Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำเนียบแหล่งเรียนรู้อำเภอเมือง-ประจำเดือ_

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้อำเภอเมือง-ประจำเดือ_

Published by muangnongbua, 2020-02-26 02:06:13

Description: ทำเนียบแหล่งเรียนรู้อำเภอเมือง-ประจำเดือ_

Search

Read the Text Version

นายสมเดช ศริ วิ งศ์ ประวตั แิ ละผลงานครภู มู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ จังหวัดหนองบัวลาภู ดา้ นเกษตรกรรม สาขา การทาเหดฟาง ประวัตชิ วี ติ และผลงาน นายสมเดช ศิริวงศ์ เกิดเมื่อวันที่ 12มีนาคม 2502 เกิดที่บ้านพันดอน หมู่ท่ี 9 ตาบลบ้านพร้าว อาเภอเมือง จังหวดั หนองบัวลาภู กลุ่มวิสาหกิจชุมชน กลุ่มเห็ดฟาง บ้านพันดอน ตาบลบ้านพร้าว อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู นายสมเดช ศิรวิ งศ์ ประธานกลุ่มวสิ าหกจิ ชุมชนบ้านพันดอน มคี วามต้องการพฒั นาการในการแปรรปู เหด็ ฟาง องคค์ วามรู้ และความเชย่ี วชาญ นายสมเดช ศิริวงศ์ มีองค์ความรู้เชี่ยวชาญ ท่ีนาไปถ่ายทอดแก่ผู้เรียน และผู้คนที่สนใจ โดยใช้กระบวนการ ถ่ายทอดความร้ทู ี่หลากหลาย เชน่ การอธบิ าย การสาธิต และใหผ้ ้เู รียนฝึกปฏบิ ตั ิจริง ตามหัวข้อดังต่อไปน้ี การแนะนาวัสดุ อุปกรณ์การทาเห็ดฟาง ข้ันตอนการทาเห็ดฟางและการจาหน่ายผลผลิต รายละเอียดองค์ความรู้ท่ี นายสมเดช ศิริวงศ์ ถ่ายทอดองค์ความรแู้ กผ่ ู้เรยี นตามขน้ั ตอนดังนี้ การเพาะเหดฟางแบบโรงเรอื น การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยและแบบกองสูง เป็นการเพาะเห็ดท่ีเรียบง่าย เหมาะสาหรับเกษตรกรรายย่อย เพราะไมต่ ้องลงทุนมาก แต่เป็นวิธีที่ให้ผลผลิตไม่แน่นอนต้องอาศัยสภาพดินฟูาอากาศไม่สามารถผลิตเห็ดให้มีคุณภาพสูง พอที่จะส่งออกเป็นอุตสาหกรรมได้ จึงได้มีการศึกษาวิธีเพาะเห็ดฟางให้ได้ผลผลิตสูง มีความสม่าเสมอแน่นอนตาม เวลาที่ต้องการและสามารถผลิตเหด็ ไดต้ ลอดปสามารถทาเป็นการคา้ โดยวธิ ีการเพาะเหด็ แบบโรงเรือน ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั หนองบัวลาภู

การเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน เป็นการใช้ความรู้ทางด้านการเกษตรแผนใหม่เข้าช่วยในทุกขั้นตอนของการ เจริญเตบิ โต จนกระทั่งเกดิ ดอกและเกบ็ เก่ยี ว ผทู้ ่ีจะเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน จึงควรจะผา่ นการเพาะเห็ดแบบกองสูงหรือ กองเต้ียมาแล้ว เพ่ือจะได้ทราบถึงความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ในการเจริญเติบโตของเห็ดฟางทุกข้ันตอนตั้งแต่เริ่มแรก จนกระท่ังเก็บเกี่ยวผลผลิต ท้ังนี้เพราะการเพาะเห็ดฟางด้วยวิธีน้ีต้องลงทุนครั้งแรกสูงมากในด้านการก่อสร้างโรงเรือน เครอ่ื งกาเนดิ ไอน้า และอุปกรณ์อน่ื ๆ มขี ั้นตอนในการเพาะเห็ดมากขึ้น โดยจะตอ้ งหมกั ป๋ยุ ทจี่ ะใช้เพาะ, นามาตีให้ละเอียด, ใสใ่ นโรงเรือน, เล้ียงเชื้อรา, อบฆ่าเชื้อ, ปรับอุณหภูมิความช้ืนและแสง เป็นต้น หากปรับสภาพแวดล้อมไม่ถูกวิธีอาจทาให้ เสียทัง้ หมดไดโ้ รงเรอื นทีใ่ ชเ้ ฉพาะและการจดั สรา้ ง โรงเรอื นทจ่ี ะใช้เพาะเหด็ ฟางนัน้ ควรคานึงถึงความเป็นจริงที่มีการปฏิบัติ กันอย่แู ยกออกเปน็ 1. โรงเรือนหลกั ควรเป็นโรงเรือนแบบถาวร หลังคาอาจมุงด้วยจากหรือหญา้ คาขนาดโรงเรือนควรสร้างให้มีขนาด เหมาะสมกับจานวนของห้อง 1 โรงเรือน จะมีหลายห้องหรือห้องเดียวก็ได้ พ้ืนโรงเรือนถ้าเป็นพ้ืนดินก็ควรอัดให้แน่น หรอื เป็นพ้ืนคอนกรตี ก็จะดี เพอื่ สะดวกต่อการทาความสะอาดโรงเรอื นเพาะเห็ด ควรเปน็ โรงเรอื นที่ปดมดิ ชดิ สามารถอบไอ น้าฆ่าเชื้อเก็บอุณหภูมิและความช้ืนได้ วัสดุท่ีใช้อาจเป็นคอนกรีต อิฐบล๊อค กระเบื้องเรียบหรือใช้โครงไม้ไผ่บุกด้วยผ้า พลาสติกหนาให้สามารถเก็บรักษาความชื้นได้ ขนาดของโรงเรือนกว้าง ยาว สูง 5 X 8 X 3 เมตร หรือ 4 X 6 X 2.5- 3 เมตร หลังคาทรงหน้าจ่ัวทาด้วยจาก บุด้วยผ้าพลาสติก พ้ืนโรงเรือนควรเป็นพื้นคอนกรีต มีประตูทางเข้าออกด้าน ละ 1 ประตู 2. โรงเรือนเพาะน้ีต้องมีช่องสาหรับระบายอากาศอยู่บริเวณหน้าจ่ัวกว้างประมาณ 40 X 60เซนติเมตร และมี ชอ่ งสาหรบั ส่งไอน้าผา่ นเข้าไปในโรงเรือนได้ อย่างไรก็ดีรูปแบบและขนาดของโรงเรือนตลอดจนวัสดุท่ีใช้อาจเปล่ียนแปลง ปรบั ปรุงไดต้ ามความร้แู ละเครื่องมือท่ีสร้างข้นึ โรงเรือนรอง หรือช้ันวางเพาะเห็ด ควรมีขนาดกว้าง 1 เมตร โดยสร้างให้มีชายย่ืนออกมาข้างละ 50 เซนติเมตร ยาว 4 เมตร และสูง 1.80 เมตร โดยแบ่งชั้นเพาะเห็ดออกเป็น 2 ข้าง ๆ ละ 4 ชั้น แต่ละชั้นห่างกัน 50 เซนติเมตร ช้นั แรกอยู่สงู จากพ้ืน 30 เซนติเมตร ช้ันที่ 4 สูงจากพ้ืน 1.80 เมตร ชั้นวางเพาะเห็ดน้ีควรทาด้วยเหล็กหรือไม้ไผ่ก็ได้ผ้า พลาสตกิ ลักษณะคลา้ ยกับถงุ เคลอื บ เยบ็ และบุภายในโรงเรอื นเพอื่ ควบคุมอณุ หภูมิ อุปกรณ์ทจ่ี าเปนต่อการเพาะเหดฟางในโรงเรือน การเพาะเห็ดฟางในโรงเรือนเพ่ือให้การดาเนินการประสบความสาเร็จตามเปูาหมายควรมีอุปกรณ์ทีสาคัญดังน้ี 1. พัดลมดูดเปุา และ ระบายอากาศ เปน็ พดั ลมทรงกระบอกธรรมดา ขนาดใบพัด 16-20เซ็นติเมตร แต่ดัดแปลง ทากลอ่ งสงั กะสีสวมปากทางลมออก โดยให้มีลมออกได้ 2 ทาง ทางหน่ึงต่อเข้าภายในโรงเรือน อีกทางหน่ึงออกภายนอก ท้งั สองจะมลี น้ิ เปดปด ส่วนทางออกลมก็เชน่ เดียวกัน คือ ทาทางดดู 2 ทาง ตอ่ เข้าภายในด้านหน่ึง อีกด้านหนึ่งอยู่ข้างนอก และมีลิ้นปดเปดเช่นกัน สาหรับทางออกลมก็ต่อเข้าภายในโรงเรือนโดยต่อขึ้นไปข้างบนขนานกับสันจ่ัว อาจทาด้วยท่อ เอสล่อนหรือใชผ้ ้าพลาสติกเย็บให้ได้เส้นผ่าศูนย์กลางพอสวมปากท่อได้ ตรงท่อที่ขนานจั่วนั้นต้องทาการเจาะรูเท่าม้วนบุรี เพือ่ ใหอ้ ากาศออก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองหนองบัวลาภู สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดหนองบัวลาภู

2. เทอร์โมมิเตอร์ คือ เครื่องมือสาหรับวัดอุณหภูมิภายในห้อง ควรใช้ขนาดท่ีสามารถวัดได้ต้ังแต่ 0-100 องศา เซลเซยี ส ตดิ ผนังสงู จากพนื้ ประมาณ 1.50 เมตร อยดู่ ้านในของโรงเรือนก็ได้ ช่องที่เจาะใส่เทอร์โมมิเตอร์นั้นจะต้องกลวง เพื่อให้เทอร์โมมิเตอร์สัมผัสกับอากาศภายในส่วนด้านนอกของโรงเรือนปดด้วยกระจกใสเพื่อง่ายต่อการอ่านค่า 3. กะบะไม้หรือแบบพิมพ์ไม้สาหรับหมักวัสดุ จะทาเป็นรูปสี่เหล่ียมจตุรัสก็ได้ขนาดความกว้างและความยาว เทา่ กนั ประมาณ 1-15 เมตร สูง 50 เซนติเมตร 4. เคร่ืองตีปุ๋ยหมกั ใชต้ ีปยุ๋ หลงั จากหมกั ไดท้ แี่ ลว้ เครอ่ื งตีป๋ยุ หมกั ควรเปน็ เครื่องท่กี าลงั แรงสงู อยา่ งนอ้ ยไม่ควรต่า ก ว่ า 5 แร ง ม้า อา จ ดัด แ ปล ง จา ก เค รื่ อง ตี น้า แ ข็ ง ห รื อ เ ครื่ อ ง ตี หิ น ก็ ไ ด้ ตี ปุ๋ย ห มัก ใ ห้ล ะ เอี ย ดแ ล ะ ฟู 5. อปุ กรณอ์ ื่นๆ เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ เครอ่ื งพ่นฝอย เครอื่ งวัดความช้นื ตะกร้าเก็บเหด็ ขนั ตอนการเพาะเหดฟางในโรงเรือน ในการเพาะเหด็ ฟางในโรงเรือน วัสดุเพาะนิยมใช้และไดด้ ที ส่ี ดุ กค็ ือ ขฝี้ าู ย (อาจผสมไส้นุ่นด้วยก็ได้) โดยใช้ฟางเป็น วัสดุรองเพาะ อย่างไรก็ดีเรายังสามารถใช้วัสดุอื่น ๆ เพาะได้เช่นกัน ซ่ึงได้แก่ ไส้นุ่น เปลือกถั่วเขียว เปลือกถ่ัวเหลือง ผักตบชวาแห้ง ต้นกลว้ ยแห้ง ฟาง เศษหญ้าแห้ง ชานอ้อย และต้นข้าวโพดแห้ง เป็นต้น แต่วัสดุดังกล่าวน้ียังไม่เป็นที่นิยม เพราะไดผ้ ลไม่ดีเท่าท่ีควรสาหรับขัน้ ตอนในการเพาะเหด็ ฟางในโรงเรือนที่สาคญั กม็ ีดงั น้ี 1. การจดั โปรแกรมการเพาะเหด็ ฟางในโรงเรือน 2. การหมักวัสดทุ ใี่ ชเ้ พาะ (การหมักขฝี้ ูาย, ไสน้ นุ่ ) 3. การตีปุนขี้ฝาู ยและการเตมิ ธาตอุ าหารเสรมิ 4. การนาขฝ้ี ูายข้ึนช้นั เพาะเห็ด 5. การเลยี้ งเชือ้ ราอาหารเหด็ 6. การอบไอน้าฆ่าเช้อื ราและศตั รูเห็ด 7. การจัดเตรียมเชือ้ เห็ดฟางและการโรยเช้ือเห็ดฟาง 8. การปรบั อุณหภมู ิและสภาพอากาศภายในโรงเรอื น 9. การดูแลการพัฒนาของดอกเหด็ และการเกบ็ ผลผลิต 10. การทาความสะอาดโรงเรอื นเพื่อเตรยี มการเพาะครั้งตอ่ ไป การจดั โปรแกรมเพาะเหดฟางในโรงเรือน การดาเนนิ งาน (ใชก้ ับโรงเรอื น ขนาด 4 X 6 X 2.5 เมตร) วนั ที่ 1 หมกั ข้ฝี ูาย 200 กโิ ลกรัม แช่น้า 1 คืน เอาข้ึนเพ่อื ให้สะเดด็ น้า เติมยูเรีย 1-2 กโิ ลกรัม ตงั้ กอง สามเหลี่ยมสงู 70 เซนติเมตร กวา้ ง ยาวไมจ่ ากัด หมกั 1 คืน ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองหนองบวั ลาภู สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวดั หนองบัวลาภู

วันท่ี 2 กลบั กอง เตมิ ราละเอียด 10 กิโลกรมั ตัง้ กองเติมปนู ขาว 2 กโิ ลกรัม ตัง้ กองสามเหลีย่ มหมกั ต่อ 1 วัน (เอาฟางแช่น้า 1-2 คืน 30 กิโลกรมั ) วันท่ี 3 กลับกอง ตีปนุ เตมิ ดินชัม่ 2 กิโลกรัม เตรยี มเอาขน้ึ ชัน้ โรงเพาะ เอาฟางรองบนช้ัน 30 กโิ ลกรมั ความหนาของแต่ละช้ัน 4, 5 น้ิว เอาขฝี้ ูายหมักขน้ึ ทบั บนฟางหนา 4, 5 นิ้ว จนหมดขี้ฝูาย 200 กโิ ลกรมั ใชไ้ อนา้ รกั ษาอุณหภมู ิที่ 45 นาน 24 ชว่ั โมง วนั ที่ 4 อบไอนา้ ฆ่าเชอ้ื จลุ ินทรีย์ที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 6 ชว่ั โมง พักใหเ้ ย็นประมาณ 1 คืนโดยใหอ้ ณุ หภูมปิ ระมาณ 35 องศาเซลเซียส วนั ท่ี 5-8 เมอ่ื ภายในโรงเรือนอณุ หภมู ิ 35 องศาเซลเซยี ส หวา่ นเชื้อเหด็ ฟางท่คี ัดแล้ว 30-50 ห่อ (5-10 กโิ ลกรมั ) ปดประตรู ักษาอุณหภูมิ 32-38 องศาเซลเซยี ส นาน 3วนั วนั ท่ี 8-10 ระบายอากาศใยเหด็ ฟู คลุมผวิ หนา้ วสั ดุเพาะ รักษาอุณหภมู ิ 32-38 องศาเซลเซยี ส นาน 2 วนั วันท่ี 10-12 ระบายอากาศเพิม่ (เสน้ ใยกับปุย๋ หมักหมด) พน่ สเปรยน์ า้ ให้เส้นใยยบุ ตวั ลง ช่วยลดอณุ หภมู เิ ปดแสง เหด็ จะจับตุ่มดอกรักษาอุณหภูมิ 28-32 องศาเซลเซียส ไปเรื่อย ๆ จนเก็บดอกหมด คือ ประมาณ 5-7 วัน (ดอกโตขน้ึ ต้องเพมิ่ อากาศโดยใชโ้ บเวอรร์ ะบายทางชอ่ งระบายอากาศ) วนั ที่ 12-17 เรมิ่ เก็บดอกได้และเกบ็ ไดน้ านประมาณ 5 วนั ผลผลิตรนุ่ แรกประมาณ 25 %ของทง้ั หมด วนั ที่ 17-20 เกบ็ ดอกรนุ่ แรกหมด พักใยประมาณ 2-3 วัน จะเกิดต่มุ ดอกเหด็ เกบ็ ผลผลิตร่นุ สองประมาณ 3 วนั วนั ท่ี 20 เก็บผลผลิตรนุ่ 2 หมด ผลผลิตท่ไี ดป้ ระมาณ 50-60 กโิ ลกรัม ลกั ษะของเครือข่ายและการสร้างเครือข่าย นายสมเดช ศริ วิ งศ์มเี ครอื ข่ายและมวี ธิ กี ารสร้างเครือข่ายดงั นี้ 1. เครือขา่ ยภาครฐั และเอกชน ประกอบดว้ ย 2. สานักงานเกษตรอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู 3. สานักงานพฒั นาชมุ ชน 4. ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู 5. กลมุ่ เกษตรอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั หนองบัวลาภู

วิธีการสร้างเครือข่าย นายสมเดช ศิริวงศ์ มีวิธีการสร้างเครือข่ายโดยการไปเป็นวิทยากรการทาเห็ดฟาง ตามหน่วยงานทั้งภาครัฐและ เอกชนตลอดจนได้รับเชิญชวนให้ผู้สนใจการทาเห็ดฟางไปศึกษาดูงานใน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนเห็ดฟาง และได้จัดทาแผ่นพับ เอกสารการทาเห็ดฟาง แจกจ่ายให้กับเครือข่าย และประชาชนผู้สนใจในอาชีพการทาเห็ดฟางอย่างต่อเน่ือง ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองหนองบัวลาภู สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั หนองบวั ลาภู

ประวัติและผลงานครูภูมิปัญญาท้องถ่ิน ตาบลโพธิ์ชัย อาเภอเมืองหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบัวลาภู ด้าน ศิลปกรรม สาขา ศาสนสถาน วัดป่าสามคั คศี ิรพิ ัฒนาราม ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมืองหนองบวั ลาภู สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

วัดป่าสามคั คศี ิรพิ ัฒนาราม ประวัตแิ ละผลงานครภู ูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ จังหวัดหนองบัวลาภู ดา้ น ศิลปกรรม สาขา ศาสนสถาน ประวัติชีวิตและผลงาน วัดปุาสามัคคีศิริพัฒนาราม ต้ังอยู่เลขที่ 37 บ้านกุดโพนทัน หมู่ที่ 4 ตาบลโพธ์ิชัย อาเภอเมืองหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบัวลาภู สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ท่ีดินต้ังวัดมีเน้ือท่ี 7 ไร่ 3 งาน 93 ตารางวา น.ส. 3 ก. เลขที่ 395 อาณาเขต ทิศเหนือจดทางสาธารณประโยชน์ ทิศใต้จดท่ีดินแปลงที่ 116 ทิศตะวันออกจดทางสาธารณประโยชน์และท่ี ของราษฏร ทิศตะวนั ตกจดทางสาธารณประโยชน์ และทขี่ องราษฎร มที ธี่ รณีสงฆจ์ านวน 6 แปลง เน้ือท่ี 83 ไร่ 63 ตาราง วา น.ส. 3 ก. เลขท่ี 1167 , 1409 ,394 , 400 และ396 อาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ กว้าง 15 เมตร ยาว 23 เมตร สร้าง พ.ศ. 2513 เป็นอาคารครึง่ ตกึ ครึง่ ไม้ หอสวดมนต์กวา้ ง 12 เมตร ยาว 15 เมตร เป็นอาคารไม้ สร้าง พ.ศ. 2512 กฏุ ิสงฆเ์ ปน็ อาคารครง่ึ ตึกคร่ึงไม้ จานวน 22 หลัง ศาลาอเนกประสงค์ สร้าง พ.ศ. 2531 และโรงครัว ปูชนียวัตถมุ ี พระพุทธรูป ทาด้วยศิลาแลง วัดปุาสามัคคีศิริพัฒนาราม สร้างเมื่อ พ.ศ. 2482 เดิมเป็นวัดโบราณสร้างข้ึนตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีหลักฐานคือ ซากอโุ บสถ ใบเสมา และพระพุทธรูปทาด้วยศิลาและ ต่อมากลายสภาพเป็นวัดร้าง พระอาจารย์บุญเลิศเดิน ธุดงค์มาพบเขา้ จงึ ไดช้ กั ชวนชาวบา้ นบรู ณะสร้างวัดขึ้นใหม่ และพฒั นาจนกลายเป็นวดั สานกั วิปัสสนากัมมัฏฐานตัวอย่าง ใน เขตอาเภอเมืองหนองบัวลาภู ชาวบ้านเรียกกันว่าวัดกุดโพนทัน ในทะเบียนวัด ประกาศตั้งวัดเมื่อวันท่ี 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2482 ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อวันท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2524 เขตวิสุงคามสีมา กว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร การบริหารและการปกครอง มีเจ้าอาวาสเท่าท่ีทราบนาม คือ พระครูปภัศรคุณ (บุญเลิศ,ญาท่าน) ต้ังแต่ พ.ศ. 2510 เป็นเจ้าอาวาสและเป็นพระสงฆ์ผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบท่ีสาคัญของจังหวัด เคยได้รับมอบหมายจากสมเด็จ พระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก ให้เดินทางไปเผยแพร่พระพุทธศาสนาที่ประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมนั และประเทศจนี เปน็ ตน้ มา การศกึ ษามโี รงเรยี นพระปรยิ ัติธรรม แผนกธรรม เปดสอน พ.ศ. 2530 และโรงเรียน ผใู้ หญว่ ดั เปดสอน พ.ศ. 2529 นอกจากน้มี ถี งั นา้ ฝน ถังน้าประปาบาดาลสาหรับวดั และตอ่ ทอ่ เมนออกไปยงั หมู่บา้ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองหนองบัวลาภู สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดหนองบัวลาภู

องคค์ วามรู้ และความเช่ยี วชาญ 1. เปน็ แหล่งเรยี นร้ดู ้านสถาปัตยกรรม 2. ปตมิ ากรรม และจติ กรรม 3. และการเรียนรทู้ างประเพณีวฒั นธรรม 3. แหล่งถา่ ยทอดความรูท้ างจิตวญิ ญาณ การปฏิบัติธรรม การสวดมนต์ และการทาสมาธิ การถ่ายทอดความรู้ ความเช่ยี วชาญ 1. การถ่ายทอดความร้ผู า่ นครวู ทิ ยากร หรือพระวทิ ยากร 2. ผา่ นการเรยี นรวู้ ิถชี ุมชนจากประเพณีและวฒั นธรรมในท้องถิ่น 3. ผา่ นจิตรกรรมฝาผนงั ของวัด ลกั ษณะเครือขา่ ยและการสรา้ งเครือขา่ ย 1. เครือขา่ ยโรงเรยี นปรยิ ัตธิ รรม 2. เครือขา่ ยผู้นาชมุ ชน 3. เครอื ข่ายการปฏิบัติธรรม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั หนองบัวลาภู

ประวตั ิและผลงานครูภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ตาบลกดุ จิก อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู จงั หวดั หนองบัวลาภู ดา้ น เกษตรกรรม สาขา การทาปุย๋ หมกั นายจกั รพงศ์ โสนะแสง ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองหนองบวั ลาภู สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดหนองบวั ลาภู

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

นายจกั รพงศ์ โสนะแสง ประวตั แิ ละผลงานครภู มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ จงั หวดั หนองบวั ลาภู ด้านเกษตรกรรม สาขา การทาปยุ๋ หมกั ประวตั ิชีวิตและผลงาน นายจักรพงศ์ โสนะแสง เกิดเม่ือวันท่ี 10 มีนาคม 2497 เกิดที่ หมู่ท่ี 2 ตาบลกุดจิก อาเภอเมือง จงั หวดั หนองบัวลาภู กลุ่มวิสาหกิจชุมชน การทาปุ๋ยหมัก บ้านทุ่งโปร่งเหนือ ตาบลกุดจิก อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู นายจักรพงศ์ โสนะแสง ประธานกลมุ่ วสิ าหกจิ ชุมชนการทาป๋ยุ หมกั มคี วามตอ้ งการพัฒนาสูตรการผลติ ปุย๋ หมกั องค์ความรู้ และความเชย่ี วชาญ นายจักรพงศ์ โสนะแสง มีองค์ความร้เู ชี่ยวชาญ ท่ีนาไปถ่ายทอดแก่ผู้เรียน และผู้คนท่ีสนใจ โดยใช้กระบวนการ ถ่ายทอดความรทู้ หี่ ลากหลาย เชน่ การอธิบาย การสาธติ และใหผ้ ูเ้ รยี นฝึกปฏิบตั ิจริง ตามหัวข้อดังต่อไปน้ี การแนะนาวัสดุ อุปกรณ์การทาปุ๋ยหมัก ข้ันตอนการทาการทาปุ๋ยหมัก และการจาหน่ายผลผลิต รายละเอียดองค์ความรู้ที่ นายจักรพงศ์ ถ่ายทอดองคค์ วามรูแ้ กผ่ ู้เรียนตามขน้ั ตอนดงั นี้ หน่ึงในทางเลอื กที่ทุกคนและทกุ บ้านทาไดโ้ ดยไมต่ อ้ งรอรถขยะมาจัดเก็บกค็ ือ การนาเศษอาหารไปทาปุ๋ยหมัก โดย อาศยั การยอ่ ยสลายจากจุลนิ ทรีย์ นอกจากช่วยลดคา่ ใช้จา่ ยในการจ้างเก็บขยะมูลฝอยแล้ว ยังไม่เป็นภาระต่อสังคม ไม่ต้อง เสียเวลาในการขุดหลุมฝัง แถมยงั ไดป้ ๋ยุ อินทรยี ์ไว้ใสต่ น้ ไมใ้ นบา้ น ช่วยประหยดั อกี ต่อหนึ่งด้วย การทาปยุ๋ หมักจากเศษอาหารมสี ว่ นประกอบหลกั 3 สว่ น คอื 1. เศษอาหารเช่น เศษข้าว เศษผัก เปลอื กผลไม้ เปลือกไข่ ก้างปลา เศษหมู ขนมปัง ฯลฯ ที่เหลือจากการบริโภค ไมว่ ่าจะเปน็ ครวั เรอื น ร้านอาหาร โรงอาหาร หรือโรงครวั เม่อื นามาทาปุ๋ยหมักจะใช้เฉพาะส่วนที่เป็นกาก จึงต้องแยกน้าท่ี อยู่ในเศษอาหารออกกอ่ น หากเศษอาหารมขี นาดใหญ่กส็ ับใหม้ ีขนาดเลก็ ลง 2. จลุ นิ ทรยี ์ควรเปน็ ประเภทท่ใี ชอ้ อกซิเจน จะช่วยให้ไม่ส่งกลิ่นเหม็นและไม่ทาให้เกิดน้าเสีย แหล่งจุลินทรีย์ที่หา ได้งา่ ยคือมลู สตั วต์ า่ ง ๆ ไมว่ ่าจะเป็น มูลวัว มูลไก่ มูลหมู มูลม้า มูลแพะ ซ่ึงมีจุลินทรีย์หลายประเภทและจานวนมาก เช่น เชอ้ื ราแอคติโนมยั ซตี ส์ (Actinomycetes) ชว่ ยใหก้ ระบวนการย่อยสลายเศษอาหารกลายเปน็ ปุย๋ หมกั ได้เร็วขึน้ 3. เศษใบไม้ช่วยให้เศษอาหารมีความโปร่งพรุน ไม่อัดแน่นจนเกินไป ท้ังยังมีธาตุคาร์บอนที่จาเป็นต่อการ เจริญเตบิ โตและสร้างเซลลข์ องจุลินทรีย์ เม่อื เตรียมสว่ นประกอบพร้อมแลว้ กม็ าทาปุย๋ หมกั จากเศษอาหารกนั ปุ๋ยหมกั จากเศษอาหารในถังพลาสตกิ วธิ ที า 1. เตรียมถังหมักพลาสติกพร้อมฝาปดขนาด 20 ลิตร โดยใช้เหล็กร้อน ๆ เจาะรูรอบถังเพื่อใช้เป็นช่องระบาย อากาศ แลว้ พนั ดว้ ยตาขา่ ยเพ่อื ปูองกนั แมลงวันมาวางไขแ่ ละสรา้ งความราคาญ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั หนองบวั ลาภู

2. ใส่เศษอาหาร มลู สตั ว์ และเศษใบไม้ อย่างละ 1 ส่วนลงในถัง ผสมคลุกเคล้าให้ท่ัวแล้วปดฝา ระยะแรกไม่ต้อง เตมิ น้าเนือ่ งจากเศษอาหารมีความช้ืนสูง หากวันถัดไปมีเศษอาหารอีกก็ผสมมูลสัตว์และเศษใบไม้ในอัตราส่วนเดิม ใส่ลงใน ถงั ได้อกี 3. ใช้ไมค้ นสว่ นผสมใหค้ ลกุ เคล้ากนั ทกุ วนั วันละ 1-2 ครง้ั ในชว่ ง 3-10 วันแรกอาจมีความร้อนเกิดข้ึน เน่ืองจาก จลุ นิ ทรยี ค์ ายความร้อนออกมาเพ่ือทาปฏิกริ ยิ าย่อยสลาย หากความชืน้ ลดลงเกือบแห้ง ควรพรมนา้ เพิม่ 4.ใช้เวลาประมาณ 30 วนั จะไดป้ ุย๋ หมักในปริมาตรท่ีลดลงร้อยละ 40 หากปุ๋ยยังมีความชื้นอยู่ ควรงดพรมน้าและปล่อย ใหแ้ ห้งสนทิ เพอื่ ใหจ้ ุลินทรีย์หยดุ การยอ่ ยสลาย ปุ๋ยหมกั ท่ไี ดจ้ ะมสี ดี าคล้า เปอื ยยยุ่ มขี นาดเล็กลง น้าหนกั เบา และไม่มีกล่ิน เหมน็ ชุมชนขนาดใหญ่ เช่น โรงเรยี น วดั เรือนจา สานกั งาน หรอื สถานทรี่ าชการ จะมีเศษอาหารเหลือทิ้งปริมาณมากใน แต่ละวัน จงึ ควรใชภ้ าชนะหมกั ขนาดใหญ่ขึ้น อาจใชถ้ งั เหล็กขนาดพอเหมาะหรือดดั แปลงถังพลาสติกทรงกลมรี เจาะรูที่ฝา ปดเพอ่ื ใหอ้ ากาศถ่ายเทได้สะดวก ปดทบั ดว้ ยตะแกรงเพอื่ ปูองกันแมลงวนั แลว้ พลกิ กลบั เศษอาหารโดยกลิง้ ถงั ไปมาก็ได้ สามารถใช้วงบ่อซีเมนตข์ นาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 1 เมตรเป็นภาชนะหมักได้ แล้วใส่ใบไม้แห้ง ตามด้วยเศษอาหาร แล้วใส่ใบไม้แห้งท่ยี อ่ ยแล้วทับอกี ครง้ั ระหวา่ งหมักกองปุย๋ จะยุบตัวลง กส็ ามารถนาเศษอาหารและใบไมแ้ ห้งท่ียอ่ ยแล้วมาเท ทับเปน็ ชนั้ ๆ ไดเ้ รื่อย ๆ ใชเ้ วลาประมาณ 30 วนั กไ็ ด้ปยุ๋ หมกั ปยุ๋ หมกั เปน็ ปุ๋ยอนิ ทรยี อ์ กี ชนดิ ท่ไี ดจ้ ากการหมักวัสดุเหลือทิ้งท่ีเป็นสารอินทรียบ์ างชนดิ โดยนาวัสดุเหล่าน้ันมากอง รวมกัน รดนา้ ให้ช้นื ทงิ้ ไว้ให้เกิดการยอ่ ยสลายโดยกิจกรรมของจุลนิ ทรีย์ จากนั้นจึงนาไปปรับปรุงดิน ซึ่งนอกจากการทาปุ๋ย หมักจากเศษอาหารในครวั เรอื นแลว้ ยงั มีปุ๋ยหมักจากวัสดอุ นิ ทรีย์อ่นื ๆ อีกมากมายท่หี าได้ง่ายในแต่ละท้องถ่ินให้ลองไปทา กัน ไม่ว่าจะเปน็ ปุ๋ยหมกั จากวัสดุเหลือใช้จากการเพาะเห็ด ป๋ยุ หมกั จากชานออ้ ย ปุย๋ หมักจากผักตบชวา ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือน ป๋ยุ หมกั ปลา นา้ หมกั ชวี ภาพ ฯลฯ การถ่ายทอดความรู้ ความเชีย่ วชาญ นายจกั รพงศ์ โสนะแสง ถ่ายทอดความรู้การทาปุย๋ หมกั ผา่ นการศึกษาทัง้ 2 รปู แบบ ดังนี้ 1. การศกึ ษาในระบบ เปน็ วิทยากรถา่ ยทอดความรกู้ ารทาป๋ยุ หมกั ให้แกน่ ักเรียนในโรงเรยี น 2. การศกึ ษานอกระบบ เป็นวทิ ยากรถ่ายทอดความรกู้ ารทาปุย๋ หมักให้แก่ กศน.อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู ลักษะของเครือขา่ ยและการสร้างเครอื ขา่ ย นายจกั รพงศ์ โสนะแสง มเี ครอื ข่ายและมวี ธิ ีการสรา้ งเครือข่ายดังน้ี 1. เครือขา่ ยภาครัฐและเอกชน ประกอบด้วย 2. สานักงานเกษตรอาเภอเมืองหนองบวั ลาภู 3. สานกั งานพฒั นาชมุ ชน 4. ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองหนองบวั ลาภู 5. กล่มุ เกษตรอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

วธิ ีการสรา้ งเครอื ขา่ ย นายจกั รพงศ์ โสนะแสง มีวิธีการสร้างเครือข่ายโดยการไปเป็นวิทยากรการทาปุ๋ยหมักตามหน่วยงานท้ังภาครัฐ และเอกชนตลอดจนได้รับเชิญชวนให้ผู้สนใจการทาปุ๋ยหมักไปศึกษาดูงานใน กลุ่มวิสาหกิจชุมชนการทาปุ๋ยหมัก และได้ จัดทาแผ่นพบั เอกสารการทาปุ๋ยหมักแจกจ่ายให้กับเครือขา่ ย และประชาชนผู้สนใจในอาชีพการทาปุ๋ยหมักอยา่ งต่อเน่อื ง ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบัวลาภู

ประวัติและผลงานครูภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ตาบลบ้านขาม อาเภอเมืองหนองบวั ลาภู จังหวดั หนองบวั ลาภู ด้าน ศิลปกรรม สาขา ศาสนสถาน วัดพระธาตหุ าญเทาว์ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองหนองบวั ลาภู สานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวดั หนองบวั ลาภู

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

วดั พระธาตหุ าญเทาว์ ประวตั แิ ละผลงานครภู มู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ จงั หวดั หนองบวั ลาภู ด้าน ศลิ ปกรรม สาขา ศาสนสถาน ประวตั ชิ ีวิตและผลงาน วัดพระธาตุหาญเทาว์ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 2 ตาบลบ้านขาม อาเภอเมือง จังหวัดหนองบัวลาภู เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน ศาสนา อโุ บสถที่มคี วามงดงาม ภาพวาดพุทธประวัติลกั ษณะรูปแบบศิลปกรรม ศาสนสถานในพุทธศาสนา ลักษณะการใช้ งานในปัจจุบนั เป็นทเ่ี คารพสักการบชู าของทอ้ งถ่ิน ธาตุ ( เจดีย์ ) ก่ออิฐถือปูน ฐานแปดเหลี่ยม ถัดขึ้นมาเป็นช้ันบัวคว่า บัวหงายชันสูง ท้องกระดานเป็นกระดูกงู ชั้นบัวนี้เป็นทรงแปดเหลี่ยมล้อกันกับช้ันฐาน ส่วนเรือนธาตุเป็นทรงกรวยแปด เหลี่ยมปลายคอดต่อเชอ่ื มกบั สว่ นยอดพระธาตุ ซงึ่ มรี ูปทรงกรวยแปดเหลยี่ มเชน่ เดยี วกับทรงเรือนธาตุ ท้งั องค์พระธาตุฉาบ ปูนทาสีเหลืองอ่อน ตกแต่งด้วยลวดลายปูนป้ันนูนต่าลายดอกไม้ ลายกนก และรูปพวงมาลัย ลายปูนป้ันทาสีขาว อายุสมยั ราวป พ.ศ.2460 ประเภทโบราณสถาน องค์ความรู้ และความเช่ยี วชาญ เปน็ แหล่งเรียนร้ดู า้ นศาสนา อุโบสถที่มคี วามงดงาม ภาพวาดพุทธประวัติ ลักษณะรูปแบบศิลปกรรม ศาสนสถาน ในพุทธศาสนา ลกั ษณะการใชง้ านในปจั จุบนั เปน็ ทเ่ี คารพสกั การบูชาของทอ้ งถ่ิน ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั หนองบวั ลาภู

ท่ปี รกึ ษา คณะผูจ้ ัดทา 1. นายวนิ ยั แสงใส ผู้อานวยการ กศน. อาเภอเมอื งหนองบัวลาภู ผรู้ บั ผดิ ชอบ ครู กศน. ตาบล 1. นางนพรตั น์ บวั ศรี ครู กศน. ตาบล 2. นางพมิ พม์ าดา พรมเป ครู กศน. ตาบล 3. นางเตือนใจ สวุ รรณโค ครู กศน. ตาบล 4. นางสาวสุขสรร รัชชุศิริ ครู กศน. ตาบล 5. นางสาวสาวติ รี ปไชยญาณ ครู กศน. ตาบล 6. นางสาววลิ าวณั ย์ แสนเมอื ง ครู กศน. ตาบล 7. นายอานนทวัฒน์ ปดั โรคา ครู กศน. ตาบล 8. นางสาวสุพิชญา ช่นื นอก ครู กศน. ตาบล 9. นางสาวสพุ รรษา คาพนั ธ์ ครู กศน. ตาบล 10. นางสาวสภุ าพร ศรีนามเอ็ม ครู กศน. ตาบล 11. นางอมุ าพร ภูนายา ครู กศน. ตาบล 12. นางสาวพรรณวดี ชยั มงคล ครู กศน. ตาบล 13. นางพทั รภรณ์ ทองประดบั ครู กศน. ตาบล 14. นางสาวฉววี รรณ คาฆ้อง ครู กศน. ตาบล 15. นางสาวจิราภา วรรณพฤกษ์ ผูร้ วบรวมและจัดพิมพ์ บรรณารกั ษ์ 1. นางสาวสพุ ัตรา ยะปะตัง เจา้ ของเอกสาร ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเมอื งหนองบวั ลาภู ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู

ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมอื งหนองบัวลาภู สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดหนองบวั ลาภู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook