หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 3 วิทยาการคานวณSlide PPT61-NEW ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศสตร์ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 2หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ การอSliอdeกPowแerบPoinบt_สแอ่ื ปลระกะอบกการาสอรน เขียนโปรแกรมเบอ้ื งต้น
2หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ การออกแบบและการเขียนโปรแกรมเบอ้ื งตน้ ตวั ชี้วดั • ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอย่างง่ายเพ่อื แกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ หรอื วทิ ยาศาสตร์
หลักการเขียนโปรแกรม การกาหนดและวิเคราะหป์ ญั หา กาหนดวัตถุประสงค์ กาหนดลักษณะ กาหนดลักษณะ กาหนดวธิ ีการประมวลผล (analysis the problem) ของโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ข้อมูลนาเข้า ข้อมลู นาออก หรือวิธกี ารคานวณ การออกแบบโปรแกรม การออกแบบอัลกอรทึ ึม การออกแบบสว่ นตดิ ต่อผใู้ ช้ (design a program) (algorithm) (user interface) การเขยี นโปรแกรม เขียนคาสั่ง แปลภาษา ส่ังให้ไฟลโ์ ปรแกรมทางาน (coding) (coding) (compile) (run)
โปรแกรมภาษา C ภาษา C พฒั นาขึ้นในช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1969-1973 โดย เดนนิส ริตชี (Dennis Ritchie) แห่ง Bell Lab และไดร้ บั การรับรองเปน็ มาตรฐานโดย ANSI ซ่งึ ภาษา C เปน็ ภาษาโปรแกรมหน่ึงทไ่ี ด้รบั ความนิยมอย่างแพรห่ ลายมาจนถึงปัจจุบนั • จบคาส่งั ดว้ ยเครอ่ื งหมาย ; เสมอ คาสั่งและไวยกรณ์ โครงสรา้ ง preprocessor directives พน้ื ฐาน ของภาษา C ใช้สาหรบั เรยี กใชค้ าสง่ั มาตรฐาน • คาสง่ั การประกาศตัวแปร global declaration รูปแบบ : ชนดิ ข้อมูล ตวั แปร ; เชน่ int width; ใช้สาหรบั ประกาศตัวแปร ตวั แปร width เปน็ ตัวแปรประเภทเลขจานวนเตม็ main function เปน็ ส่วนการทางานหลัก • คาสง่ั การรบั ข้อมูล รปู แบบ : scanf (ชนิดตวั แปร, &ช่อื ตวั แปร); เช่น user-defined function scanf (\"%d\", &width); โดย %d หมายถงึ เป็นส่วนของการเขยี นคาสงั่ ชนิดเลขจานวนเต็ม • คาส่งั การแสดงผลข้อมูลออกมาทางหน้าจอ รปู แบบ : printf (“ขอ้ ความ”) เช่น printf (\"Square area is : %d\\n\", area);
โปรแกรมภาษา Scratch Scratch เป็นเครือ่ งมอื และโปรแกรมภาษาท่ีถกู พัฒนาขึ้นมา เพือ่ การเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ในรูปแบบของกราฟิก โดยมโี ครงสร้าง ดงั นี้ เวที สคริปต์ เป็นสถานทใ่ี หต้ ัวละครแสดง ชุดคาสงั่ เพอ่ื ส่ังใหต้ ัวละครหรอื เวที มภี าพฉากหลงั เปลีย่ นแปลงได้ ทางานตามวัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการ เชน่ มีขนาดความกวา้ ง 480 pixels สูง 360 pixels การเคลอื่ นไหว, การแสดงเสยี ง, การรบั รู้ เป็นต้น ตัวละคร ตวั ละครแตล่ ะตัวจะมขี อ้ มลู แตกต่างกัน เช่น ชอื่ ตวั ละคร, ตาแหนง่ บนเวที เป็นตน้
โปรแกรมภาษาไพทอน ไพทอน (python) ถกู พัฒนาครง้ั แรกเมื่อปี 1989 โดย กิโด ฟาน รอสซัม (Guido van Rossum) โดยโครงสรา้ งของภาษานั้นจะไมม่ ีการยดึ ติดกับแพลตฟอร์มทใ่ี ช้ ทาให้ python เปน็ Open Source เตม็ รูปแบบที่ใช้พัฒนาได้อย่างอสิ ระ โครงสรา้ งของ คอมเมนตห์ รือการประกาศตัวแปรภาษา ภาษา ไฟทอนเบ้อื งต้น การนาเข้าไลบราร่ี หรือคลาสของไพทอนมาใช้ ประกาศตัวแปร ฟังก์ชัน และคาส่ังควบคมุ การทางาน
โปรแกรมภาษาจาวา ภาษาจาวา (Java) เป็นภาษาทถ่ี ูกพฒั นาขึน้ ในปี ค.ศ. 1991 เป็นภาษาท่ีพัฒนาข้นึ มาโดย เจมส์ กอสลิง (James Gosling) ภาษาจาวาไดร้ บั การออกแบบใหม้ ีรูปแบบทางภาษาเหมอื นภาษา C โดยมีคากล่าวว่าเปน็ “Write Once, Run Anywhere” เขียนเพียงครัง้ เดยี วและสามารถนาไปรันได้บนทกุ แพลตฟอร์ม โครงสร้างของ ขอ้ ดีของภาษาจาวา ภาษา จาวาเบือ้ งตน้ • เหมาะสาหรับพัฒนาระบบท่ีมคี วามซบั ซอ้ น Import สว่ นของการเรียกใช้งานคลาสที่อยูต่ ่างแพก็ เกจ • สามารถทางานไดใ้ นระบบปฏบิ ตั กิ ารที่แตกตา่ ง • ใช้งานไดง้ ่ายกว่าและลดความผิดพลาดไดม้ ากขึน้ • มคี วามปลอดภยั สูงในการเขียนโปรแกรม Package ส่วนการการระบตุ าแหน่งหรือท่อี ยู่ของคลาส ข้อเสยี ของภาษาจาวา Class สว่ นของการเขยี นคาส่งั การทางานของโปรแกรม • โปรแกรมทสี่ รา้ งดว้ ยภาษาจาวาจะทางานชา้ กวา่ native code • tool ท่มี ใี นการใช้พัฒนาโปรแกรมจาวาไม่ทันสมยั
รปู แบบการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ F F T T โครงสร้างการทางานแบบเรยี งลาดับ โครงสรา้ งการทางานแบบมเี งอ่ื นไข โครงสรา้ งการทางานแบบทาซ้า (sequence structure) (condition structure) (iteration structure)
Search
Read the Text Version
- 1 - 8
Pages: