใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง นางขุชชตุ ตรา 5) ตรวจใบงานที่ 2.5 เรอ่ื ง พระเจา้ พิมพิสาร 6) ตรวจใบงานที่ 2.6 เรื่อง การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คา่ ความรู้ สาวกพทุ ธสาวิกา 7) ตรวจใบงานที่ 2.7 เรื่อง พระมหาธรรมราชา (ลไิ ทย) 8) ตรวจใบงานท่ี 2.8 เรื่อง สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส7.3 การประเมินหลงั เรยี น - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ือง พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตวั อยา่ ง และชาดก 7.4 การประเมนิ ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) 1) ตรวจแผนผังความคิด เร่ือง ข้อคิดจากพุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตวั อย่าง และชาดก
เร่อื งท่ี 1 พทุ ธประวตั ิ และชาดก (1 ช่ัวโมง)8. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ นกั เรยี นสวดมนตบ์ ูชาพระรัตนตรยั และทาสมาธกิ อ่ นเรียนทุกชว่ั โมงวธิ ีสอนแบบ กระบวนการกลุม่ สมั พันธ์ขน้ั ท่ี 1 นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ครูให้นักเรียนผลัดกันเล่าความรู้เดิมท่ีนักเรียนเคยเรียน เรื่อง พุทธประวัติ และให้นักเรียนช่วยกันเสนอขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการศึกษาพุทธประวตั ิข้ันที่ 2 จดั การเรียนรู้ 1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 8 คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เรื่อง พุทธประวตั ิ ตอน ผจญมาร ตรสั รู้ และเทศนาส่งั สอน จากหนังสอื เรยี น 2. สมาชิกแตล่ ะกลุ่มฝึกตัง้ คาถาม จากพทุ ธประวัตทิ ไ่ี ด้ศกึ ษา มากลุ่มละ 10 ข้อ พร้อมเฉลยคาตอบ 3.นักเรียนแต่ละกลุ่มผลัดกันถามคาถามกับสมาชิกกลุ่มอ่ืนเรียงตามลาดับ ครูเป็นผู้ตรวจสอบความถูกต้อง 4. สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบงานที่ 2.1 เรื่อง พุทธประวัติ เสร็จแล้วครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยคาตอบ ในใบงานขัน้ ท่ี 3 สรุปและนาหลักการไปประยกุ ตใ์ ช้ 5. ครูและนกั เรียนชว่ ยกนั สรปุ พุทธประวัตแิ ละครูอธบิ ายเพ่ิมเตมิขั้นที่ 4 วดั และประเมนิ ผล 1. ครูวัดและประเมินผลนักเรียนจากการทาใบงานที่ 2.1 และการอภิปรายร่วมกันตามประเด็นที่ครูกาหนด 2. ครสู งั เกตพฤตกิ รรมการทากจิ กรรมกลมุ่ ร่วมกนั ของนกั เรยี นเรอื่ งที่ 2 ประวตั พิ ุทธสาวก พุทธสาวกิ า (2 ชว่ั โมง)ขน้ั ที่ 1 นาเขา้ สู่บทเรียน ครูให้นักเรียนผลัดกันยกตัวอย่างพุทธสาวก พุทธสาวิกา ที่นักเรียนแต่ละคนประทับใจ และให้อภิปรายรว่ มกันในประเดน็ ท่กี าหนดขั้นท่ี 2 สอน 1. ครูให้นักเรียนกลุ่มเดิม กลุ่มละ 5 คน แล้วให้นักเรียนแต่ละคู่ศึกษาความรู้เรื่อง ประวัติพุทธสาวกพทุ ธสาวิกา จากหนงั สอื เรียน 2. นักเรียนแตล่ ะกล่มุ สนทนาแลกเปลีย่ นความรู้ตามหัวข้อท่ีคู่ของตนรับผิดชอบในการศึกษาและช่วยกันทา ใบงาน ดงั นี้ - กลมุ่ ท่ี 1 ทาใบงานที่ 2.2 เรอ่ื ง พระสารีบุตร - กลมุ่ ท่ี 3 ทาใบงานที่ 2.4 เร่ือง นางขชุ ชตุ ตรา
- กลมุ่ ท่ี 2 ทาใบงานท่ี 2.3 เร่อื ง พระโมคคลั ลานะ - กลุ่มท่ี 4 ทาใบงานที่ 2.5 เรือ่ ง พระเจ้าพิมพสิ าร 3. สมาชกิ แตล่ ะกล่มุ ผลัดกันเลา่ ผลงานในใบงานที่ 2.2-2.5 ให้เพ่ือนกลุ่มอ่ืนภายในกลุ่มฟัง ตามใบงานท่ีกลมุ่ ของตนรบั ผิดชอบ เป็นการแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกัน 4. ครแู ละนกั เรียนช่วยกนั เฉลยคาตอบในใบงานที่ 2.2-2.5 5. สมาชิกแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันวเิ คราะห์และประเมนิ ค่าความรู้ท่ไี ด้จากการศกึ ษาความรู้เก่ียวกับประวัติของพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ตามกรอบหัวข้อท่กี าหนดใหใ้ นใบงานที่ 2.6 เรื่อง การวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ค่าความรู้ 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอใบงานที่ 2.6 หน้าชั้นเรียน จากน้ันครูและนักเรียนชว่ ยกันสรุปขอ้ คดิ ท่ไี ด้รับข้ันที่ 3 สรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับประวัติ และคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของพุทธสาวก พุทธสาวิกาเรื่องท่ี 3 ศาสนิกชนตวั อยา่ ง ( 2 ชวั่ โมง )ขัน้ ท่ี 1 นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ครูให้นักเรียนผลัดกันเล่าการกระทาของนักเรียนที่ปฏิบัติตนตามหลักคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างของพทุ ธสาวก พุทธสาวกิ า ท่ีนกั เรียนไดศ้ กึ ษาไปแล้ว ครชู มเชยนักเรียนทส่ี ามารถปฏบิ ัตไิ ด้ขั้นท่ี 2 สอน 1. ครใู ห้นักเรียนกลุ่มเดมิ ร่วมกันศกึ ษาความร้เู รือ่ ง ประวัติของศาสนิกชนตัวอย่าง จากหนังสือเรียน แล้วให้แต่ละกลุ่มแบ่งออกเปน็ 2 กล่มุ กล่มุ ละ 5 คน ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ชว่ ยกนั ทาใบงาน ดงั นี้ - กลมุ่ ท่ี 1 ทาใบงานที่ 2.7 เร่ือง พระมหาธรรมราชา (ลไิ ทย) - กลุ่มที่ 2 ทาใบงานที่ 2.8 เรอ่ื ง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส 2. สมาชิกแต่ละกลุ่มช่วยกันตรวจสอบความถูกต้องของใบงานท่ีกลุ่มรับผิดชอบ จากนั้นให้สมาชิกกลุ่มอธบิ ายความรู้จากใบงานที่กลมุ่ ตนรบั ผิดชอบให้สมาชิกกลมุ่ อีกกลมุ่ หนึง่ ฟัง 3. ครูสุ่มนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาเฉลยคาตอบในใบงานที่ 2-7-2.8 หน้าช้ันเรียน กลุ่มละ 1-2 หัวข้อตามความเหมาะสม แลว้ ให้กลุม่ อื่นท่มี ีคาตอบท่ีแตกตา่ งกนั ได้เสนอเพมิ่ เตมิ ครูตรวจสอบความถูกต้อง 4. ครแู ละนักเรยี นช่วยกันวิเคราะห์ข้อคิดที่ได้จากการศึกษาความรู้ เร่ือง พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวกพุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก พร้อมกับแนวทางการนาหลักคุณธรรมอันเป็นแบบอย่างไปประยุกต์ปฏิบัติ และผลท่คี าดวา่ จะไดร้ บั9. ส่อื การเรยี นรู้ / แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนังสอื เรียน พระพุทธศาสนา ม.2
2) บตั รภาพ 3) ใบงานท่ี 2.1 เรื่อง พทุ ธประวตั ิ 4) ใบงานท่ี 2.2 เรื่อง พระสารบี ตุ ร 5) ใบงานท่ี 2.3 เร่อื ง พระโมคคลั ลานะ 6) ใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง นางขุชชตุ ตรา 7) ใบงานท่ี 2.5 เร่ือง พระเจ้าพิมพิสาร 8) ใบงานท่ี 2.6 เรื่อง การวิเคราะห์และประเมนิ คา่ ความรสู้ าวกพทุ ธสาวกิ า 9) ใบงานท่ี 2.7 เรื่อง พระมหาธรรมราชา (ลไิ ทย) 10).ใบงาน ที่ 2.8 เรือ่ ง สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1. หอ้ งสมดุ 2. แหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศ
10. การวัดผลและประเมนิ ผลเป้าหมาย หลักฐานการเรยี นรู้ วิธีวัด เครื่องมอื วัดฯ ประเดน็ /การเรียนรู้ ช้ินงาน/ภาระงาน 1. ตรวจแบบทดสอบ 1. แบบทดสอบ เกณฑ์การให้ 1) ใบงานที่ 2.1 เรอื่ ง คะแนน พุทธประวัติ ร้อยละ 60 ผา่ น 2) ใบงานที่ 2.2 เรื่อง พระสารบี ตุ ร เกณฑ์ 3) ใบงานท่ี 2.3 เรอื่ ง พระโมคคัลลานะ 2. สงั เกตพฤติกรรม 2. แบบสงั เกต 4) ใบงานท่ี 2.4 เรอ่ื ง นางขชุ ชตุ ตรา รายกลุ่ม พฤติกรรมรายกลุ่ม 5) ใบงานที่ 2.5 เร่อื ง พระเจา้ พิมพิสาร 6) ใบงานท่ี 2.6 เรอ่ื ง การวิเคราะห์และ ประเมินค่าความรู้ สาวกพทุ ธสาวกิ า 7) ใบงานที่ 2.7 เรื่อง พระมหาธรรมราชา (ลิ ไทย) 8) ใบงานที่ 2.8 เรื่อง สมเด็จพระมหาสมณ เจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
11. จุดเนน้ ของโรงเรยี นการบรู ณาการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี นปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ครู ผเู้ รียน 1. มีภมู คิ มุ้ กันในตวั ท่ดี ี ภูมปิ ัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ ภมู ิปัญญา : มคี วามรู้ รอบคอบ และ 2 .เง่ือนไขความรู้ ระมดั ระวัง ระมัดระวงั สรา้ งสรรค์ ภมู ิธรรม : ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ขยันอดทน ภมู ิธรรม : ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและแบง่ ปนั ตรงต่อเวลา เสียสละและ แบง่ ปนั ความรอบรเู้ รอ่ื งพทุ ธประวัติ พระ ความรอบรเู้ รื่อง พุทธประวัติ พระ สาวก ศาสนิกชน ตัวอยา่ ง และ สาวก ศาสนกิ ชน ตัวอยา่ ง และ ชาดก เกย่ี วข้องรอบดา้ น ความ ชาดก สามารถนาความรู้เหลา่ น้ัน รอบคอบท่จี ะนาความรเู้ หล่านัน้ มา สามารถประยุกต์ใช้ในชวี ิตประจาวัน พิจารณาใหเ้ ช่ือมโยงกนั เพ่ือ ประกอบการวางแผน การดาเนนิ การ จัดกิจกรรมการเรียนร้ใู ห้กบั ผู้เรียน ลงชื่อ ผสู้ อน (นางสาวสาธิตา ครี ปี ระพาส) ลงชื่อ………………………ครพู เ่ี ล้ียง (ครนู ิกร ไชยบุตร.)
แบบทดสอบก่อนเรยี น คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบที่ถูกต้องท่ีสดุ เพยี งขอ้ เดียว1. เหตกุ ารณใ์ นพทุ ธประวัติตอนผจญมารนั้น ภาษาธรรม คาวา่ “มาร” หมายถงึ อะไรก. ศัตรู ข. กิเลส ค. ตณั หา ง. ความเชอ่ื2. เจา้ ชายสทิ ธัตถะทรงศึกษาวิชาในขอ้ ใด กับอาฬารดาบส กาลามโคตร และอทุ ทกดาบสรามบุตรก. ความร้ทู างศิลปศาสตร์ ข. ฝึกจิต บาเพ็ญตบะ ค. บาเพญ็ ทุกกรกริ ิยา ง. ฝกึ ปฏบิ ตั โิ ยคะ3. ใหเ้ รยี งลาดับการค้นคว้าทางพ้นทุกข์ของพระพุทธเจ้าจากก่อนไปหลงัก. ฝกึ ปฏบิ ัติโยคะบาเพญ็ ตบะ บาเพญ็ เพียรทางจิต บาเพญ็ ทุกกรกริ ยิ าข. บาเพญ็ ทุกกรกิรยิ าบาเพ็ญตบะ ฝึกปฏิบตั โิ ยคะ บาเพ็ญเพียรทางจติค. ฝึกปฏบิ ตั โิ ยคะบาเพญ็ ตบะ บาเพ็ญทุกกรกิริยา บาเพ็ญเพียรทางจติง.บาเพญ็ ตบะฝึกปฏิบตั ิโยคะ บาเพ็ญทุกกรกริ ิยา บาเพ็ญเพียรทางจิต4. เหตุการณ์ก่อนพระพทุ ธเจ้าตรสั รู้ ข้อใดถูกต้องก. ทรงรบั หญ้ากุสะจากนางสุชาดาข. ทรงรบั ข้าวมธปุ ายาสจากนายโสตถิยะค. พระองคเ์ สด็จข้ามแม่นา้ เนรญั ชราไปทางฝัง่ ตะวันออกง. ประทับนง่ั ขดั สมาธิ ณ โคนต้นโพธิ์ ผินพระพักตรไ์ ปทางทิศตะวนั ออก
5. เพราะเหตใุ ด พระพุทธเจ้าทรงตัง้ พระทัยมนั่ คงวา่ จะต้องสอนปญั จวคั คยี ์ หลังจากตรสั รูแ้ ล้ว ก. ปัญจวัคคยี ส์ ามารถบรรลุพระอรหนั ตไ์ ดเ้ ร็ว ข. ชว่ ยเผยแผ่พระพทุ ธศาสนาไปยงั ดินแดนต่างๆ ค. ปญั จวัคคียเ์ คยรบั ใช้เมอ่ื คร้งั ที่พระพุทธเจ้าทรงบาเพ็ญเพยี ร ง. ต้องการให้ปัญจวคั คีย์เปน็ สกั ขีพยานแห่งการตรัสรขู้ องพระองค์6. เพราะเหตใุ ด พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงแตง่ ตั้งพระสารีบุตรและพระโมคคลั ลานะ เป็นอัครสาวก ก. เพราะรเู้ รื่องพระพุทธศาสนาเปน็ อยา่ งดี สามารถเปน็ กาลงั สาคัญชว่ ยพระพุทธองค์ทางานดา้ น การเผยแผพ่ ระพุทธศาสนา ข. เพราะเป็นผู้ที่จดั ได้ว่าเป็นทีย่ อมรับของหมสู่ งฆ์สาวกของพระพุทธเจ้า ค. เพราะเป็นผู้ทอี่ ยู่ในตระกูลสงู และมีอาวุโสกว่าพระภกิ ษอุ นื่ ง. เพราะเคยเปน็ ศิษย์รุ่นแรกของพระพทุ ธเจ้า7. ใครเป็นผู้ทอี่ ปุ ติสสะมีความศรัทธาจนกระท่ังเขา้ ไปอุปสมบทในพระพทุ ธศาสนา ก. พระอัสสชิ ข. พระวปั ปะ ค. พระโกณฑญั ญะ ง. พระมหานามะ8. ข้อใดจดั เปน็ คณุ ธรรมอันเป็นแบบอย่างของพระสารีบุตร ก. เป็นผมู้ ีความอดทนเป็นอย่างยิง่ และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน ข. เปน็ ผู้มคี วามใฝร่ ู้อย่างยิ่ง และเปน็ ผฝู้ ึกฝนตนเองเสมอ ค. เปน็ ผู้มปี ญั ญาหลักแหลม และมคี วามกตัญญเู ป็นเลิศ ง. เป็นผู้นาทด่ี ี และมีความอ่อนน้อมถ่อมตน9. อุปสรรคสาคญั ในการบาเพ็ญเพียรทางจิตของพระโมคคัลลานะ คอื อะไร ก. เกดิ ความง่วง ข. มคี วามเบื่อหนา่ ย ค. มคี วามท้อถอย ง. เป็นผมู้ ฤี ทธ์ิ
10. ขอ้ ใดจัดเปน็ คุณธรรมอนั เป็นแบบอย่างของพระโมคคลั ลานะก. เปน็ ผู้มปี ญั ญาเปน็ เลิศ และเป็นผู้นาท่ีดี ข. มีความกตญั ญู และมีปญั ญาเป็นเลศิค. มคี วามอดทนย่ิง และเป็นผ้ถู ่อมตน ง. เปน็ ผนู้ าทีด่ ี และมคี วามกตัญญู
พทุ ธประวตั ิ ตอน ผจญมาร
พุทธประวตั ิ ตอน ผจญมาร ณ วนั เพ็ญเดือน 6 วันเดียวกบั ท่ีได้ทรงเสวยข้าวมธุปายาสแล้วน้ัน พระสิทธตั ถมหาบุรุษทรงบาเพญ็ เพยี รลุม่ ลึกเป็นคร้งั สดุ ท้าย พระอาทิตย์ลบั ขอบฟ้าไปแลว้ พระองค์กาลังจะรูแ้ จ้งท่จี ะตรสั รนู้ นั้ กม็ ีวสวัดดีมารยกพลมารมาขดั ขวางการบรรลธุ รรมข้ันสูงสุดนี้ โดยมารมาทั้งทางบก ทางอากาศ พยายามจะฟาดฟันใหย้ ่อยยบั ณ ท่ีนั้นไม่มีใครเหลืออย่เู ลย แมเ้ ทวดาทงั้ หลายกก็ ลวั พญามาร จึงเหลอื แต่พระองคผ์ ูเ้ ดยี ว พระองคท์ รงตรัสสดู้ ว้ ยพระทยั ไม่หวัน่ ไหว พระแม่ธรณจี งึ ผดุ ข้ึนมาเป็นพยานในความดที ่ีพระองค์ได้หลัง่ ทักษโิ ณทก ลงบนแผน่ ดนิ ในกาลกอ่ นทกุ ๆ ชาติ ท่รี วมไว้ในมวยผมของพระแมธ่ รณี โดยการบดิ น้าออกมาจากเกศา ทาให้นา้ ท่วมพสุธาข้นึ หมู่มารทง้ั หลายหนไี ปส้ินและทรงชนะมารในที่สดุ คตธิ รรมจากภาพ1. สติ คอื ความรู้ตวั ทัว่ พร้อม ควบคุมให้จติ ม่นั คงไมห่ วั่นไหว จะหยุดย้ังสงิ่ เลวรา้ ยที่เกดิ ข้ึนไดด้ ังที่พระพุทธองค์ทรงใชส้ ติสกู้ บั มารที่มาผจญไดส้ าเรจ็2. การทาความดีทมี่ ากยิ่งขึ้น และยาวนาน (เปน็ กัมมสกั ก-กมั มโยน)ิ ความดที ่สี ง่ั สมไวน้ ี้จะเป็นเกราะกัน้ กาบงัเหตุร้าย3. พยาน เปน็ หลักฐานแสดงร่องรอยในการกระทาเปน็ สิ่งจาเป็นทุกยคุ สมยั ดังเชน่ พระแมธ่ รณี เป็นพยานสาคัญวา่ มหาบุรษุ ผ้นู ไ้ี ดท้ าความดีมาหลายกัลป์ โดยหลัง่ นา้ ไวบ้ นแผน่ ดินทพ่ี ระแมธ่ รณเี ก็บไว้ที่มวยผม ซ่งึ เมือ่ บิดออกมาทาให้นา้ ท่วมพสุธายังพญามารใหห้ นไี ปสน้ิ4. มาร คอื อุปสรรคหรือกิเลส บางทีเรียกว่า กิเลสมาร ได้แก่ ตณั หา ความอยาก ความต้องการ ราคะ ความรกัความหลงในกาม โมหะ ความอิจฉารษิ ยา เกลียดชัง จะขจดั ออกจากตนได้โดยการละ การวาง อย่างมงุ่ มน่ั เด็ดเดีย่ ว เข้มแข็งต่อสงิ่ ย่วั ยุ ดังพุทธองค์ท่ีชนะมารได้5. ผ้ทู ี่คดิ ดี ทาดี ย่อมชนะผู้คิดร้ายทาร้าย ดังคากล่าวทว่ี า่ ธรรมยอ่ มชนะอธรรมท่ีมา :จิตรลดา ศริ ิรตั น์ และแมน้ เดอื น สุขบารุง. 2542. พระพุทธเจา้ ตรัสรู้ได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร : เลยี่ งเชยี ง.
พทุ ธประวตั ิ ตอน ตรัสรู้
ตรสั รู้ ในวนั เพญ็ เดือนวสิ าขะ หลงั จากท่พี ระสทิ ธัตถมหาบุรษุ ฉันขา้ วมธปุ ายาสของนางสุชาดา แล้วทรงรับหญ้าคา จากโสตถิยพราหมณ์ 8 กา ปูลาดเปน็ อาสนะทีใ่ ตต้ น้ โพธริ์ มิ ฝ่งั แมน่ ้าเนรญั ชรา ประทับน่ังบนอาสนะแล้วอธษิ ฐานว่า “หากไมไ่ ด้ตรสั รู้กจ็ ะไมล่ กุ จากที่น้ี แม้เลอื ดและเนื้อจะเหอื ดแหง้ ไปเหลือแตเ่ อน็ และกระดูกก็ตาม”จากนัน้ ทรงบาเพ็ญสมาธิ มั่นคงลุ่มลึกไปโดยลาดับในยามต้นของราตรีนนั้ พระองคไ์ ด้หย่ังรู้อดตี ชาติอนั ยาวไกลในยามที่สอง ไดห้ ยั่งรู้ การเกิดและอุบัติของสรรพสัตวด์ ้วยอานาจของกรรม และในยามสุดท้ายแหง่ ราตรีพระองค์ได้หยั่งรู้หนทางอันเป็น ข้อปฏิบัติที่จะทาใหด้ บั ทุกข์ท้งั ปวงได้ กล่าวคอื พระองค์รูแ้ จ้งอริยสจั 4 ไดแ้ ก่ รู้แจง้ ทุกข์สาเหตขุ องทกุ ข์ ความดบั ทุกข์ และข้อปฏบิ ตั ิใหถ้ งึ ความดับทกุ ข์ พระองค์จงึ ไดน้ ามว่า พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า ผู้ตรสั รูโ้ ดยชอบด้วยความสามารถของพระองค์เอง ขณะมีพระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา คตธิ รรมจากภาพ1. การได้เรยี นร้เู รอ่ื งใดหรือทางานใดๆ กต็ าม ต้องตั้งใจ มีสมาธมิ ่นั คง จึงจะเข้าใจทางานนน้ั ๆ ได้ดี ดังที่พระสิทธัตถะมหาบรุ ุษได้บาเพ็ญสมาธอิ นั เป็นรากฐานสาคัญที่ทาใหต้ รัสรเู้ ปน็ พระพุทธเจ้า2. อริสัจ 4 มีหลักสาคญั อย่วู ่า การจะเรยี นร้เู ร่ืองใดก็ตามต้องเรียนร้ใู ห้สมั พนั ธเ์ ช่อื มโยงกันเปน็ เหตเุ ปน็ ผลของกันและกัน เพราะทุกสิง่ สมั พันธก์ ันเป็นปจั จยั ของกนั และกนั หากเรียนร้แู บบแยกส่วน โดดเดี่ยวไม่สมั พันธ์กบั เรอ่ื งอนื่ กไ็ ม่สามารถใชค้ วามรู้นัน้ ให้เกิดประโยชน์ได้ และหากเรียนจริยธรรมเป็นสว่ นๆ ก็ไม่สามารถก่อใหเ้ กดิ สานึกทางจรยิ ธรรมแกผ่ เู้ รยี นได้ที่มา :จติ รลดา ศริ ิรตั น์ และแมน้ เดอื น สุขบารุง. 2542. พระพุทธเจ้าตรสั รู้ไดอ้ ย่างไร. กรุงเทพมหานคร : เลยี่ งเชียง.
พทุ ธประวตั ิ ตอน ปฐมเทศนา
ปฐมเทศนา เม่ือตัดสินพระทัยทจี่ ะนาความจรงิ ทรงสง่ั สอนผอู้ ืน่ ให้พน้ ทุกข์ พระพุทธเจา้ จึงทรงเดนิ ทางออกจากสถานท่ีตรัสรู้ แลว้ เสดจ็ ไปยงั ป่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั ดว้ ยทรงราลกึ ถงึ นักบวช (ปัญจวคั คีย์) ทัง้ 5 รูป และไดท้ รงแสดงธรรมปฐม-เทศนาในวนั ขน้ึ 15 ค่า เดอื น 8 มีข้อความสาคญั คือ ทรงปฏิเสธวธิ ีการทรมานกายให้ลาบากและการปล่อยตนไปตามความใคร่ ทั้งสองนไ้ี ม่เป็นไปเพ่ือการตรัสรู้ ใหป้ ฏิบัติตามทางสายกลาง คอื ปฏบิ ัติตามอรยิ สจั 4 และมรรค 8 ท่ีกลา่ วโดยย่อ คือ ศลี สมาธิ ปัญญา เมอื่ แสดงธรรมจบลง โกณฑัญญะ บรรลุโสดาบันทรงปีติยินดีมาก เปลง่ คาอทุ นวา่ “อญั ญาสิ วต โภ โกณฑญั โญ” แปลว่า “โกญฑัญญะ ได้รแู้ ลว้ หนอ” ปฐมเทศนาคร้งั นนั้ เรียกวา่ “ธัมมจักกปั ปวตั ตนสูตร” เป็นเสมอื นวงล้อ ไปสคู่ วามเจรญิ คตธิ รรมจากภาพ1. โลกเร่ิมสวา่ งไสวแล้ว คอื การสอนให้คนรู้ความจรงิ ทาสิ่งถกู ต้องไดจ้ ากคนหนึ่งไปสคู่ นหนึง่ เป็นเหมือนจุดเทียน ปัญญาใหเ้ กดิ ข้นึ ในโลก ดงั ที่พระองค์ตัดสนิ ใจสอนธรรมท่ยี ากเหลือเกินแลว้2. ความกตญั ญเู ป็นเครอ่ื งหมายของคนดี สงั คมท่กี ตัญญรู ู้คุณตอ่ คนทม่ี ีคณุ เป็นสังคมทเี่ จริญดังท่พี ระองค์ทรงเลือกทจ่ี ะสอนปัญจวัคคยี ์ก่อนผู้อ่นื ดว้ ยกตัญญูทีป่ ัญจวคั คียเ์ คยมาดแู ลขณะบาเพ็ญทกุ กรกิริยา3. การเลือกสอนหรอื สรา้ งผนู้ าตอ้ งเลือกผทู้ ีม่ ีศลี สมาธิ ปญั ญาอยู่แล้วจะง่ายต่อการเข้าใจ บรรลธุ รรมได้งา่ ยจะทาให้เกดิ กาลงั ใจขยายงานต่อไป ดังท่พี ระองค์ทรงเลือกปญั จวคั คียท์ ม่ี ีศีล สมาธิ ปัญญาแก่กลา้ อยแู่ ล้ว4. การสอนหรอื ชแ้ี นะให้ผปู้ ระพฤตติ าม ต้องพยายามยึดหลักการใหช้ ัดเจน เช่น ทรงสอนปญั จวคั คีย์ใหเ้ ดินสายกลาง (มรรค 8) เปน็ ทางส่คู วามสาเรจ็ ใหเ้ ลิกปฏบิ ัติทางสดุ โต่งไปทางกามคุณ และทรมานตนเอง5. ผใู้ ฝร่ ู้ ใฝเ่ รียน ตอ้ งอ่อนน้อมถ่อมตน จะมผี เู้ มตตาถ่ายทอดวชิ าความรใู้ ห้ ดงั ท่ีปัญจวัคคยี ต์ ้องลดละทิฐมิ านะจึงไดโ้ อกาสฟังธรรมและบรรลุธรรมตามได้ทมี่ า :จิตรลดา ศริ ิรัตน์ และแม้นเดอื น สขุ บารุง. 2542. พระพุทธเจา้ ตรัสร้ไู ดอ้ ย่างไร. กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียง.
ใบงานที่ 2.1 พทุ ธประวัติคาชี้แจง ให้นกั เรียนนาหมายเลขหน้าข้อความไปเรยี งลาดับตามเหตกุ ารณพ์ ทุ ธประวัติในกรอบด้านลา่ ง1.พระสทิ ธตั ถะทรงบาเพ็ญเพยี ร 2. เมื่อพระสิทธัตถะผนวชแล้ว 3. พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปตรสั ทางจิต ไดพ้ ยายามศึกษาค้นควา้ ทาง สอนธมั มจักกปั ปวัตตนสูตร พ้นทุกข์ ว่าดว้ ย อริยสัจ 4 ประการ แก่ปัญจวคั คยี ์4. พระสทิ ธตั ถะทรงฝึกปฏบิ ตั ิ 5. พระสทิ ธตั ถะปฏบิ ตั สิ มาธิ 6. พระพุทธเจ้าประทาน โยคะกบั อาฬารดาบส ใตต้ ้นสรีมหาโพธ์ิจนสามารถ อุปสมบทให้แก่ยสกุมารและ กาลามโคตร และอุททกดาบส รแู้ จ้งหรือตรสั รู้อริยสัจ 4 สหายอีก 54 คน ส่งใหไ้ ป รามบุตร ประกาศพระพุทธศาสนา7. พระสิทธตั ถะเสดจ็ ไปยงั 8. พระสทิ ธตั ถะรับหญ้ากุสะ 9. พระพุทธเจา้ โปรดให้ ตาบลอรุ เุ วลาเสนานคิ ม จากพราหมณ์โสตถิยะ พระสารีบุตร และพระโมค- ทรงรบั ข้าวมธุปายาส มาปลู าดเป็นอาสนะ คัลลานะเปน็ พระอคั รสาวก จากนางสชุ าดา ณ โคนต้นศรมี หาโพธ์ิ เบอื้ งขวาและเบื้องซา้ ย10. พระสทิ ธตั ถะทรงบาเพ็ญตบะ 11. หลังจากพระพุทธเจ้าทรง 12. พระสิทธตั ถะทรงบาเพ็ญ หรือทรมานตนหลายอย่าง แสดง “อนตั ตลักขณสตู ร” ทกุ กรกริ ยิ า ดว้ ยการกัดฟัน (วา่ ดว้ ยไตรลักษณ)์ ปัญจ- กลน้ั ลมหายใจ อดอาหาร วคั คียไ์ ด้บรรลุอรหนั ตผล13. โกณฑัญญะ หวั หน้าปัญจ- 14. อญั ญาโกณฑัญญะ เปน็ 15. พระพุทธเจ้าเสด็จไปโปรด ชฎลิ สามพ่นี ้อง พร้อมดว้ ยวคั คยี ไ์ ด้ “ดวงตาเหน็ ธรรม” พระสงฆส์ าวกรปู แรกของ บริวารทนั ทที ่ีฟงั ปฐมเทศนาจบ พระพทุ ธศาสนา
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: