Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปประจำปี 2564

สรุปประจำปี 2564

Published by วรรณิกา บุญเงิน, 2021-11-17 03:36:12

Description: สรุปประจำปี 2564

Search

Read the Text Version



๒ คำนำ สรุปผลการดาเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนินขาม ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบบั นจ้ี ดั ทาขึ้นเพอ่ื สรปุ ผลการดาเนินงานและรายงานผลการจดั กจิ กรรม ประจาปีงบประมาณ ๒๕ 64 เพอ่ื เปน็ ข้อมูลในการวางแผนการดาเนนิ งานและพัฒนากิจกรรมในโอกาสต่อไป ซึ่งรายงานฉบบั นี้ได้รวบรวม โครงการและรายละเอียดกิจกรรมทดี่ าเนนิ การในรอบปงี บประมาณ ๒๕ 64 (๑ ตลุ าคม 2563 – ๓๐ กันยายน ๒๕64 ) ทั้งในสว่ นที่ดาเนินงาน ณ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม และกิจกรรมชุมชน จงึ หวัง เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ รายงานฉบบั น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อการประเมินผลและการตดิ ตามผลการดาเนินงานตลอดจน เป็นแนวทางให้สถานศกึ ษาและห้องสมุดประชาชนทว่ั ไปใชเ้ ป็นขอ้ มลู ในการพัฒนากจิ กรรมการศึกษาตาม อธั ยาศยั ตอ่ ไป นางสาววรรณกิ า บญุ เงิน ผูป้ ฏิบัติงานห้องสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม

สารบญั ๓ คานา หนา้ สารบญั 1 23 สว่ นที่ 1 บทนา ทศิ ทางของสถานศกึ ษา 10 สว่ นท่ี 2 นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน 12 สว่ นท่ี 3 สรุปผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 สว่ นท่ี 4 ภาคผนวก 33 รปู ภาพกจิ กรรม แผนการปฏบิ ัตงิ านประจาปี 2564 คณะผู้จดั ทา

๔ บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ กศน.อาเภอเนินขาม งานหอ้ งสมุดประชาชน โทร. ๐-๕๖๙๔-๖๔๖๕ ตลุ าคม ๒๕64 ท่ี ศธ ๐๒๑๐.๒๕๐๘/ วันที่ เรื่อง สรุปผลการดาเนนิ งาน ประจาปีงบประมาณ ๒๕64 เรยี น ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอเนนิ ขาม เรือ่ งเดิม ตามที่ กศน.อาเภอเนนิ ขาม ไดอ้ นุมัตใิ ห้ งานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนนิ ขาม จัดทาโครงการ ประจาปีงบประมาณ ๒๕64 เพ่อื ส่งเสรมิ การอา่ นให้นักเรยี น นักศกึ ษา และประชาชนมีนสิ ยั รกั การอา่ น เป็น การสรา้ งสังคมแห่งการเรยี นรู้ สังคมแหง่ ภมู ิปญั ญา และพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนให้เปน็ ศนู ย์กลางการเรยี นรู้ ตลอดชวี ติ ของชมุ ชน จึงได้จดั ทาโครงการขึน้ ระหว่าง วนั ที่ ๑ ตุลาคม ๒๕ 63 – ๓๐ กนั ยายน ๒๕ 64 ณ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม และชมุ ชนในพ้นื ทอ่ี าเภอเนนิ ขามทง้ั ๓ ตาบล น้ัน ขอ้ เทจ็ จรงิ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม ได้ดาเนินการ สรุปผลการดาเนินงาน ประจา ปงี บประมาณ ๒๕64 เสรจ็ เรียบร้อยแล้ว รายละเอยี ดแนบทา้ ยบันทึกนี้ ขอ้ เสนอแนะ - จงึ เรียนมาเพือ่ โปรดทราบ (นางสาววรรณิกา บญุ เงนิ ) ผปู้ ฏิบตั ิงานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม

๕ สว่ นที่ 1 บทนา

๖ ข้อมูลพน้ื ฐานหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนนิ ขาม ๑. ชื่อสถานศกึ ษา ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเนนิ ขาม ๒. ทต่ี ั้ง / การติดต่อ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอเนนิ ขาม หมทู่ ่ี ๑๔ ตาบล เนนิ ขาม อาเภอ เนนิ ขาม จังหวัดชัยนาท รหัสไปรษณยี ์ ๑๗๑๓ โทรศพั ท์ ๐-๕๖๙๔-๖๔๖๔ โทรสาร ๐- ๕๖๙๔-๖๔๖๔ ๓. สังกดั สานักงานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๔. ประวัติความเปน็ มาของสถานศึกษา ๔.๑ ประวตั สิ ถานศึกษา ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเนนิ ขาม เปน็ สถานศึกษาในสังกัด สานกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ไดป้ ระกาศจดั ตงั้ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐ โดยใช้ชื่อวา่ ศูนย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรียนอาเภอเนนิ ขาม ซงึ่ ตอ่ มาได้เปล่ยี นช่ือเป็นศนู ย์การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอเนินขาม เพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิส่งเสรมิ การศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั พ.ศ. ๒๕๕๑ เม่อื วนั ที่ ๔ มนี าคม ๒๕๕๑ ทีท่ าการปัจจุบันของศูนย์ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ตั้งอยู่ หมู่ ๑๔ ตาบลเนินขาม อาเภอเนนิ ขาม จงั หวัด ชัยนาท ซ่งึ ไดร้ ับการจดั สรรงบประมาณจากงบไทยเขม้ แข็งเม่ือปี ๒๕๕๓ เปน็ อาคาร ๒ ช้ัน โดยชนั้ ลา่ งใช้ เปน็ สานกั งานศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอเนินขาม และช้ันบนเปน็ ห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนินขาม ๔.๒ อาณาเขต ทศิ เหนอื ติดตอ่ กบั อาเภอหนองมะโมงและอาเภอหนั คา จังหวดั ชยั นาท ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอเดมิ บางนางบวช จงั หวัดสุพรรณบุรี ทศิ ตะวันออก ติดตอ่ กับอาเภอหนั คา จงั หวัดชัยนาท ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั อาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ๔.๓ สภาพชุมชน ลักษณะทต่ี ้ังอาเภอเนินขาม ซง่ึ อยู่ทางทศิ ตะวนั ตกเฉยี งใต้ ห่างจากจงั หวดั ชยั นาท ๕๓ กิโลเมตร และหา่ งจากกรงุ เทพมหานครประมาณ ๑๙๕ กิโลเมตร ถนนลาดยางตลอด มพี น้ื ท่ปี ระมาณ ๒๗๐ ตารางกโิ ลเมตร หรือ ๑๖๘,๗๕๐ ไร่ ลกั ษณะภูมิประเทศ สภาพพืน้ ท่ีเป็นเขตท่รี าบสูงตอนเหนอื และตะวันตก และเขตทรี่ าบสูงเชิงภูเขาในทอ้ งทต่ี าบลกะ บกเตย้ี ภูเขาประเภทดินลูกรัง อย่ใู นเขตตาบลกะบกเต้ียและตาบลเนินขาม แม่น้าไมม่ ีไหลผา่ นอาศยั แหล่งนา้ จากธรรมชาติ พืน้ ท่แี ละการใช้ประโยชนพ์ น้ื ทท่ี านาจานวน ๖๔,๒๘๐ ไร่ พ้ืนทไ่ี ร่นาสวนผสม จานวน ๙๒๐ ไร่ พนื้ ท่ีทาสวน ๑,๒๑๐ ไร่ พ้นื ท่ที าไร่ ๘๘,๒๔๐ ไร่ แผนท่ีอาเภอเนินขาม

๗ การปกครอง แบ่งเขตการปกครองยอ่ ยออกเป็น ๓ ตาบล ๔๘ หมู่บา้ น ประกอบดว้ ย ตาบลเนินขาม มี ๑๙ หม่บู ้าน ตาบลสุขเดือนห้า มี ๑๔ หมูบ่ า้ น ตาบลกะบกเตย้ี มี ๑๕ หมูบ่ า้ น การปกครองสว่ นท้องถิน่ ประกอบดว้ ย องคก์ ารบริหารสว่ นตาบล ๒ แห่ง เทศบาล ๑ แหง่ ไดแ้ ก่ ๑ . เทศบาลตาบลเนนิ ขาม ครอบคลมุ พ้ืนท่ีตาบลเนินขามทง้ั ตาบล ๒ . องคก์ ารบริหารส่วนตาบลกะบกเตีย้ ครอบคลุมพ้ืนท่ตี าบลกะบกเตีย้ ทั้งตาบล ๓ . องค์การบริหารสว่ นตาบลสุขเดือนห้า ครอบคลมุ พนื้ ทตี่ าบลสุขเดอื นหา้ ท้ังตาบล ประชากรอาเภอเนินขาม มปี ระชากรรวมทง้ั สิน้ ๕,๙๑๐ ครัวเรอื น ประกอบดว้ ย ประชากรชาย ๘,๖๒๕ คน ประชากรหญิง ๘,๗๗๙ คน มีประชากร รวมทง้ั สิ้น ๑๗,๔๐๔ คน สภาพสังคม อาเภอเนินขาม มีสถานศกึ ษาและแหล่งเรยี นร้ใู นพ้นื ที่ ดงั น้ี - สถานศึกษาสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาชัยนาท จานวน ๑๐ แหง่ - สถานศึกษาในสังกัดอาชวี ศึกษา จานวน ๑ แห่ง - สถานศึกษาในสงั กัดสานักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จานวน ๑ แห่ง - ศนู ย์พฒั นาเด็กเลก็ จานวน ๓ แห่ง - ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน (กศน.ตาบล : แหล่งเรยี นรู้ราคาถกู ) จานวน 6 แห่ง - ห้องสมุดประชาชน จานวน ๑ แห่ง การศาสนาและศิลปวฒั นธรรม มีวัด จานวน ๗ วัด สานกั สงฆ์ จานวน ๘ แหง่ ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณี ประกอบด้วย การจดั งานวนั สงกรานต์ วันลอยกระทง การละเลน่ พ้นื บา้ น กลองยาว หมอลา แคนวง งานประจาปี ปดิ ทองหลวงพ่อพุทธมาลศี รีเนินขาม การ สาธารณสขุ มีสถานอี นามยั มจี านวน ๕ แห่ง สานักงานสาธารณสุขอาเภอ มี ๑ แห่ง ๔.๔ ทาเนยี บผบู้ รหิ าร ลาดบั ที่ ช่ือ-สกลุ ตาแหนง่ ระยะเวลาท่ดี ารงตาแหนง่ ๑ นายทวี สว่างมณี ผู้อานวยการ พ.ศ. ๒๕๕๐ - มถิ นุ ายน ๒๕๕๑ ๒ นางอษุ า กลุ สราวธุ ผอู้ านวยการ พ.ศ. ๒๕๕๑ - กมุ ภาพันธ์ ๒๕๕๔ ๓ นางจิรัชยา เฟือ่ งฟรู ตั น์ ผูอ้ านวยการ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๔ – สิงหาคม ๒๕๕๖ ๔ นางชยาภรณ์ อรุณรัตน์ ผู้อานวยการ ๑๓ สงิ หาคม ๒๕๕๖-๑๒ กุมภาพนั ธ์๒๕๕๗ ๕ นายอนุรักษ์ แหวนเงนิ ผอู้ านวยการ 20 กุมภาพนั ธ์ 2557 – ๑๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ ๖ นางเยาวรกั ษ์ บญุ จนั ทร์ ผอู้ านวยการ ๑๙ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๕๘ –23 พฤศจิกายน 2558 7 นางคานึง อุยตระกลู ครู คศ.3รักษาการ 23 พฤศจิกายน 2558 – 30 ตุลาคม 2560 8 นางสาวปนัดดา แอบเกษม ผู้อานวยการ 1 พฤศจกิ ายน 2560 – 18 พฤศจิกายน 2563 9 นางสาวณัฐวรรณ มีจันทร์ ครคู ศ.1 รกั ษาการ 19 พฤศจิกายน 2563 – 21 กรกฎาคม 2564 10 นางสาวชลธชิ า เคหฐาน ผอู้ านวยการ 22 กรกฎาคม 2564 – ถึงปัจจุบนั

๘ ๔.๕ ทาเนยี บนามบุคลากร ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอเนินขาม ลาดับท่ี ชอ่ื – สกุล ตาแหนง่ ๑. นางสาวปนดั ดา แอบเกษม ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอเนินขาม ครู คศ.1 2. นางสาวณัฐวรรณ มีจันทร์ ครผู ู้ชว่ ย ครอู าสาสมคั รนอกโรงเรียน 3. นางสาวณชั ชา เยน็ ศริ ิ ครู กศน.ตาบลกะบกเตีย้ ครู กศน.ตาบลสขุ เดอื นห้า 4. นางพรชนริ ัตน์ พมุ่ จาปา ครู กศน.ตาบลเนนิ ขาม ครผู ู้สอนคนพกิ าร 5. นางสาวนาตยา ไข่นลิ ครู ศรช. บ้านโศกลกึ ครู ศรช. บ้านทุ่ง 6. นางวภิ ารตั น์ กลัดล้อม บรรณารักษ์อตั ราจา้ ง 7. นางสาวโสธิดา ศรเี ดช 8. นางสาวปทั มา บวั ชนื่ 9. นายปรญิ ญา จันทรท์ องรกั ษ์ 10. นายศักดิด์ า ศรเี ดช 11. นางสาววรรณิกา บุญเงิน ๕. โครงสร้างสถานศกึ ษา ผูอ้ านวยการ คณะกรรมการสถานศึกษา กลมุ่ งานอานวยการ กลมุ่ จัดและส่งเสรมิ การศึกษา กลมุ่ ภาคเี ครือข่ายและกิจการ พเิ ศษ - งานธุรการ และสารบรรณ - สง่ เสริมการรหู้ นังสอื - งานการเงินและบญั ชี - งานการศึกษาพ้นื ฐานนอกระบบ - งานส่งเสริม สนับสนนุ ภาคเี ครือขา่ ย - งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร - งานการศึกษาต่อเนื่อง - งานกิจการพิเศษ - งานพัสดุ - งานการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี - งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ - งานบคุ ลากร - งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิต - งานปอู งกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด/ - งานแผนงานและโครงการ - งานการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมชมุ ชน - งานประชาสัมพนั ธ์ - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย โรคเอดส์ - งานสวัสดกิ าร - งานจัดพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ - งานส่งเสริมกิจกรรมประชาธิปไตย - งานข้อมลู สารสนเทศและการรายงาน - งานห้องสมดุ ประชาชน - งานสนับสนนุ ส่งเสริมนโยบายจังหวดั / - ศนู ย์ราชการใสสะอาด - งานการศกึ ษาทางส่ือสารมวลชน อาเภอ - งานควบคุมภายใน - งานพัฒนาหลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม - งานกิจการลูกเสอื และยวุ กาชาด - งานนิเทศภายใน ติดตามและประเมนิ ผล - งานทะเบยี นวดั ผล - งานกองทุนก้ยู มื เพ่อื การศกึ ษา - งานเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษา - งานศนู ยบ์ ริการให้คาปรึกษาแนะนา - งานประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา - งานกิจการนกั ศึกษา ๖. แหลง่ เรยี นรแู้ ละภาคเี ครอื ขา่ ย

๙ ๖ แหลง่ เรียนรู้ ๖.๑ กศน.ตาบล ศนู ย์การเรียนรูช้ ุมชนในพื้นที่อาเภอเนนิ ขาม ไดป้ ระกาศจดั ตัง้ จานวน ๓ แหง่ ครอบคลมุ พน้ื ที่ ๓ ตาบล โดยจัดตัง้ ตามประกาศจงั หวัดชัยนาท ลงวนั ที่ ๒๔ มถิ นุ ายน ๒๕๔๑ ลงนามโดยนายอนุกูล คุณาวงศ์ ผ้วู ่าราชการจงั หวัดชัยนาท ดงั มรี ายละเอยี ดดังน้ี ท่ี ศนู ย์การเรยี นชมุ ชน ที่ต้งั ครูผ้รู ับผิดชอบ ๑ กศน.ตาบลเนินขาม หมู่ที่ ๑๔ ต.เนนิ ขาม นางสาวโสธิดา ศรีเดช ๒ กศน.ตาบลสุขเดอื นหา้ หมทู่ ่ี ๖ ต.สขุ เดือนหา้ นางวภิ ารัตน์ กลัดล้อม ๓ กศน.ตาบลกะบกเตี้ย หมู่ที่ ๓ ต.กะบกเต้ีย นางสาวนาตยา ไขน่ ิล 6.2 ศูนยก์ ารเรียนร้ชู มุ ชน ที่ ศนู ยก์ ารเรียนชุมชน ท่ีตัง้ ครูผรู้ บั ผดิ ชอบ ๑ ศรช.บา้ นทงุ่ หมทู่ ่ี ๑๔ ต.เนนิ ขาม นายศักด์ดิ า ศรเี ดช ๒ ศรช.บา้ นโศกลึก หมู่ท่ี ๓ ต.กะบกเตีย้ นายปริญญา จันทรร์ กั ษ์ ๖.3 ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ๑ นายประกอบ ดวงจินดา บริการพาณิชยกรรม สถานทตี่ ั้ง หมู่ ๖ ตาบลกะบกเตีย้ ๒ นายทองคา พุ่มจาปา หตั ถกรรมจกั สาน สถานทต่ี ้งั หมู่ ๒ ตาบลสุขเดือนหา้ ๓ นางสุมล ฉ่าชมวิทย์ หตั ถกรรมเชือกปอมหศั จรรย์สถานท่ีตงั้ หมู่ ๑๕ ตาบลกะบกเต้ยี ๔ นางอไุ รวรรณ น้าทพิ ย์ หตั ถกรรมถกั ตุ๊กตาไหมพรมสถานท่ตี ง้ั หมู่ ๗ ตาบลเนนิ ขาม ๕ นายสรุ ชยั ทาเอือ้ หตั ถกรรมงานใบตอง สถานทตี่ ั้ง หมู่ ๘ ตาบลเนินขาม ๖ นางอุษา บญุ สาพพิ ฒั น์ หัตถกรรมและสิ่งทอ สถานท่ตี ั้ง หมู่ ๑ ตาบลเนินขาม ๖.4 แหลง่ เรียนรู้ ๑ วัดหว้ ยสอง สถานที่ตง้ั หมู่ ๑๐ ตาบลสุขเดือนหา้ ๒ วดั หนองกระดาน สถานที่ตัง้ หมู่ ๖ ตาบลกะบกเต้ยี ๓ วดั ทงุ่ โพธิ์ สถานทตี่ งั้ หมู่ ๑ ตาบลกะบกเต้ยี ๔ วดั สขุ เดือนหา้ สถานทีต่ ั้ง หมู่ ๖ ตาบลสขุ เดอื นหา้ ๕ วดั วังคอไห สถานท่ีต้งั หมู่ ๕ ตาบลสุขเดอื นหา้ ๖ วัดเขาราวเทยี นทอง สถานทีต่ งั้ หมู่ ๑๐ ตาบลเนนิ ขาม ๗ วัดหนองเด่น สถานท่ตี ัง้ หมู่ ๔ ตาบลสุขเดือนห้า ๘ กลุ่มแม่บา้ นทอผ้าบ้านบ่อมว่ งสถานท่ตี ง้ั หมู่ ๘ ตาบลสุขเดือนหา้ ๙ กลมุ่ ทอผา้ หมู่ ๕ สถานทต่ี ั้ง หมู่ ๕ ตาบลเนินขาม ๑๐ การเพาะเห็ด สถานทต่ี ้ัง หมู่ ๑๓ ตาบลกะบกเต้ีย ๑๑ การทาอฐิ บลอ็ ก สถานทตี่ ั้ง หมู่ ๖ ตาบลสขุ เดือนหา้ ๑๒ ปาุ ชมุ ชนบา้ นเขาราวเทียนทองสถานทตี่ ัง้ หมู่ ๑๐ ตาบลเนินขาม ๑๓ การทาผลิตภัณฑ์ลดรายจา่ ยสถานทีต่ ั้ง หมู่ ๑ ตาบลเนนิ ขาม ๑๔ เรยี นรเู้ กษตรอินทรีย์ สถานทต่ี ง้ั หมู่ ๑ ตาบลเนินขาม ๑๕ ศนู ย์เรียนร้พู ลงั งานทางเลอื กสถานทต่ี ้งั หมู่ ๑๕ ตาบลเนินขาม

ภำคเี ครือข่ำ โรงเรียน หน่วยงานราชการ วดั - โรงเรยี นอนบุ าลเนนิ ขาม - ท่ีว่าการอาเภอเนนิ ขาม - วดั เนนิ ขาม - โรงเรียนวดั เขาราวเทียนทอง - วัดโป่งม่ัง - โรงเรยี นบ้านกลาง - สาธารณสุขอาเภอเนนิ ขาม - วดั เขาราวเทียนทอง - โรงเรียนเนนิ ขามรฐั ฯ - เกษตรอาเภอเนนิ ขาม - วดั หวั ตอ - วิทยาลยั การอาชีพเนนิ ขาม - สสั ดีอาเภอเนินขาม - วัดวงั คอไห - ศูนย์เด็กเลก็ (บา้ นหนองยาง) - พฒั นาชมุ ชนอาเภอเนินขาม - วัดหนองเด่น - ศนู ยเ์ ด็กเลก็ (อบต.สขุ เดือนหา้ ) - ปศสุ ัตว์อาเภอเนนิ ขาม - วัดหนองยาง - โรงเรียนบา้ นสุขเดอื นห้า - ธ.ก.ส. อาเภอเนนิ ขาม - วัดสุขเดอื นห้า - โรงเรียนวัดวังคอไห -สถานีตารวจอาเภอเนนิ ขาม - วดั ห้วยสอง - โรงเรยี นวดั หนองยาง - วดั โศกลกึ - ศูนย์เด็กเล็ก (รร.บ้านทงุ่ โพธ)ิ์ - วดั กะบกเตย้ี (วดั ใหม่เจรญิ พ - ศนู ยเ์ ด็กเล็ก (อบต.กะบกเตีย้ ) - วัดศรีเจรญิ ธรรม - โรงเรียนบา้ นเกา่ - วัดทุ่งนาน้อย - โรงเรยี นบ้านทุ่งโพธิ์ - สานักสงฆจ์ ันทาราม - โรงเรยี นบ้านกะบกเต้ยี - วดั เขาถา้ - วัดเขาโพธิง์ าม - วัดวงั น้าเย็น

๑๐ ำย กศน.อำเภอเนินขำม องคก์ รปกครองทอ้ งถ่ิน สถานีอนามยั แหล่งเรียนรู้ในชุมชน - เทศบาลตาบลเนินขาม - อบต.สขุ เดอื นหา้ - รพ.สต.เนนิ ขาม - กศน.ตาบลเนินขาม - อบต.กะบกเต้ีย - รพ.สต.เขาราวเทียนทอง - รพ.สต.สขุ เดอื นห้า - ศนู ยเ์ รยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง ปตท. พร) - รพ.สต.ทงุ่ โพธ์ิ - ชุมชนปาุ เขาราวเทยี นทอง - กศน.ตาบลสุขเดือนหา้ - รพ.สต.กะบกเตีย้ - ศนู ย์สาธิตการเกษตรแบบผสมผสาน อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ - กศน.ตาบลกะบกเต้ีย - กลุ่มทอผ้าหมทู่ ่ี ๕ ต.เนินขาม

๑๑ ทศิ ทางของสถานศึกษา สถานศกึ ษาได้กาหนดทิศทางการดาเนินงานไวใ้ นแผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและแผนปฏบิ ัติ การประจาปี โดยไดด้ าเนินงานตามแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี และมีผลการดาเนนิ การดงั นี้ ทิศทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา ปรัชญา สง่ เสริมความรู้ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ สูว่ ถิ พี อเพียง วิสัยทัศน์ กศน.อาเภอเนินขามมุ่งจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยา่ งทั่วถึง เพื่อใหผ้ ้รู บั บรกิ ารเปน็ บคุ คลท่ีมคี ณุ ภาพและเปน็ พลเมอื งดีของสงั คม อัตลักษณ์ ใฝเุ รียนรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง เอกลกั ษณ์ กศน.อาเภอเนนิ ขามเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คมที่เป็นสว่ นร่วมในการพัฒนาประชาชนใหม้ ีคุณภาพ พนั ธกจิ ๑ . จดั และสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างมคี ุณภาพให้กบั ผ้รู ับบริการอยา่ งต่อเนอื่ งตลอดชวี ิต ๒. สง่ เสริมการมสี ่วนรว่ มของภาคเี ครอื ข่ายในการดาเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ๓. จัดและสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พันธกจิ เปา้ ประสงค์ ๑. จัดและสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ ผูเ้ รียน/ผ้รู ับบริการได้รบั การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั อย่างมีคุณภาพใหก้ ับ การศึกษาตามอัธยาศัยอยา่ งมีคณุ ภาพอยา่ งต่อเนื่อง ผรู้ ับบริการอยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชีวติ ตลอดชีวติ ๒.สง่ เสริมการมีส่วนรว่ มของภาคีเครอื ข่ายในการ ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ่วนรว่ มและสนับสนุน ในการ ดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ดาเนินงาน จดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ตามอธั ยาศยั ๓.จดั และส่งเสรมิ กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลัก ผูเ้ รียน/ผู้รบั บริการได้รับความรูต้ ามหลักปรัชญาของ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกจิ พอเพียง

๑๒ เปา้ ประสงค์และตัวชวี้ ัดความสาเร็จ เปา้ ประสงค์ ตวั ช้วี ดั ความสาเรจ็ ผเู้ รยี น/ผรู้ ับบรกิ ารได้รับการศึกษานอกระบบ รอ้ ยละของผู้เรยี น/ผรู้ ับบรกิ ารได้รับการศึกษานอก และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอยา่ งมคี ณุ ภาพอยา่ ง ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอยา่ งมคี ณุ ภาพ ตอ่ เน่อื งตลอดชีวติ อยา่ งต่อเน่ืองตลอดชวี ติ ผเู้ รยี น/ผ้รู ับบริการสามารถสร้างสรรคด์ า้ นอาชีพ รอ้ ยละของผู้เรยี น/ผู้รบั บริการสามารถสร้างสรรค์ ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ด้านอาชีพได้อยา่ งย่ังยนื ภาคเี ครอื ขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการดาเนนิ งาน จดั ร้อยละของภาคีเครือข่ายมีสว่ นร่วมในการ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ดาเนนิ งาน จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ผูเ้ รยี น/ผู้รบั บริการได้รับความรู้ตามหลกั ปรัชญา ร้อยละของผู้เรยี น/ผรู้ บั บริการไดร้ บั ความร้ตู ามหลกั ของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง กลยทุ ธ์การดาเนนิ งาน กลยทุ ธท์ ี่ ๑ พฒั นาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหห้ ลากหลาย ครอบคลุมทุกพืน้ ทีอ่ ยา่ งทัว่ ถงึ กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาและสง่ เสริมการจัดการศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทา กลยทุ ธท์ ี่ ๓ พฒั นาศกั ยภาพของบุคลากรและเครอื ข่าย กลยุทธ์ที่ ๔ สง่ เสรมิ การจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

๑๓ ส่วนท่ี 2 นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน

๑๔ นโยบายและจดุ เนน้ การดาเนินงาน สานกั งาน กศน. ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ วิสยั ทศั น์ คนไทยทุกชว่ งวัยได้รับโอกาสทางการศกึ ษาและการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตอยา่ งมีคณุ ภาพ มีทักษะที่จาเปน็ และ สมรรถนะท่สี อดรบั กบั ทศิ ทางการพัฒนาประเทศ สามารถดารงชีวติ ได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลัก ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกจิ ๑. จดั และส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยที่มีคณุ ภาพ สอดคลอ้ ง กบั หลักปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และความเปล่ยี นแปลงทางเศรษฐกจิ และสงั คม เพอ่ื ยกระดับการศึกษา และพฒั นา สมรรถนะ ทักษะการเรียนร้ขู องประชาชนกลุ่มเปูาหมายให้เหมาะสมในแตล่ ะชว่ งวัย ให้พรอ้ มรบั การ เปลีย่ นแปลงและการปรับตวั ในการดารงชีวติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม กา้ วสกู่ ารเป็นสงั คมแหง่ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิต อย่างยั่งยนื ๒. พัฒนาหลักสตู ร รปู แบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ สื่อและนวตั กรรมเทคโนโลยที างการศกึ ษา การวดั และ ประเมินผลในทุกรูปแบบใหม้ ีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรยี นรแู้ ละบริบท ใน ปัจจุบนั ๓. ส่งเสรมิ และพัฒนาเทคโนโลยที างการศึกษา และนาเทคโนโลยีมาพัฒนาเพือ่ เพิ่มชอ่ งทางและโอกาส การ เรยี นรู้ รวมถงึ การเพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจัดและใหบ้ รกิ ารการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชนกลุ่มเปาู หมายอยา่ งท่วั ถงึ ๔. สง่ เสริมสนบั สนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชงิ รุกกบั ภาคเี ครือข่าย ใหเ้ ข้ามามสี ว่ นรว่ ม ในการ สนบั สนนุ และจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการเรียนร้ตู ลอดชีวิตในรูปแบบตา่ ง ๆ ให้กับประชาชน ๕. พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภายในองค์กรให้มเี อกภาพ เพอื่ การบริหารราชการที่ดี บนหลัก ของธรร มาภบิ าล มปี ระสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และคลอ่ งตัวมากย่งิ ขนึ้ ๖.ยกระดับการบรหิ ารและการพัฒนาศักยภาพบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คณุ ธรรม และ จริยธรรมท่ีดี เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพของการใหบ้ รกิ ารทางการศกึ ษาและการเรยี นรูท้ ่ีมคี ุณภาพมากยง่ิ ขน้ึ เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ดอ้ ย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทัว่ ไปได้รับโอกาส ทางการศึกษา ในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน การศึกษาตอ่ เน่อื ง และการศกึ ษา ตามอัธยาศยั ที่ มคี ณุ ภาพอยา่ งเทา่ เทยี มและทวั่ ถงึ เปน็ ไปตามบรบิ ท สภาพปัญหาและความตอ้ งการของแตล่ ะ กลุ่มเปาู หมาย 2. ประชาชนได้รบั การยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม หน้าที่ความเปน็ พลเมืองทด่ี ีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข ที่สอดคล้องกับหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง อนั นาไปสู่การยกระดับคณุ ภาพชีวติ และเสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหช้ ุมชน เพ่ือพฒั นา ไปส่คู วามม่ันคงและยั่งยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดล้อม 3. ประชาชนไดร้ บั การพัฒนาทักษะการเรยี นร้แู ละแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองผา่ นแหลง่ เรยี นรู้ ชอ่ งทางการ เรียนรู้ และกจิ กรรมการเรียนรูร้ ปู แบบต่าง ๆ รวมท้งั มีเจตคติทางสังคม การเมอื ง วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนาไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวัน รวมถึงการแกป้ ัญหาและพัฒนาคุณภาพชวี ติ ได้อย่างสรา้ งสรรค์

๑๕ 4. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. มหี ลักสูตร ส่ือ นวัตกรรม ชอ่ งทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ ในรปู แบบทีห่ ลากหลาย ทนั สมัย และรองรับกบั สภาวะการเรยี นรใู้ นสถานการณ์ตา่ ง ๆ เพือ่ แก้ปัญหา และ พฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชน รวมทัง้ ตอบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบริบท ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม การเมอื ง วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และสง่ิ แวดล้อม 5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาเทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทลั มาพัฒนา เพอ่ื เพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนามาใชใ้ นการยกระดับคณุ ภาพในการจดั การเรยี นรู้และโอกาสการเรียนรู้ ใหก้ บั ประชาชน 6. ชมุ ชนและภาคเี ครือขา่ ยทุกภาคสว่ น มีส่วนร่วมในการจดั สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั รวมท้ังการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรขู้ องชุมชน 7. หนว่ ยงานและสถานศึกษามรี ะบบการบรหิ ารจัดการองค์กรทท่ี นั สมัย มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นไป ตาม หลกั ธรรมาภบิ าล 8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททกุ ระดบั ได้รับการพฒั นาเพอื่ เพ่ิมทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และ การให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รวมถงึ การปฏิบตั งิ านตามสายงานอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ จดุ เน้นการดาเนนิ งานประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 1. นอ้ มนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาส่กู ารปฏิบตั ิ 1.1 สบื สานศาสตรพ์ ระราชา โดยการสร้างและพัฒนาศนู ยส์ าธิตและเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล ” เพอ่ื เปน็ แนวทางในการจัดการบรหิ ารทรัพยากรรปู แบบต่าง ๆ ท้งั ดนิ นา้ ลม แดด รวมถงึ พืชพันธตุ์ ่าง ๆ และ สง่ เสรมิ การใช้พลงั งานทดแทนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.2 จัดใหม้ ี “หน่งึ ชมุ ชน หนึ่งนวตั กรรมการพัฒนาชุมชน” เพอื่ ความกนิ ดี อยูด่ ี มีงานทา 1.3 การสร้างกลมุ่ จติ อาสาพัฒนาชุมชน รวมทงั้ ปลกู ฝงั ผู้เรยี นใหม้ หี ลักคดิ ทีถ่ ูกตอ้ งดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม มีทศั นคตทิ ี่ดตี ่อบา้ นเมือง และเปน็ ผู้มีความพอเพียง ระเบียบวนิ ัย สุจรติ จติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมการพฒั นา ผ้เู รียนโดยการใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด 2. สง่ สรมิ การจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู้ตลอดชวี ิตสาหรับประชาชนทีเ่ หมาะสมกับทกุ ชว่ งวยั 2.1 ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาอาชีพเพือ่ การมงี านทา ในรูปแบบ Re-Skill& Up-Skill และการสรา้ ง นวตั กรรมและผลติ ภัณฑท์ ่มี ีคณุ ภาพ มคี วามหลากหลาย ทนั สมัย และตอบสนองความตอ้ งการของ ประชาชน ผรู้ ับบรกิ าร และสามารถออกใบรับรองความรูค้ วามสามารถเพ่อื นาไปใช้ในการพัฒนาอาชีพได้ 2.2 สง่ เสรมิ และยกระดับทักษะภาษาอังกฤษให้กบั ประชาชน (English for ALL) 2.3 ส่งเสริมการเรยี นการสอนทเี่ หมาะสมสาหรับผูท้ ่ีเข้าสู่สังคมสูงวยั อาทิ การฝกึ อบรมอาชพี ท่ีเหมาะสม รองรับสังคมสูงวยั หลกั สูตรการพัฒนาคุณภาพชวี ติ และสง่ เสริมสมรรถนะผู้สงู วัย และหลักสตู ร การดูแลผสู้ งู วยั โดยเนน้ การมสี ่วนรว่ มกับภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคสว่ นในการเตรียมความพรอ้ มเขา้ สู่สงั คมสงู วัย 3. พัฒนาหลักสูตร สอื่ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรมทางการศึกษา แหล่งเรยี นรู้ และรูปแบบ การจดั การ ศกึ ษาและการเรยี นรู้ ในทุกระดบั ทกุ ประเภท เพอื่ ประโยชน์ตอ่ การจดั การศกึ ษาทีเ่ หมาะสม กับทกุ กลมุ่ เป้าหมาย มีความทันสมยั สอดคล้องและพร้อมรองรับกับบรบิ ทสภาวะสงั คมปจั จบุ ัน ความตอ้ งการ ของผูเ้ รียน และสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณต์ ่าง ๆ ที่จะเกดิ ขึ้นในอนาคต

๑๖ 3.1 พัฒนาระบบการเรยี นรู้ ONIE Digital Leaming Platform ทีร่ องรับ DEEP ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และช่องทางเรียนรรู้ ูปแบบอ่นื ๆ ทัง้ Online On-site และ On-air 3.2 พฒั นาแหล่งเรยี นร้ปู ระเภทต่าง ๆ อาทิ Digital Science Museum/ Digital Science Center/ Digital Library ศูนยก์ ารเรียนรู้ทกุ ชว่ งวยั และศูนย์การเรยี นรู้ตน้ แบบ กศน. ( Co-Learning Space) เพอื่ ให้ สามารถ “เรียนรู้ไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ ทกุ ท่ี ทุกเวลา” 3.3 พฒั นาระบบรับสมคั รนักศกึ ษาและสมัครฝกึ อบรมแบบออนไลน์ มีระบบการเทียบโอนความรู้ ระบบ สะสมหนว่ ยการเรยี นรู้ (Credit Bank System) และพัฒนา/ขยายการใหบ้ ริการระบบทดสอบอิเลก็ ทรอนิกส์ (E-exam) 4. บูรณาการความรว่ มมอื ในการส่งเสริม สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรียนรใู้ หก้ บั ประชาชน อยา่ งมีคุณภาพ 4.1 ร่วมมอื กับภาคเี ครอื ขา่ ยท้งั ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน รวมทง้ั สง่ เสริมและสนับสนนุ การมสี ว่ นร่วมของชมุ ชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชพี ทีเ่ ปน็ อตั ลักษณ์และบริบทของ ชุมชน สง่ เสรมิ การตลาดและขยายช่องทางการจาหนา่ ยเพ่อื ยกระดับผลติ ภณั ฑ์/สินค้า กศน. 4.2 บรู ณาการความรว่ มมือกบั หน่วยงานตา่ ง ๆ ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ทงั้ ในสว่ นกลาง และภมู ิภาค 5. พัฒนาศกั ยภาพและประสทิ ธภิ าพในการทางานของบคุ ลากร กศน. 5.1 พัฒนาศักยภาพและทกั ษะความสามารถดา้ นเทคโนโลยีดิจทิ ลั ( Digital Literacy & Digital Skills) ใหก้ บั บคุ ลากรทุกประเภททกุ ระดับ รองรับความเป็นรัฐบาลดิจิทัลอย่างมีประสิทธภิ าพ รวมท้ังพฒั นาครูใหม้ ี ทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใช้ภาษาองั กฤษ การผลติ ส่อื การเรยี นรแู้ ละการจัดการเรยี นการสอน เพอื่ ฝึกทกั ษะ การคิดวิเคราะหอ์ ย่างเปน็ ระบบและมีเหตผุ ล เปน็ ข้ันตอน 5.2 จัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างความสัมพันธ์ ของบุคลากร กศน.และกิจกรรมเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ในการทางาน รว่ มกนั ในรูปแบบตา่ ง ๆ อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏบิ ัติการพฒั นาประสิทธภิ าพ ในการทางาน 6. ปรบั ปรงุ และพฒั นาโครงสรา้ งและระบบบรหิ ารจัดการองคก์ ร ปัจจยั พ้นื ฐานในการจัดการศึกษา และ การประชาสมั พันธส์ ร้างการรบั รูต้ อ่ สาธารณะชน 6.1 เร่งผลักดนั ร่างพระราชบัญญตั สิ ง่ เสรมิ การเรยี นรู้ พ.ศ. ... ให้สาเร็จ และปรับโครงสร้าง การบริหารและ อัตรากาลังใหส้ อดคล้องกบั บริบทการเปลยี่ นแปลง เร่งการสรรหา บรรจุ แตง่ ตง้ั ทม่ี ีประสิทธภิ าพ 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลมาใช้ในการบรหิ ารจดั การ พฒั นาระบบการทางานและข้อมูล สารสนเทศดา้ นการศกึ ษาท่ีทนั สมยั รวดเรว็ และสามารถใชง้ านทันที โดยจัดต้ังศนู ย์ขอ้ มลู กลาง กศน. เพอ่ื จัดทา ขอ้ มลู กศน. ทัง้ ระบบ (ONE ONIE) 6.3 พฒั นา ปรับปรุง ซอ่ มแซม ฟน้ื ฟอู าคารสถานท่ี และสภาพแวดลอ้ มโดยรอบของหน่วยงาน สถานศึกษา และแหลง่ เรยี นร้ทู กุ แห่ง ให้สะอาด ปลอดภัย พรอ้ มใหบ้ รกิ าร 6.4 ประชาสัมพนั ธ์/สรา้ งการรับรู้ใหก้ ับประชาชนทว่ั ไปเก่ยี วกับการบรกิ ารทางวิชาการ/กิจกรรม ด้าน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย และสร้างชอ่ งทางการแลกเปล่ียนเรียนรูด้ ้านวชิ าการ ของ หน่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กดั อาทิ ข่าวประชาสมั พนั ธ์ ผา่ นสอ่ื รูปแบบต่าง ๆ การจดั นทิ รรศการ/ มหกรรม วิชาการ กศน. การจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ของสานักงาน กศน. จากสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) เมื่อเดอื นธนั วาคม 2562 สง่ ผลกระทบตอ่ ระบบการจดั การเรียนการสอนของไทยในทุกระดบั ชนั้ ซง่ึ รัฐบาลและกระทรวงศกึ ษาธกิ าร

๑๗ ได้ออกประกาศและมีมาตรการเฝาู ระวังเพ่ือปอู งกนั การแพร่กระจายของเชอื้ ไวรัสดงั กล่าว อาทิ กาหนดให้มี การเว้นระยะห่างทางสังคม ( Social Distancing) หา้ มการใช้อาคารสถานท่ขี องโรงเรยี นและ สถาบนั การศกึ ษา ทกุ ประเภท เพื่อจดั การเรียนการสอน การสอบ ฝึกอบรม หรือการทากิจกรรมใด ๆ ทม่ี ี ผู้เข้าร่วมเปน็ จานวนมาก การปิดสถานศกึ ษาด้วยเหตุพเิ ศษ การกาหนดใหใ้ ช้วิธกี ารจัดการเรยี นการสอน รปู แบบใหม่ อาทิ การจดั การเรียนรู้ แบบออนไลน์ การจัดการเรียนรผู้ า่ นระบบการออกอากาศทางโทรทัศน์ วิทยุ และโซเซยี ลมีเดยี ต่าง ๆ รวมถงึ การสื่อสารแบบทางไกลหรือด้วยวธิ ีอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในส่วนของสานกั งาน กศน. ได้มีการพัฒนา ปรบั รูปแบบ กระบวนการ และวธิ กี ารดาเนนิ งานในภารกิจ ต่อเนอื่ งตา่ ง ๆ ในสถานการณ์การใชช้ ีวิตประจาวัน และการจัดการเรยี นรู้เพอ่ื รองรับการชวี ิตแบบปกติวถิ ี ใหม่ (New Normal) ซ่งึ กิจกรรมการเรียนรตู้ า่ ง ๆ ได้ใหค้ วามสาคัญกับการดาเนนิ งานตามมาตรการการ ปอู งกนั การแพรร่ ะบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) อาทิ การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ทุก ประเภท หากมคี วามจาเปน็ ต้องมาพบกลุ่ม หรืออบรมสัมมนา ทางสถานศกึ ษาตอ้ งมมี าตรการปอู งกันที่ เข้มงวด มีเจล แอลกอฮอลล้างมือ ผูร้ ับบริการต้องใสห่ นา้ กากอนามัยหรอื หนา้ กากผา้ ตอ้ งมีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล เน้นการใช้ส่อื ดจิ ทิ ลั และเทคโนโลยอี อนไลนใ์ นการจัดการเรยี นการสอน ภารกิจต่อเนอ่ื ง ๑. ด้านการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้งั แต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานโดยดาเนนิ การ ให้ผูเ้ รยี น ได้รบั การสนบั สนนุ คา่ จดั ซ้ือหนงั สือเรียน ค่าจัดกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น และค่าจดั การเรยี น การสอน อย่างทั่วถึงและเพียงพอเพอื่ เพิ่มโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาทีม่ คี ณุ ภาพโดยไม่เสยี ค่าใช้จ่าย 2) จดั การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐานให้กับกล่มุ เปาู หมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทาง การศกึ ษา ผา่ นการเรยี นแบบเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง การพบกลุม่ การเรยี นแบบชน้ั เรยี น และการจัด การศกึ ษา ทางไกล 3) พัฒนาประสิทธภิ าพ คุณภาพ และมาตรฐานการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษา ขนั้ พื้นฐาน ทัง้ ดา้ นหลกั สตู รรปู แบบ/กระบวนการเรียนการสอน สอ่ื และนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมนิ ผล การเรียน และระบบการใหบ้ ริการนกั ศกึ ษาในรูปแบบอ่ืน ๆ 4) จดั ให้มกี ารประเมนิ เพือ่ เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ ท่มี คี วาม โปรง่ ใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กาหนด และสามารถตอบสนองความตอ้ งการ ของ กลุ่มเปูาหมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5) จดั ใหม้ กี จิ กรรมพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นทม่ี คี ณุ ภาพท่ีผ้เู รียนตอ้ งเรยี นรู้และเข้ารว่ มปฏบิ ตั ิ กจิ กรรม เพือ่ เปน็ ส่วนหนึง่ ของการจบหลกั สตู ร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กจิ กรรมเกย่ี วกับการปอู งกัน และแก้ไข ปัญหายาเสพติดการแขง่ ขนั กฬี า การบาเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครอง ใน ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข กิจกรรมลกู เสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กจิ กรรม จติ อาสา และการจดั ต้ังชมรม/ชมุ นุม พรอ้ มท้งั เปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นนากิจกรรมการบาเพ็ญประโยชน์ อืน่ ๆ นอกหลกั สูตรมาใช้เพ่ิมช่วั โมงกิจกรรมให้ผูเ้ รยี นจบตามหลักสูตรได้

๑๘ 1.2 การส่งเสริมการรู้หนงั สอื 1) พัฒนาระบบฐานข้อมลู ผ้ไู ม่รู้หนังสือ ใหม้ คี วามครบถว้ น ถกู ตอ้ ง ทันสมัยและเป็นระบบเดียวกัน ท้งั สว่ นกลางและส่วนภูมิภาค 2) พัฒนาและปรับปรงุ หลกั สตู ร ส่ือ แบบเรยี นเคร่ืองมือวัดผลและเคร่อื งมือการดาเนินงานการ ส่งเสรมิ การรู้ หนงั สือทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพและบรบิ ทของแตล่ ะกลุ่มเปาู หมาย 3) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือข่ายท่รี ว่ มจดั การศกึ ษา ให้มคี วามรคู้ วามสามารถ และทักษะการ จดั กระบวนการเรียนรู้ใหก้ บั ผู้ไม่รูห้ นังสอื อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และอาจจัดใหม้ อี าสาสมคั รส่งเสรมิ การรูห้ นังสือ ใน พนื้ ทที่ ่มี ีความตอ้ งการจาเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศึกษาจดั กจิ กรรมส่งเสริมการรู้หนังสอื การคงสภาพการรู้หนังสอื การพัฒนา ทกั ษะการรู้หนังสือใหก้ ับประชาชนเพื่อเปน็ เคร่อื งมอื ในการศกึ ษาและเรียนรอู้ ย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิต ของ ประชาชน 1.3 การศกึ ษาตอ่ เนอ่ื ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทาอย่างยงั่ ยืน โดยใหค้ วามสาคญั กบั การจดั การศึกษาอาชีพ เพ่อื การมี งานทาในกล่มุ อาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทางหรือการบรกิ าร รวมถงึ การเนน้ อาชีพชา่ งพนื้ ฐาน ที่สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผเู้ รียน ความตอ้ งการและศกั ยภาพของแตล่ ะ พน้ื ท่ี มีคณุ ภาพไดม้ าตรฐานเปน็ ท่ยี อมรบั สอดรบั กบั ความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนา ประเทศ ตลอดจน สร้างความเขม้ แขง็ ให้กับศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน โดยจดั ให้มกี ารสง่ เสรมิ การรวมกลุ่ม วสิ าหกิจชุมชน การพฒั นา หน่งึ ตาบลหนึ่งอาชพี เดน่ การประกวดสนิ ค้าดพี รีเมี่ยม การสร้างแบรนด์ของ กศน. รวมถงึ การส่งเสรมิ และจัดหาช่องทางการจาหน่ายสินค้าและผลติ ภณั ฑ์ และให้มีการกากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือการมีงานทาอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่ือง 2) จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาทกั ษะชวี ติ ให้กับทกุ กลุ่มเปาู หมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุ ที่สอดคล้องกับ ความต้องการจาเปน็ ของแต่ละบคุ คล และมุง่ เนน้ ให้ทุกกลุม่ เปูาหมายมีทกั ษะการดารงชีวิตตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองไดม้ คี วามรคู้ วามสามารถในการบริหารจัดการชีวติ ของตนเองใหอ้ ยูใ่ น สงั คม ไดอ้ ย่างมคี วามสุขสามารถเผชญิ สถานการณต์ า่ ง ๆ ทเี่ กดิ ขนึ้ ในชีวติ ประจาวนั ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และเตรยี มพรอ้ มสาหรับการปรับตัวใหท้ นั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของข่าวสารขอ้ มลู และเทคโนโลยีสมยั ใหมใ่ น อนาคต โดยจดั กจิ กรรมทีม่ เี น้อื หาสาคญั ตา่ ง ๆ เชน่ การอบรมจิตอาสา การให้ความรูเ้ พื่อการปูองการการ แพร่ระบาด ของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COMID - 19) การอบรมพฒั นาสขุ ภาพกายและสุขภาพจิต การ อบรมคุณธรรม และจริยธรรม การปอู งกันภยั ยาเสพตดิ เพศศึกษา การปลกู ฝังและการสรา้ งคา่ นยิ มทพ่ี ึง ประสงค์ ความปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สนิ ผา่ นการอบรมเรยี นรูใ้ นรูปแบบต่าง ๆ อาทิ คา่ ยพัฒนาทกั ษะ ชีวติ การจัดตั้งชมรม/ชุมนมุ การอบรมส่งเสริมความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ เปน็ ต้น 3) จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน โดยใช้หลกั สตู รและการจดั กระบวนการเรยี นรู้ แบบบรู ณาการ ในรูปแบบของการฝึกอบรมการประชมุ สมั มนา การจดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรูก้ ารจัดกจิ กรรม จิตอาสา การ สร้างชมุ ชนนกั ปฏิบตั ิ และรปู แบบอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกบั กลุม่ เปูาหมาย และบรบิ ทของชมุ ชน แต่ละพ้ืนที่ เคารพความคดิ ของผอู้ นื่ ยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ รวมทงั้ สังคม พหุ วัฒนธรรม โดยจัดกระบวนการให้บคุ คลรวมกลุ่มเพ่ือแลกเปล่ียนเรยี นรรู้ ่วมกนั สร้างกระบวนการจติ สาธารณะ การสร้างจิตสานึกความเปน็ ประชาธปิ ไตย การเคารพในสทิ ธิและเสรภี าพ และรับผิดชอบต่อ หน้าทคี่ วามเป็นพลเมอื ง ทด่ี ีภายใต้การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์เปน็ ประมุข การ ส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม การเปน็ จติ อาสา การบาเพญ็ ประโยชนใ์ นชมุ ชนการ บรหิ ารจัดการํน้า การรับมือ

๑๙ กับสาธารณภัย การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม การชว่ ยเหลือซึ่งกันและกันในการ พัฒนาสังคมและชุมชนอย่างย่ังยืน 4) การจดั กิจกรรมการเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งผ่านกระบวนการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ใน รปู แบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน เพื่อเสริมสรา้ งภมู คิ ้มุ กนั สามารถยืนหยัดอย่ไู ดอ้ ย่างมัน่ คง และมกี ารบริหาร จดั การ ความเสี่ยงอยา่ งเหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสคู่ วามสมดลุ และยั่งยืน 1.4 การศึกษาตามอัธยาศัย 1) พฒั นาแหลง่ การเรยี นรูท้ ่มี บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การ เรียนรู้ให้เกดิ ขึน้ ในสังคมไทย ใหเ้ กิดขึ้นอยา่ งกวา้ งขวางและทั่วถึง เชน่ การพฒั นา กศน. ตาบล หอ้ งสมดุ ประชาชนทกุ แหง่ ใหม้ ีการบริการทีท่ ันสมัย สง่ เสริมและสนบั สนนุ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น การสร้าง เครอื ข่าย ส่งเสรมิ การอ่าน จดั หนว่ ยบริการห้องสมดุ เคลื่อนที่ หอ้ งสมุดชาวตลาด พรอ้ มหนงั สอื และอปุ กรณ์ เพ่ือจดั กิจกรรม ส่งเสรมิ การอ่านและการเรียนรูท้ ่ีหลากหลายใหบ้ รกิ ารกับประชาชนในพน้ื ที่ตา่ ง ๆ อยา่ ง ทว่ั ถงึ สม่าเสมอ รวมทั้ง เสรมิ สรา้ งความพร้อมในดา้ นบคุ ลากร สือ่ อปุ กรณเ์ พ่อื สนบั สนุนการอา่ น และการ จดั กิจกรรมเพ่ือส่งเสริมการอ่าน อยา่ งหลากหลายรปู แบบ 2) จัดสรา้ งและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศกึ ษา ให้เปน็ แหลง่ เรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ตลอดชวี ิต ของ ประชาชน เปน็ แหล่งสร้างนวัตกรรมฐานวทิ ยาศาสตร์และเปน็ แหล่งทอ่ งเทยี่ วเชงิ ศิลปะวิทยาการประจา ทอ้ งถนิ่ โดยจัดทาและพัฒนานิทรรศการสอื่ และกิจกรรมการศกึ ษาทเี่ น้นการเสริมสรา้ งความรู้และสร้างแรง บันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตรส์ อดแทรกวิธีการคิดเชงิ วิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลกู ฝังเจตคตทิ าง วิทยาศาสตร์ ผา่ นการกระบวนการเรียนร้ทู บี่ ูรณาการความรู้ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ควบคกู่ บั เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตร์ รวมทัง้ สอดคล้องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บริบทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดับภูมิภาค และระดบั โลกเพื่อให้ประชาชนมีความร้แู ละสามารถนาความรแู้ ละทกั ษะ ไปประยุกตใ์ ช้ในการดาเนินชวี ิต การพฒั นา อาชีพ การรักษาส่งิ แวดลอ้ ม การบรรเทาและปอู งกนั ภยั พิบตั ิ ทางธรรมชาติ รวมท้งั มีความสามารถในการปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเป็นไป อย่างรวดเรว็ และรนุ แรง (Disruptive Changes) ได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ 3) ประสานความรว่ มมอื หนว่ ยงาน องค์กร หรือภาคสว่ นต่าง ๆ ทม่ี ีแหลง่ เรียนรอู้ นื่ ๆ เพือ่ ส่งเสรมิ การ จัดการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหม้ ีรปู แบบทหี่ ลากหลาย และตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน เชน่ พิพิธภัณฑ์ ศูนยเ์ รียนรู้ แหล่งโบราณคดี วัด ศาสนาสถาน หอ้ งสมุด รวมถึงภมู ิปัญญาท้องถิน่ เปน็ ต้น 2. ดา้ นหลกั สตู ร สือรปู แบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผลงานบริการ ทางวิชาการ และการประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 สง่ เสรมิ การพฒั นาหลักสตู ร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมเพ่อื ส่งเสริม การศกึ ษานอก ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยที่หลากหลาย ทนั สมยั รวมถงึ การพฒั นาหลักสตู รฐานสมรรถนะ และ หลกั สูตรทอ้ งถนิ่ ที่สอดคลอ้ งกบั สภาพบรบิ ทของพน้ื ทีแ่ ละความต้องการของกลมุ่ เปาู หมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสือ่ แบบเรยี น สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์และสื่ออ่นื ๆ ที่เออ้ื ตอ่ การเรยี นรูข้ องผ้เู รียน กลมุ่ เปาู หมายท่วั ไปและกลมุ่ เปาู หมายพิเศษ เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถเรียนรูไ้ ดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา 2.3 พฒั นารปู แบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมยั หลากหลายช่องทางการเรยี นรู้ ด้วยระบบ หอ้ งเรียนและการควบคมุ การสอบรปู แบบออนไลน์ 2.4 พัฒนาระบบการประเมนิ เพือ่ เทยี บระดบั การศกึ ษา และการเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณ์ เพ่ือให้ มีคุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกลมุ่ เปาู หมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมทัง้ มกี ารประชาสัมพันธ์ใหส้ าธารณชนไดร้ ับรู้และสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมินได้

๒๐ 2.5 พัฒนาระบบการวดั และประเมินผลการศึกษานอกระบบทกุ หลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สตู ร ในระดบั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานใหไ้ ด้มาตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 2.6 สง่ เสริมและสนับสนุนการศกึ ษาวิจัยเพอื่ พัฒนาหลกั สูตร รปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การ วัดและ ประเมนิ ผล และเผยแพรร่ ปู แบบการจัด สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั รวมทงั้ ให้มกี ารนาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิอยา่ งกว้างขวางและมีการพัฒนาใหเ้ หมาะสมกบั บริบทอยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง 2.7 พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐาน มกี ารพฒั นาระบบการประกัน คุณภาพ ภายในที่สอดคลอ้ งกับบรบิ ทและภารกิจของ กศน. มากขนึ้ เพ่อื พร้อมรบั การประเมนิ คุณภาพภายนอก โดย พฒั นาบุคลากรให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบการประกันคณุ ภาพ และสามารถ ดาเนนิ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาได้อยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยใช้การประเมินภายในดว้ ยตนเอง และ จัดใหม้ ี ระบบสถานศกึ ษาพ่เี ลี้ยงเขา้ ไปสนบั สนนุ อยา่ งใกลช้ ิด สาหรับสถานศึกษาท่ียงั ไมไ่ ดเ้ ขา้ รับการ ประเมินคุณภาพ ภายนอก ใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ าหนด 3. ดา้ นเทคโนโลยเี พื่อการศึกษา 3.1 ผลติ และพัฒนารายการวทิ ยุและรายการโทรทศั น์เพือ่ การศึกษาเพ่อื ให้เช่ือมโยงและตอบสนอง ต่อการ จดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยของสถานศึกษาเพื่อกระจายโอกาสทาง การศกึ ษา สาหรบั กลมุ่ เปูาหมายตา่ ง ๆ ใหม้ ที างเลอื กในการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถ พัฒนาตนเองใหร้ เู้ ท่าทนั สอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การสื่อสาร เชน่ รายการพัฒนาอาชพี เพ่ือการมี งานทา รายการตวิ เขม้ เตมิ เตม็ ความรู้ รายการ รายการทากินกไ็ ด้ ทาขายกด็ ี ฯลฯ เผยแพรท่ างสถานวี ิทยุ ศึกษา สถานวี ิทยุโทรทศั นเ์ พ่อื การศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (ETV) และทางอนิ เทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรก่ ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยโดยผา่ นระบบ เทคโนโลยี ดจิ ทิ ัล และช่องทางออนไลน์ตา่ ง ๆ เช่น Youtube Facebook หรอื Application อนื่ ๆ เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ครู กศน. นาเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ นการสรา้ งกระบวนการเรียนร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พฒั นาสถานวี ทิ ยุศกึ ษาและสถานโี ทรทศั น์เพอื่ การศกึ ษาเพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการผลติ และการ ออกอากาศใหก้ ลมุ่ เปูาหมายสามารถใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางการเรียนรูท้ ่มี ีคณุ ภาพไดอ้ ย่างต่อเนือ่ งตลอดชวี ติ โดย ขยายเครอื ข่ายการรับฟงั ใหส้ ามารถรบั ฟงั ไดท้ ุกที่ ทกุ เวลา ครอบคลุมพ้ืนท่ที ัว่ ประเทศและเพ่ิมช่องทาง ให้ สามารถรบั ชมรายการโทรทศั น์ไดท้ ั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเ์ นต็ พร้อมท่ี จะ รองรับการพฒั นาเปน็ สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั น์เพือ่ การศึกษาสาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บรกิ ารส่อื เทคโนโลยีเพือ่ การศกึ ษาเพือ่ ใหไ้ ด้หลายช่องทางท้งั ทาง อินเทอรเ์ น็ต และ รูปแบบอน่ื ๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet รวมทง้ั สื่อ Offline ในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เพอื่ ใหก้ ลุ่มเปูาหมายสามารถเลอื กใชบ้ ริการเพ่ือเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู้ ด้ตามความ ตอ้ งการ 3.5 สารวจ วิจัย ตดิ ตามประเมินผลด้านการใชส้ ือ่ เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอย่างต่อเนื่องเพอ่ื นาผล มาใช้ใน การพฒั นางานใหม้ ีความถกู ตอ้ ง ทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ของ ประชาชนได้อยา่ งแท้จริง 4. ด้านโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ หรือโครงการอันเกีย่ วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 4.1 สง่ เสริมและสนับสนนุ การดาเนนิ งานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารหิ รอื โครงการ อนั เก่ียวเนือ่ ง จากราชวงศ์

๒๑ 4.2 จัดทาฐานขอ้ มูลโครงการและกจิ กรรมของ กศน.ทส่ี นองงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริหรือ โครงการอันเก่ียวเน่ืองจากราชวงศ์เพื่อนาไปใช้ในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการ พัฒนางานได้ อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสรา้ งเครอื ขา่ ยการดาเนินงานเพอ่ื สนับสนนุ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ เพอ่ื ใหเ้ กิด ความเข้มแขง็ ในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 4.4 พฒั นาศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แมฟ่ าู หลวง”เพอ่ื ใหม้ คี วามพรอ้ มในการจดั การศกึ ษา นอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหน้าทที่ ่กี าหนดไวอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชวี ติ ใหส้ อดคล้องกบั วิถีชวี ติ ของประชาชนบนพื้นทส่ี งู ถน่ิ ทุรกนั ดาร และพื้นที่ชายขอบ 5. ดา้ นการศกึ ษาในจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พนื้ ทเ่ี ขตเศรษฐกจิ พิเศษและพื้นท่ีบริเวณ ชายแดน 5.1 พัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพฒั นาหลักสตู ร และกจิ กรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ที่ตอบสนองปญั หา และความ ตอ้ งการของกล่มุ เปูาหมายรวมทงั้ อัตลกั ษณแ์ ละความเปน็ พหุวัฒนธรรมของพ้ืนที่ 2) พฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐานอยา่ งเขม้ ขน้ และตอ่ เนื่องเพือ่ ให้ ผ้เู รยี น สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้รบั ไปใช้ประโยชน์ได้จริง 3) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาจัดใหม้ มี าตรการดแู ลรกั ษาความปลอดภัยแก่บคุ ลากรและ นักศกึ ษา กศน. ตลอดจนผ้มู าใช้บรกิ ารอยา่ งท่วั ถงึ 5.2 พฒั นาการจดั การศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกิจพเิ ศษ 1) ประสานความรว่ มมอื กับหนว่ ยงานท่เี ก่ียวข้องในการจัดทาแผนการศึกษาตามยทุ ธศาสตร์ และบรบิ ทของ แต่ละจงั หวดั ในเขตพัฒนาเศรษฐกจิ พิเศษ 2) จดั ทาหลักสูตรการศกึ ษาตามบรบิ ทของพ้ืนที่ โดยเน้นสาขาทเี่ ป็นความตอ้ งการของตลาด ใหเ้ กดิ การ พัฒนาอาชพี ไดต้ รงตามความตอ้ งการของพ้นื ท่ี 5.3 จดั การศึกษาเพื่อความมัน่ คงของศูนย์ฝึกและพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดน(ศฝช.) 1) พฒั นาศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน เพอื่ ให้เป็นศนู ยฝ์ กึ และสาธิต การประกอบ อาชีพดา้ นเกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจดั กจิ กรรมตามแนวพระราชดารปิ รชั ญา เศรษฐกิจ พอเพียง สาหรับประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ ีการเรยี นรู้ท่หี ลากหลาย 2) มงุ่ จดั และพัฒนาการศกึ ษาอาชีพโดยใช้วธิ กี ารหลากหลายใช้รปู แบบเชงิ รกุ เพอ่ื การเข้าถงึ กลุ่มเปูาหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความรว่ มมอื กบั เครือข่าย การจัดอบรมแกนนาดา้ นอาชีพ ท่ีเน้น เร่อื งเกษตรธรรมชาตทิ สี่ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทของชุมชนชายแดน ให้แก่ประชาชนตามแนวชายแดน 6. ด้านบุคลากรระบบการบริหารจดั การ และการมีสว่ นร่วมของทกุ ภาคสว่ น 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พฒั นาบคุ ลากรทุกระดบั ทกุ ประเภทให้มสี มรรถนะสูงข้ึนอย่างต่อเนื่อง ท้งั กอ่ นและระหวา่ ง การดารง ตาแหนง่ เพือ่ ให้มเี จตคตทิ ี่ดใี นการปฏิบตั ิงานให้มคี วามร้แู ละทกั ษะตามมาตรฐานตาแหน่ง ใหต้ รงกับสายงาน ความชานาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากรสามารถปฏิบตั ิงานและบรหิ ารจดั การการดาเนินงานของ หน่วยงานและ สถานศึกษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพรวมทั้งสง่ เสรมิ ให้ข้าราชการในสังกดั พัฒนาตนเองเพ่ือ เล่ือนตาแหนง่ หรอื เลื่อนวทิ ยฐานะโดยเน้นการประเมนิ วทิ ยฐานะเชิงประจกั ษ์ 2) พัฒนาศกึ ษานเิ ทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะทจ่ี าเปน็ ครบถว้ น มคี วามเปน็ มืออาชพี สามารถ ปฏิบตั กิ าร นิเทศไดอ้ ย่างมศี กั ยภาพ เพ่ือรว่ มยกระดับคณุ ภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ในสถานศกึ ษา

๒๒ 3) พฒั นาหัวหนา้ กศน.ตาบล/แขวงให้มีสมรรถนะสงู ขนึ้ เพ่ือการบรหิ ารจดั การ กศน.ตาบล/แขวง และการ ปฏบิ ตั ิงานตามบทบาทภารกิจอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ โดยเน้นการเป็นนกั จัดการความรูแ้ ละผ้อู านวย ความ สะดวกในการเรยี นรูเ้ พือ่ ให้ผเู้ รยี นเกิดการเรียนร้ทู ่ีมีประสิทธิภาพอย่างแทจ้ ริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรทเ่ี กีย่ วขอ้ งกบั การจดั การศกึ ษาใหส้ ามารถจดั รปู แบบการเรียนรู้ ไดอ้ ย่างมี คณุ ภาพโดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจดั ทาแผนการสอน การจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และการวิจัยเบื้องตน้ 5) พัฒนาศกั ยภาพบคุ ลากร ท่ีรับผดิ ชอบการบรกิ ารการศึกษาและการเรยี นรู้ ให้มีความรู้ ความสามารถและ มคี วามเปน็ มอื อาชพี ในการจดั บริการสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ ของประชาชน 6) สง่ เสรมิ ให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศกึ ษา มีส่วนรว่ มในการ บริหารการ ดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน.อย่างมปี ระสิทธิภาพ 7) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหส้ ามารถทาหนา้ ทีส่ นบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตาม อธั ยาศัยได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8) พฒั นาสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรรวมทัง้ ภาคีเครอื ขา่ ยทัง้ ใน และ ต่างประเทศในทกุ ระดบั โดยจัดให้มกี ิจกรรมเพื่อเสรมิ สร้างสมั พนั ธภาพและเพ่ิมประสิทธภิ าพในการทางาน ร่วมกนั ในรูปแบบที่หลากหลายอยา่ งต่อเนือ่ งอาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนา ประสิทธภิ าพ ในการทางาน 6.2 การพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานและอตั รากาลัง 1) จัดทาแผนการพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและดาเนนิ การปรับปรุงสถานที่และวัสดอุ ปุ กรณ์ ใหม้ ี ความพรอ้ ม ในการจดั การศึกษาและการเรียนรู้ 2) สรรหา บรรจุ แต่งตั้ง และบรหิ ารอัตรากาลังทมี่ อี ยทู่ ้ังในส่วนท่เี ปน็ ข้าราชการ พนกั งานราชการ และ ลูกจา้ ง ใหเ้ ป็นไปตามโครงสร้างการบรหิ ารและกรอบอัตรากาลัง รวมทง้ั รองรบั กับบทบาทภารกิจตามท่ี กาหนดไว้ ให้เกิดประสิทธภิ าพสงู สดุ ในการปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคีเครอื ขา่ ยทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่ือนามาใช้ ในการปรบั ปรุง โครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความพร้อมสาหรับดาเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั และการสง่ เสรมิ การเรยี นรสู้ าหรับประชาชน 6.3 การพฒั นาระบบบริหารจดั การ 1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลใหม้ ีความครบถว้ น ถูกตอ้ ง ทันสมัย และเชอ่ื มโยงกันทว่ั ประเทศ อยา่ งเป็นระบบ เพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสงั กดั สามารถนาไปใช้เป็นเครอื่ งมือสาคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏบิ ัตงิ าน การตดิ ตามประเมินผล รวมทง้ั จดั บรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2) เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การงบประมาณ โดยพัฒนาระบบการกากับ ควบคุม และเรง่ รดั การ เบิกจา่ ยงบประมาณให้เป็นตามเปูาหมายทีก่ าหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลรวมของนกั ศกึ ษา กศน. ให้มีความครบถว้ น ถูกต้อง ทันสมยั และ เชือ่ มโยงกันทั่ว ประเทศ สามารถสบื คน้ และสอบทานได้ทันความตอ้ งการเพอ่ื ประโยชนใ์ นการจัดการศกึ ษาให้กับ ผู้เรยี นและ การบรหิ ารจัดการอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) ส่งเสริมให้มกี ารจัดการความรใู้ นหน่วยงานและสถานศกึ ษาทุกระดับ รวมทง้ั การศกึ ษาวจิ ัย เพอ่ื สามารถ นามาใช้ในการพัฒนาประสทิ ธภิ าพการดาเนนิ งานทสี่ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของประชาชน และชมุ ชน พร้อมทงั้ พัฒนาขีดความสามารถเชิงการแข่งขันของหนว่ ยงานและสถานศึกษา

๒๓ 5) สรา้ งความร่วมมือของภาคีเครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น ท้งั ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คมทง้ั ในประเทศ และ ต่างประเทศ รวมทั้งส่งเสรมิ และสนับสนนุ การมีสว่ นร่วมของชุมชนเพื่อสรา้ งความเขา้ ใจ และใหเ้ กดิ ความ รว่ มมือ ในการสง่ เสรมิ สนับสนนุ และจดั การศึกษาและการเรียนรู้ให้กับประชาชนอย่างมคี ณุ ภาพ 6) สง่ เสรมิ การใชร้ ะบบสานกั งานอิเล็กทรอนิกส์ ( e-office) ในการบริหารจัดการ เชน่ ระบบการ ลา ระบบ สารบรรณอิเล็กทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใชห้ ้องประชุม เปน็ ต้น 7) พฒั นาและปรับระบบวธิ ีการปฏบิ ัตริ าชการให้ทนั สมยั มคี วามโปรง่ ใส ปลอดการทุจรติ และประพฤตมิ ิ ชอบ บรหิ ารจัดการบนขอ้ มูลและหลักฐานเชิงประจกั ษ์ มงุ่ ผลสัมฤทธมิ์ คี วามโปร่งใส 6.4 การกากบั นิเทศตดิ ตามประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลการดาเนินงานการศกึ ษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอัธยาศัยให้เช่อื มโยงกบั หน่วยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขา่ ยทงั้ ระบบ 2) ใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาทเ่ี กี่ยวขอ้ งทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกากบั ติดตามและ รายงานผล การนานโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิ ให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเรื่องไดอ้ ย่างมี ประสทิ ธิภาพ 3) ส่งเสรมิ การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร และส่ืออ่ืน ๆ ท่เี หมาะสม เพอื่ การกากบั นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลอย่างมีประสทิ ธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมนิ ผลการปฏบิ ัติราชการตามคารับรองการปฏิบัตริ าชการประจาปี ของ หน่วยงาน สถานศกึ ษา เพอื่ การรายงานผลตามตวั ช้วี ัดในคารับรองการปฏบิ ตั ิราชการประจาปี ของ สานกั งาน กศน.ใหด้ าเนินไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ เปน็ ไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาท่ีกาหนด 5) ใหม้ กี ารเชอ่ื มโยงระบบการนเิ ทศในทกุ ระดับ ทงั้ หน่วยงานภายในและภายนอกองคก์ ร ตงั้ แต่ สว่ นกลาง ภมู ิภาค กล่มุ จังหวัด จงั หวดั อาเภอ/เขต และตาบล/แขวง เพอื่ ความเป็นเอกภาพในการใชข้ ้อมูล และการ พฒั นางานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั

๒๔ ส่วนท่ี 3 สรุปผลการดาเนินงานประจาปี งบประมาณ 2564

๒๔ สรุปผลการดาเนินงานประจาปงี บประมาณ ๒๕64 สรปุ ผลการดาเนินงาน โครงการพัฒนาหอ้ งสมุดประชาชนเปน็ ศูนย์กลางแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ประจาปีงบประมาณ 2564 --------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. ชอื่ โครงการ : โครงการพฒั นาห้องสมดุ ประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ การเรียนรู้ตลอด ชีวติ ประจาปงี บประมาณ 2564 2) ความสอดคลอ้ งกับนโยบายเร่งด่วนเพ่ือร่วมขบั เคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาประเทศ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.3 สง่ เสรมิ การจัดการเรยี นร้ทู ่ที นั สมยั และมีประสิทธิภาพ เอือ้ ต่อการเรียนรู้สาหรบั ทุก คน สามารถเรียนไดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา มกี ิจกรรมที่หลากลาย นา่ สนใจ สนองตอบความต้องการของชมุ ชน เพือ่ พัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชน รวมทงั้ ใชป้ ระโยชนจ์ ากประชาชนในชมุ ชนในการรว่ มจัด กจิ กรรมการเรียนรเู้ พื่อเชอ่ื มโยงความสมั พนั ธ์ของคนในชมุ ชนไปสกู้ ารจดั การความรขู้ องชมุ ชนอยา่ งย่งั ยนื 3. หลกั การและเหตุผล “การทจี่ ะให้หอ้ งสมดุ ประชาชนเป็นห้องสมุดท่ีมีชีวติ ส่ิงสาคญั ท่สี ดุ น่าจะอยทู่ ่ีความ มุ่งม่ันของผบู้ รกิ าร และปฏิบตั งิ านทีต่ ้องการพฒั นาห้องสมดุ ประชาชนจากสภาพทแ่ี ห้งแลง้ จากสภาพทรดุ โทรม จากสภาพ ทีจ่ ดั กิจกรรมแบบเดิมๆ ใหม้ าเปน็ หอ้ งสมดุ มชี ีวิตชีวาเป็นห้องสมดุ ท่ผี ใู้ ชต้ ้องการมาใช้บรกิ าร จาเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่ตี อ้ งเกดิ จากแรงบันดาลใจ เกิดจากความรัก และความสนุกทจ่ี ะทาให้เกดิ ขน้ึ โดยจะตอ้ งคิด และลงมือ ทาใหเ้ กดิ ขนึ้ ในทนั ทีในรูปแบบของตนเอง พยายามแสวงหาแนวทางและความร่วมมือจากเครือขา่ ย และชมุ ชน โดยมีการจัดกิจกรรม ท่ีหลากหลายตอ่ เนอ่ื งไมห่ ยุดน่งิ มีความเคลอ่ื นไหวเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา เพื่อนาไปสู่เปูาหมายสาคัญ คือ ให้ผใู้ ชบ้ รกิ ารได้แสวงหาความร้ขู ้อมูล ข่าวสาร ตลอดจนศกึ ษาและเรยี นรู้ใน สงิ่ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ด้วยความสะดวกรวดเร็ว มีความสุข และมคี วามประทบั ใจตลอดไป ” ด้วยหอ้ งสมุด ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม ไดร้ บั งบจัดสรรในการปรบั ปรงุ ซอ่ มแซมหอ้ งสมดุ ประชาชน เพอ่ื พัฒนาอาคาร สถานที่ ของหอ้ งสมุดดว้ ยการทาสอี าคาร ปกู ระเบอ้ื ง เปลย่ี นฝาู ใหม่ เพ่อื จงู ใจให้นักศึกษาและประชาชนเข้า มาใช้บริการ ดังนั้น เพอ่ื ใหห้ อ้ งสมดุ เปน็ แหล่งเรยี นรทู้ ่สี มบรู ณ์ จงึ ไดจ้ ดั ทาโครงการนขี้ ้นึ เพ่ือพัฒนาและ ยกระดับคณุ ภาพหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนินขามให้เปน็ หอ้ งสมุดทม่ี ีมาตรฐาน สง่ ผลให้เด็กไทยรักการอา่ น และการเรียนรอู้ ยา่ งตอ่ เน่อื งและยั่งยืน และยังเป็นห้องสมุดที่เอ้อื ประโยชนต์ อ่ นักเรียน ครใู นโรงเรียน และ โรงเรยี นใกล้เคียง รวมถงึ คนในชุมชนอีกด้วย 4. วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื พฒั นาห้องสมดุ ประชาชนใหเ้ ปน็ ศูนย์กลางการจดั กจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นท่ี หลากหลายและตอ่ เน่ือง โดยการจดั สถานท่ใี ห้เอ้อื ต่อการจัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านในหอ้ งสมุดทุกรปู แบบ 2. เพือ่ พัฒนาห้องสมุดให้เปน็ หอ้ งสมุดท่ีเออ้ื ตอ่ การเรยี นรอู้ ย่างกวา้ งขวางต่อเน่อื งตลอด ชีวติ โดยจดั รปู แบบการใหบ้ รกิ ารให้เปน็ หอ้ งสมุดโฉมใหมท่ ่มี ชี วี ติ ชวี า มผี ู้คนในชมุ ชนเขา้ มาใชบ้ ริการอยา่ ง ตอ่ เน่ือง 3. เพ่อื ปรบั ปรงุ บรรยากาศทงั้ ภายในและภายนอกใหส้ ะอาด รม่ รื่น สะดวก นา่ ดู นา่ ทางาน 5. เป้าหมาย 5.1) เชิงปริมาณ เด็ก นักเรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนทัว่ ไป จานวน 500 คน

๒๕ 5.2) เชิงคณุ ภาพ 5.2.1) กล่มุ เปาู หมายมจี ดั กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านท่ีหลากหลายและต่อเนอ่ื ง โดย การจดั สถานทใ่ี หเ้ ออ้ื ต่อการจดั กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นในห้องสมดุ ทกุ รูปแบบ 5.2.2) กลมุ่ เปาู หมาย สามารถนาการเรียนรอู้ ยา่ งกวา้ งขวางตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ โดย จัดรูปแบบการให้บรกิ ารให้เปน็ ห้องสมุดโฉมใหม่ทม่ี ีชวี ติ ชวี า มีผู้คนในชุมชนเขา้ มาใช้บริการอย่างต่อเน่ือง 5.2.3) กลุ่มเปาู หมายไดม้ บี รรยากาศท้งั ภายในและภายนอกใหส้ ะอาด รม่ รนื่ สะดวก นา่ ดู นา่ ทางาน 6. ผลการดาเนินงาน ๑ ผลการดาเนนิ งานใชจ้ า่ ยงบประมาณ เงินงบประมาณประจาปี ๒๕ 64 จาก แผนงานพื้นฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ผลผลติ ที่ 5 ผู้รับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดาเนนิ งาน ๒ ผลของการดาเนินงานภายในหอ้ งสมุด/โครงการเชงิ ปรมิ าณและคณุ ภาพ เชิงปรมิ าณ บทบาทหน้าท่ขี องหอ้ งสมุดประชาชน ห้องสมุดประชาชนมบี ทบาทหน้าท่เี ปน็ องค์กรหลกั ในชมุ ชน เพอื่ เป็นการสง่ เสรมิ การเรียนรู้ ตลอดชวี ิตของประชาชน กล่าวคอื 1. เปน็ แหลง่ ความรตู้ ลอดชวี ติ ของประชาชน โดยแบ่งเปน็ แหลง่ วิทยาการและสถานทคี่ นทกุ เพศ ทกุ วยั ทุกสถานะ จะมาใชบ้ รกิ าร เพอ่ื การเรยี นรู้และพัฒนาความรอู้ ยา่ งอสิ ระ 2. เปน็ แหล่งทปี่ ระชาชนจะใชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนร้อู ย่างกวา้ งขวาง นอกเหนือไปจากการส่งเสรมิ การเรยี นรจู้ ากส่อื อิเล็กทรอนิกส์อนื่ ๆ 3. เปน็ แหลง่ ที่กระตนุ้ และตอบสนองความกระหายใครร่ ขู้ องประชาชนในชมุ ชน ซ่ึงจะรบั รอง การเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ ในชมุ ชนและขณะเดียวกันกจ็ ะเปน็ ปจั จยั ท่จี ะสง่ เสริมให้เกดิ การพัฒนาขนึ้ ในชมุ ชนด้วย 4. เป็นแหล่งรวมความรู้ ข้อมูล มรดกทางวฒั นธรรม ภมู ิปัญญา ความคิดสรา้ งสรรค์ ฯลฯ ซง่ึ เปน็ ทรพั ยากรของชุมชน ภารกิจของหอ้ งสมุดประชาชน เพ่อื ใหส้ อดคล้องกบั บทบาทหน้าทีด่ ังกล่าว ห้องสมดุ ประชาชนจึงมีภารกจิ หลัก ดงั นี้ 1. การใหบ้ รกิ าร โดยจัดบริการความรู้ ขา่ วสารขอ้ มูลจากสอื่ หลกั 2 ประเภท คือ 1.1 สอื่ หนงั ส่ือ 1.2 สื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศ 2. การส่งเสริมการให้บรกิ าร โดยการสรา้ งระบบเครอื ขา่ ยเช่ือมโยงหอ้ งสมดุ ประชาชนเขา้ กันกับ หนว่ ยงานอื่น ๆ เพื่อกระตุน้ เรา่ เร้า ให้มสี ว่ นรว่ มในการใหบ้ ริหารความรู้ทจ่ี ะสง่ เสริมการ เรยี นรู้ตามอธั ยาศัย ของประชาชนโดยการสรา้ งเครอื ข่ายทอ้ งถ่ิน เครอื ขา่ ยระดบั ภมู ภิ าค ตลอดจนเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ 3. การส่งเสริมการใช้บรกิ าร ซงึ่ เปน็ การพฒั นาทักษะการเรียนรผู้ า่ นกจิ กรรมการศกึ ษาตา่ งๆเช่น กิจกรรม ส่งเสรมิ การอ่าน การจดั เวทแี ลกเปล่ียนความรู้ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะกเาขรยี นฯลฯ ตลอดจนการ สรา้ งความเขา้ ใจต่อการเรียนรอู้ ย่างอิสระ การสง่ เสริมความคิดสรา้ งสรรค์ การนาความรทู้ ไ่ี ดจ้ ากการศึกษา ตามอธั ยาศยั ไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั 4. เปน็ แหล่งรวมความรู้ ขอ้ มูล มรดกทางวฒั นธรรม ภูมปิ ัญญา ความคดิ สร้างสรรฯค์ลฯซึ่งเป็น ทรัพยากรของ ชุมชน สรุปการดาเนินงานห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนินขาม ประจาปี 2562 การดาเนินงานของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม ไดแ้ บ่งสายงายออกเปน็ 5 ประเภท คือ

๒๖ 1. งานบรหิ าร 1.1. การวางแผนโครงการ ร่วมกบั กศน.อาเภอเนนิ ขาม 1.2 งานประชาสมั พันธ์ ได้แก่ การประชาสัมพันธ์เก่ยี วกบั ห้องสมุด ประชาชน และโครงการ ตา่ ง ๆท่ีไดจ้ ดั ขึน้ 1.3 งานทะเบียนสมาชกิ ห้องสมุด ไดแ้ ก่ การเกบ็ ประวัตสิ มาชกิ หอ้ งสมดุ การตรวจสอบ สมาชิกท่พี ้นสภาพการเป็นสมาชกิ การทาบตั รสมาชิก การต่อบตั รหมดอายุของสมาชกิ ห้องสมดุ 1.4 งานสถิติและรายงาน ไดแ้ ก่ การเกบ็ สถติ ิผู้ใช้บรกิ ารห้องสมดุ การสารวจความพึงพอใจ ของผู้เขา้ มาใช้บรกิ ารห้องสมุด 1.5 งานสารบรรณ ได้แก่ การพมิ พห์ นังสอื ส่งตา่ ง ๆ การจัดระบบแฟูมเอกสารการ ดาเนินงานหอ้ งสมุด 1.6 งานการเงนิ ไดแ้ ก่ การจัดสรรงบประมาณในแตล่ ะโครงการ/กจิ กรรมทท่ี างห้องสมุด ได้รบั 1.7 งานพสั ดุ ไดแ้ ก่ การส่งั ซื่อวัสดสุ านกั งานหอ้ งสมุด การทาทะเบียนวสั ดุและครภุ ัณฑ์ 1.8 งานประเมินผล ไดแ้ ก่ การประเมินผลสภาพหอ้ งสมดุ ประชาชน เกบ็ สถิตกิ ารเข้ามาใช้ ของผรู้ บั บรกิ ารโดยการเทยี บเดอื นและช่วงเวลาที่เข้ามาใช้บรกิ าร 2. งานเทคนิค 2.1 การจัดหา ไดแ้ ก่ การเลือก สงั่ ซอ่ื ตรวจรบั ส่ือตา่ ง ๆ เชน่ หนงั สือ สือ่ วดี ทิ ศั น์ หรอื ซีดีรอม โดยงบประมาณทไี่ ด้รับท้ัง 2 งวด 2.2 การเตรียมวสั ดสุ ารนิเทศเพอ่ื บริการ ไดแ้ ก่ ลงทะเบยี น จดั หมู่ – วิเคราะห์ ทาบตั ร รายการ ทาดรรชนีวารสาร ทาบรรณานุกรมเตรยี มรูปเลม่ จดั ข้นึ ช้นั 2.3 การบารุงรักษา ไดแ้ ก่ การสารวจ ซอ่ มแซมเย็บเล่ม ทวงคืน หาทดแทน จาหน่ายออกสอื่ ที่ชารุด 3. งานบรกิ าร 3.1 บรกิ ารไดแ้ ก่ - บรกิ ารการอ่าน - บริการให้ยมื – คืน - บริการแนะนาสื่อใหม่ ๆ - บริการวารสาร หนังสอื พมิ พ์ - บริการช่วยตอบคาถามและช่วยค้นคว้า - บริการแนะนาการใช้ห้องสมุด - บรกิ ารชมุ ชน ได้แก่ จัดกิจกรรมในการประชมุ พบปะแกช่ ุมชน - บรกิ ารมุมนา้ ดืม่ เยน็ ๆสะอาดแกผ่ ู้รับบรกิ ารห้องสมดุ - บรกิ ารตรวจเช็คสภาพคอมพวิ เตอรพ์ ร้อมลงโปรแกรมพื้นฐานในการใชง้ าน 3.2 กจิ กรรม ได้แก่ จัดนทิ รรศการวนั สาคัญต่าง ๆ จดั กิจกรรมในเรื่องการใช้ ควิ อาร์โค้ด กจิ กรรมปรับปรุงมุมต่างๆ ในห้องสมุดโครงการปรับปรุงมมุ เดก็ โครงการพัฒนาอาคารสถานทห่ี ้องสมดุ โครงการสง่ เสรมิ การอ่าน โครงการวนั เด็กแหง่ ชาติ 3.3 อาคารสถานที่ ได้แก่ การจดั เวรรกั ษาการชว่ งเวลากลางคนื การดูแลความสะอาดของ อาคารและหอ้ งน้า การดูแลความเป็นระเบยี บเรยี บร้อยบรเิ วณดา้ นในและรอบห้องสมุด การดแู ลต้นไมร้ อบ ห้องสมดุ จดั สวนหนิ ประดบั ตกแต่งด้วยต้นไม้ดอกไมใ้ ห้เปน็ ทส่ี ะดดุ ตาสวยงามแก่ผรู้ บั บริการ 4. งานส่งเสรมิ การอา่ นและกจิ กรรมการเรียนรู้ กจิ กรรมของห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม

๒๗ ๑. กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เกยี่ วกับการทากิจกรรมและใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สาหรบั เดก็ และประชาชนทวั่ ไป ๒. จัดกิจกรรมสง่ เสริมการอา่ นและการค้นคว้าเพื่อการเรียนรูส้ าหรบั ประชาชน นักเรยี น นักศกึ ษาทัว่ ไป ๓. จัดกิจกรรมสง่ เสริมการเรยี นรู้ เกี่ยวกับการจัดนิทรรศการในวันสาคัญตา่ งๆ 4. การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ การใชบ้ รกิ าร ซ่งึ เป็นการพฒั นาทักษะการเรียนรูผ้ ่านกจิ กรรม การศกึ ษาตา่ ง ๆ เช่นกจิ กรรม สง่ เสริมการอ่าน การจดั เวทแี ลกเปลีย่ นความรู้ กิจกรรมพฒั นาทกั ษะกเาขรียน ฯลฯ ตลอดจนการสรา้ งความเข้าใจตอ่ การเรียนร้อู ยา่ งอิสระ การสง่ เสริมความคิดสร้างสรรค์ การนาความรูท้ ่ี ได้จากการศึกษาตามอัธยาศยั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน 5. งานอืน่ ๆท่ไี ด้รับมอบหมาย 1. งานอาคารสถานที่ รับผิดชอบดูแลทาความสะอาดเรยี บร้อยภายในหอ้ งสมุดประชาชน 2. งานธรุ การสารบรรณ การจดั มุมให้บรกิ ารในห้องสมดุ ประชาชนอาเภอเนินขาม หอ้ งสมดุ ได้จดั มุมบริการต่าง ๆ เพ่อื ความเป็นระเบียบและความสะดวกในการใช้บริการของ ผ้ใู ชบ้ ริการต่าง ๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1. มมุ หนังสืออ้างงอิง คอื ชั้นวางหนังสอื อา้ งอิงที่แยกออกมาให้เห็นเดน่ ชดั อยา่ งสวยงาม เพ่อื ความสะดวกในการสบื ค้นคว้าหาขอ้ มูลของผใู้ ช้บรกิ ารและเพอ่ื ความสะดวกในการดูแลรกั ษาหนงั สือ ได้แก่ หนังสอื ประเภทสารานุกรมวิทยาศาสตร์ สารานกุ รมพชื และสัตว์ พจนานกุ รม หนงั สอื พระราชนพิ นธ์ หนังสือ พระราชประวตั ิ หนงั สอื หายากหนงั สือที่ราคาแพงมาก เป็นตน้ 2. มุมเด็ก คอื พ้นื ที่จัดไว้บริการเดก็ ๆ และเยาวชนเน่อื งจากเดก็ ๆ มีพฤตกิ รรมการ ให้หอ้ งสมุดไม่เหมือนผู้ใหญ่ ซง่ึ เดก็ ๆ มักจะไมอ่ ย่นู ่งิ เฉย ซ่ึงอาจเป็นการรบกวนผูใ้ ชบ้ รกิ ารอ่นื ๆ ได้ดงั นั้นการ แยกพ้ืนทีบ่ รกิ ารสาหรบั เด็กเป็นการชว่ ยรกั ษาบรรยากาศท่ีเหมาะแก่การอ่านหนังสอื นอกจากนเี้ ด็กมี จุดประสงคค์ วามตอ้ งการในการใชบ้ รกิ ารแตกต่างจากผใู้ หญ่ การจดั มุมเด็กสามารถสรา้ งความสนใจในการใช้ บรกิ ารหอ้ งสมุดแก่เดก็ เพื่อเป็นพน้ื ฐานในการสรา้ งนิสัยรกั การอา่ นแกเ่ ดก็ มมุ เด็กจงึ มกี ารตกแตง่ ท่ีสวยงามด้วย รูปการต์ ูน สอื่ ที่บรกิ ารในมมุ เดก็ ไดแ้ ก่ หนงั สือนทิ าน หนงั สอื การต์ นู ของเล่นสรา้ งสรรคส์ าหรับเดก็ เปน็ ตน้ 3. มมุ เยาวชน คือ ช้ันวางสอ่ื หนังสืออา้ งอิ งที่เปน็ ประโยชน์ในการคน้ คว้าหาควสาามหรรู้ ับนักเรยี น นักศึกษา เยาวชน ซึง่ หนงั สอื ส่วนใหญ่จะเปน็ ชดุ ของสารานุกรม เช่นสารานุกรมวทิ ยาศาสตร์ สารานุกรมเรือ่ ง พืชและสตั ว์ เป็นต้น นอกจากยังจดั วางสือ่ การเรียนรูท้ ่เี ป็นประโยชน์ เช่น ลกู โลกจาลอง แผนที่โลก ตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ 4. มุมหนงั สือท่วั ไป คือ ชน้ั วางหนงั สือท่ัวไปที่แบง่ เป็นหมวดหมตู่ ามหลกั การทางบรรณารกั ษ์ ศาสตรเ์ พื่อความเป็นระเบียบเรยี บร้อยและสะดวกในการสืบค้น 5. มมุ หนังสอื นวนิยาย เรอ่ื งสัน้ หนงั สอื แปล คือช้ันวางหนังสอื บันเทิง ได้แก่หนงั สือนวนยิ าย เรอ่ื งสัน้ และหนงั สอื แปล ซง่ึ ตามสถิตกิ ารยืมหนังสือของหอ้ งสมดุ พบวา่ หนงั สอื ประเภทเหลา่ นีม้ อี ัตราการยมื มากทีส่ ดุ และสมา่ เสมอตลอดเวลา 6. เคาร์เตอร์บริการยืม – คนื หนงั สอื คือ จดุ สาหรับจา่ ย – รบั หนงั สอื จากสมาชิกผใู้ ชบ้ รกิ าร เปน็ พืน้ ทที่ ี่อยู่บรเิ วณทางออก เพือ่ ความสะดวกใน การดูแลหนังสือและส่อื ตา่ งๆ ก่อนออกหรอื เข้าหอ้ งสมุด นอก จากนดี้ ้านหลังเคาร์เตอรบ์ ริการจา่ ย – รบั ไดจ้ ัดเปน็ พ้นื ที่ทางานของบรรณารักษ์อีกดว้ ย 7. มมุ รบั ชมโทรทัศน์เพื่อการศกึ ษาและรับชมวีดีทศั น์ – ซีดี รอม คือ มมุ ที่จัดทนี่ งั่ ไวบ้ ริการใน การรบั ชมรายการโทรทศั นเ์ พื่อการศึกษาของนกั ศกึ ษาของศูนย์การศึกษานอกระบบละการศึกษาตามอัธยาศัย อาเภอภูผามา่ นตลอดจนผใู้ ช้บรกิ ารท่ัวไป ทจ่ี ะไดร้ บั ชมสอื่ จากวดี ที ัศน์ สือ่ ซีดรี อม ซง่ึ จดั ฉายเปน็ ประจาและ รายการของทาง กศน.ในชอ่ ง ETV

๒๘ 8. มุมหนังสือพมิ พ์ คือ ช้ันวางหนังสือรายวนั โดยมหี นงั สอื พมิ พฉ์ บบั ปจั จุบัน และฉบบั ย้อยหลงั ไวใ้ หบ้ ริการแกส่ มาชิก มมุ หนงั สอื พิมพเ์ ปน็ มุมท่ีไดร้ บั ความสนใจจากผู้ใช้บริการทุกประเภทเพอ่ื ตดิ ตามขา่ วสาร ข้อมูลที่ทนั สมยั เปน็ มมุ ทม่ี ีผใู้ ชบ้ รกิ ารตลอดทง้ั วัน 9. มมุ วารสาร คอื ชน้ั วางวารสาร ทงั้ วารสารสารคดี และวารสารบันเทงิ เช่น ค่สู รา้ งคสู่ ม ชวี จติ เป็นต้น มุมวารสารเป็นมมุ ท่ีได้รับความสนใจจากผใู้ ชบ้ รกิ ารทกุ ประเภทเนอ่ื งจากมีวารสารทใ่ี หบ้ ริการในเกือบ ทุกดา้ น 10. มมุ แสดงสอื่ ใหม่ คือ ช้ันวางแสดงส่อื ในหอ้ งสมุดจดั ซือ้ หรอื ได้รับมาใหม่ล่าสดุ ได้แก่ หนงั สอื ใหม่ สื่อวดี ีทัศน์ – ซีดรี อมใหม่เพ่อื สอ่ื สารและสรา้ งความสนใจแกผ่ ใู้ ช้บรกิ ารให้ทราบวา่ ชว่ งนหี้ ้องสมุดมีส่ือใหม่ ๆ อะไรน่าสนใจบ้าง ทาให้มผี ู้มาใชบ้ รกิ ารอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดเวลา 11. มมุ วารสารเก่า คอื ชั้นวางวารสารฉบับยอ้ ยหลังที่ห้องสมุดได้บอกรบั และที่ไดร้ บั บรจิ าคโดย จัดเรียงอยา่ งเป็นระเบียบและแยกเป็นช่อื เรอื่ งต่าง ๆ 12. มุมสื่อการเรียน กศน. คือ ชัน้ วางหนงั สือเรยี นในหลักสูตรของสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สายสามญั แบง่ เป็น 3 ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั ประถมศกึ ษา ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยหนังสือในชั้นน้เี ปน็ หนงั สือในชัน้ น้ีเปน็ หนงั สอื ท่มี ไี ว้ บรกิ ารแก่นกั ศึกษาของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอเนนิ ขามโดยพรอ้ มทง้ั ให้ นกั ศกึ ษาได้ยมื ไปใช้ประกอบการเรียนในแต่ละภาคการศึกษา 13. มุมแสดงนทิ รรศการ คอื บอร์ดที่จดั แสดงนทิ รรศการและเสนอขา่ วสารประชาสมั พันธ์โดย ห้องสมดุ ประชาชาชนอาเภอเนนิ ขาม มีบอร์ดไว้แสดง 2 สว่ น ส่วนแรกเปน็ บอร์ดขนาดใหญ่อยใู่ นห้องสมดุ ประ สมั พนั ธเ์ ก่ยี วกบั หอ้ งสมุดส่วนท่ี 2 เป็นบอร์ขนาดเล็ก ใชป้ ระชาสมั พันธ์ จดั นิทรรศการวันสาคญั ต่าง ๆซึ่งอยู่ ดา้ นนอกหนา้ ทางเขา้ ห้องสมดุ 14. มุมอาเซยี นศกึ ษา คือ ช้นั วางสื่อการเรียนรเู้ กย่ี วกับประเทศอาเซียนทัง้ 10 ประเทศ เช่น สื่อเก่ยี วการแต่งกายในรูปแบบตกุ๊ ตาอาเซยี น ดอกไมป้ ระจาชาตอิ าเซยี น ไดจ้ ัดวางไวอ้ ยา่ งเป็นระเบียบเพ่ือไว้ ให้บริการแก่ผู้ใชบ้ รกิ ารและนักเรยี นนกั ศึกษาท่สี นใจศึกษาหาความรตู้ ่อไป 15. มุมแสดงผลงาน คือ มมุ ทีจ่ ัดวางแสดงผลงานการจดั กจิ กรรมของเด็กๆ นักเรยี น นกั ศึกษา ท่มี าเขา้ ร่วมกจิ กรรม เช่น กิจกรรมการด์ สวิงสุภาษิต พวงกุญแจจากลูกปดั 16. มุมประวัติเนนิ ขาม คือ มุมท่จี ัดวางประวตั เิ นนิ ขาม ผา้ ทอเนินขาม วัฒนธรรมของชาวเนนิ ขามจากรูปภาพสแตนดโี้ ดยการส่องจากควิ อารโ์ คด้

ตารางผลการดาเนินงานหอ้ งสมดุ ประชาชน ๒๙ ที่ ชอื่ โครงการ วันท่ี เปา้ หมาย ผลที่ได้ งบประมาณ 1. โครงการหอ้ งสมุดประชาชน ต.ค.63- ก.ย.64 6,000 6,000 เปน็ ศูนยก์ ลางแหง่ การเรียนรู้ ตลอดชวี ิต 1.1 โครงการพัฒนาหอ้ งสมุด ต.ค.63- ก.ย.64 500 523 ประชาชนเปน็ ศนู ย์กลางแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ จานวนสมาชิกห้องสมดุ ต.ค.63- ก.ย.64 440 440 ประชาชน รวม 6,940 6,963 ผลการดาเนนิ งานเชงิ คุณภาพ ผ้รู ับบรกิ ารได้เขา้ ถงึ แหล่งความร้ทู ่ีหลากหลาย สามารถนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจาวนั ได้เปน็ การส่งเสริมการเรียนร้ตู ลอดชีวิต อยา่ งต่อเนอ่ื ง ประชาชนกลุ่มเปูาหมาย สมารถเข้าถึงแหล่งเรยี นรไู้ ด้ อย่างสะดวก เป็นการพัฒนาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต และสามารถดารงชวี ิตไดอ้ ย่างมคี วามสุข ปญั หาและอปุ สรรค 1. ขาดสื่อวัสดอุ ปุ กรณ์ 2. พน้ื ที่หา่ งไกลชมุ ชน 3. ยังขาดการประชาสัมพันธอ์ ย่างท่ัวถงึ 4. งบประมาณในการสนับสนุนไม่เพียงพอ แนวทางการดาเนนิ งาน ๑. จดั หาเครอื ข่ายหรืออาสาสมคั รมาช่วยงานหอ้ งสมดุ และศนู ย์การเรยี นรู้ชมุ ชน เช่น นักศึกษา กศน. นกั ศึกษาฝึกงาน ๒. ของบประมาณสนับสนุนจากเครอื ข่ายปรบั ปรงุ อาคารสถานที่ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ ๓. จดั บรกิ ารกจิ กรรมเชงิ รกุ เข้าไปในชุมชน เชน่ โรงเรียน สถานประกอบการต่างๆ ๔. ประชาสัมพันธ์การจัดกจิ กรรม ๕. พัฒนาบคุ ลากรให้มเี ทคนคิ วิธกี ารใหมๆ่ ในการจัดกิจกรรม เช่น ศึกษาดูงาน

๓๐ สรปุ ผลการดาเนนิ งาน โครงการสง่ เสริมการอา่ นเพอ่ื สรา้ งสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ๑. ช่ือโครงการ โครงการส่งเสริมการอ่านเพื่อสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 2) ความสอดคล้องกับนโยบายเรง่ ด่วนเพื่อรว่ มขับเคล่ือนยทุ ธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ ๓. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคนใหม้ คี ุณภาพ ๔. เพ่ิมอตั ราการอ่านของประชาชน โดยการจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านในรูปแบบต่างๆ เชน่ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอา่ น ห้องสมุดประชาชน บา้ นหนังสอื ชมุ ชน ภารกจิ ต่อเน่อื ง ๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๑) สง่ เสริมใหม้ ีการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ในระดับตาบล เพอ่ื การถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ และจดั กิจกรรมเพอ่ื เผยแพร่องคค์ วามรู้ในชมุ ชนไดอ้ ยา่ งทั่วถงึ ๒) จดั กิจกรรมส่งเสริมการเรยี นรู้เพื่อปลูกฝังนิสยั รกั การอ่าน และพฒั นาความสามารถในการ อ่าน ๓) ส่งเสรมิ ให้มีการสรา้ งบรรยากาศ และสิ่งแวดลอ้ มทเี่ อ้ือตอ่ การอ่านให้เกิดขึ้นในสังคมไทย ๔. หลกั การและเหตผุ ล การอา่ นหนงั สือเปน็ การพัฒนาตนเองและใชเ้ วลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ ซ่งึ เป็นสิ่งจาเปน็ มากใน การพฒั นาคนและพัฒนาสังคม การอา่ นหนังสอื ของคนไทยเปน็ กิจกรรมทไี่ มแ่ พรห่ ลายแมใ้ นหมูผ่ ู้รหู้ นงั สอื แล้ว โดยเฉพาะการอา่ นหนงั สือที่ดแี ละมสี าระย่งิ มีนอ้ ยขึ้นไปอกี สาเหตุมีอยหู่ ลายประการ นบั ตั้งแตก่ ารขาดแคลน หนังสอื ทดี่ ีและตรงกับความตอ้ งการของผู้อ่าน การขาดแคลนแหล่งหนังสือทีจ่ ะยมื อ่านได้ ไปจนถึงการดงึ ความสนใจและการแยง่ เวลาของสื่ออืน่ ๆ เชน่ โทรทศั น์ วิทยุกระจายเสียงฯลฯ วทิ ยุกระจายเสียง รวมทั้งขาด การชักจงู การกระตุน้ และมีนิสัย รักการอ่านท้ังในและนอกโรงเรยี น เม่ือเทียบกับความเพลิดเพลนิ และการได้ ฟังไดร้ ้เู หน็ เรื่องต่างๆจากโทรทศั น์ และวิทยกุ ระจายเสยี งแลว้ การอา่ นหนงั สอื เพ่ือวัตถปุ ระสงค์ดังกล่าวต้องใช้ ความพยายามมากกว่า และตอ้ งมีทกั ษะในการอ่าน ถ้าจะให้การอ่านหนงั เกดิ เปน็ นสิ ัยจาเปน็ ตอ้ งมีการปลกู ฝงั และชกั ชวนใหเ้ กดิ ความสนใจการอ่านอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและสม่าเสมอ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนนิ ขาม ได้ เล็งเหน็ ถึงความสาคัญของการอ่านท่ีเปน็ จดุ บม่ เพาะและสรา้ งนิสัยรักการอ่านทเ่ี กดิ ข้นึ ในชุมชนในอาเภอเนิน ขาม จึงไดจ้ ดั ทาโครงการสง่ เสริมรกั การอ่าน ประจาปี 2562 ขึ้น เพอ่ื สนับสนุน สง่ เสริมการอา่ นท่ีเกิดขน้ึ ใน ชุมชน โดยมหี ้องสมดุ ประชาชนและกศน.ตาบล เปน็ กลไกในการขบั เคล่อื นการเสรมิ สรา้ งการรักการอ่านใน ชุมชน ตลอดจนเสรมิ สรา้ งภาคีเครอื ขา่ ยให้ทุกภาคสว่ นมสี ่วนร่วมในการสง่ เสรมิ นิสัยรกั การอา่ นของชมุ ชนได้ อย่างยงั่ ยืน 4) วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือสนบั สนุนส่งเสรมิ หอ้ งสมุดประชาชน กศน.ตาบล และภาคีเครอื ขา่ ยในการจดั กจิ กรรม สง่ เสริมการเรยี นรู้ในรูปแบบการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในชุมชน 2. เพื่อส่งเสรมิ ใหช้ มุ ชนและทุกภาคส่วนมสี ่วนร่วมในการสนบั สนนุ การดาเนนิ การจดั กจิ กรรม การศึกษาตามอัธยาศยั 3. เพ่ือให้กลมุ่ เปาู หมายใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ จากการอ่าน 5) เปูาหมาย 5.1) เชิงปรมิ าณ นักเรียน นกั ศกึ ษา และประชาชนทั่วไป

๓๑ 5.2) เชงิ คณุ ภาพ 5.2.1) กลุม่ เปูาหมาย ไดม้ โี อกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษาตามอธั ยาศัยในชุมชน 5.2.2) กล่มุ เปาู หมายไดต้ ระหนักถึงการมสี ่วนรว่ มในการสนบั สนนุ การดาเนินการจดั กิจกรรม การศึกษาตามอธั ยาศัย 5.2.3) กลุม่ เปาู หมายใช้เวลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ จากการอา่ น ๗. ผลการดาเนนิ งาน ๗.๑ การใชจ้ ่ายงบประมาณ เงนิ งบประมาณประจาปี ๒๕ 64 จาก แผนงานพนื้ ฐานด้านการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ท่ี 5 ผู้รับบรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศยั งบ ดาเนนิ งาน ๗.๒ ผลของการดาเนินงาน/โครงการเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ เชงิ ปริมาณ ม่งุ จดั กิจกรรมเพอ่ื สนบั สนุน ส่งเสริมการอา่ น โดยมีหอ้ งสมดุ ประชาชนและกศน.ตาบล เป็นกลไก ในการขับเคลอื่ นการเสรมิ สร้างการรักการอา่ น ตลอดจนเสรมิ สรา้ งภาคีเครือขา่ ยใหท้ กุ ภาคสว่ นมีส่วนรว่ มใน การส่งเสรมิ นสิ ัยรักการอ่านของชมุ ชนไดอ้ ย่างยั่งยืน โดยการจัดกจิ กรรมส่งเสริมการอา่ นทงั้ ในห้องสมดุ และ บรกิ ารเชงิ รกุ ในชุมชน ท่ี ช่อื โครงการ วันท่ี เป้าหมาย ผลทไ่ี ด้ งบประมาณ 2. โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นเพ่ือ ต.ค.63- ก.ย.64 500 522 สร้างสังคมแห่งการเรยี นรู้ ต.ค.63- ก.ย.64 500 535 60 60 2.1 โครงการหอ้ งสมุดเคลือ่ นท่ี 1,060 1,117 2.2 โครงการบ้านหนังสอื ชุมชน ต.ค.63- ก.ย.64 2.3 โครงการสัปดาห์ 2 เมษา 29 ม.ี ค. – 2 เม.ย.64 วันรกั การอา่ นเสริมสร้างปัญญา พัฒนาการเรียนรู้ นกั ศกึ ษา กศน.อาเภอเนนิ ขาม รวม เชิงคุณภาพ ผรู้ บั บรกิ ารไดเ้ ข้าถงึ แหล่งความรทู้ ่ีหลากหลาย สามารถนาความรูจ้ ากรว่ มกจิ กรรมไปประยุกตใ์ ช้ ในชีวิตประจาวันได้มนี ิสัยรักการอา่ น เปน็ การสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวิตอย่างตอ่ เนอื่ ง เพ่ือเป็นการพัฒนา คนและพัฒนาคุณภาพชีวติ ๘. ปญั หาอปุ สรรค 1. ขาดสอ่ื วัสดุอปุ กรณ์ 2. พืน้ ท่ีหา่ งไกลชมุ ชน

๓๒ 3. ยังขาดการประชาสมั พนั ธอ์ ยา่ งทั่วถงึ 4. งบประมาณในการสนับสนุนไม่เพียงพอ ๙. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางการดาเนินงานต่อไป ๑. จัดหาเครือขา่ ยหรอื อาสาสมัครมาช่วยงานห้องสมดุ ปละศนู ยก์ ารเรยี นชุมชน เช่น นกั ศกึ ษา กศน. นักศึกษาฝกึ งาน ๒. ของบประมาณสนบั สนนุ จากเครอื ข่ายปรบั ปรงุ อาคารสถานท่ตี ลอดจนวัสดอุ ุปกรณ์ ๓. จดั บรกิ ารกิจกรรมเชิงรกุ เขา้ ไปในชมุ ชน เช่น โรงเรยี น สถานประกอบการตา่ งๆ ๔. ประชาสมั พนั ธ์การจัดกิจกรรม ๕. พฒั นาบคุ ลากรให้มีเทคนคิ วธิ ีการใหมๆ่ ในการจดั กจิ กรรม เชน่ ศกึ ษ า สถิติผู้ใช้บรกิ ารประจาปงี บประมาณ 2564 ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเนินขาม ในปงี บประมาณ ๒๕ 64 ไดก้ าหนดเปูาหมาย ท้ังสิ้น 8,๐๐๐ คน ดาเนินการจัดการศึกษาตาม อธั ยาศัย มผี เู้ ขา้ ใช้บริการฯ จานวน 8,080 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 จาแนกตามรายการกจิ กรรมตาม ตารางดังนี้ ลาดบั ที่ การจดั การศกึ ษาตามอัธยาศยั เป้าหมาย จานวนผู้รับบริการ ๑. ผู้ใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม 6,000 ชาย หญิง รวม ๒. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ 1,560 2,880 3,120 6,000 3. สมาชกิ หอ้ งสมดุ 1,640 440 722 918 รวม 8,000 200 240 440 3,802 4,278 8,080

๓๓ ภาคผนวก

๓๔ รูปภาพกิจกรรม โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลางแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ณ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม จัดกิจกรรมปรบั ปรงุ มมุ สง่ เสรมิ การอ่าน

35 รปู ภาพกจิ กรรม โครงการพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชนเป็นศนู ย์กลางแหง่ การเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ณ หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอเนนิ ขาม กจิ กรรมพัฒนามุมเดก็

36 รูปภาพกิจกรรม โครงการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเปน็ ศูนยก์ ลางแหง่ การเรียนร้ตู ลอดชีวติ ณ ห้องสมุดประชาชนอาเภอเนนิ ขาม กจิ กรรมปลูกต้นไมพ้ ฒั นาอาคารสถานที่

37 รปู ภาพกจิ กรรม โครงการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลางแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ณ ห้องสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมุด

๓๘ รปู ภาพกจิ กรรม โครงการพัฒนาห้องสมดุ ประชาชนเปน็ ศูนย์กลางแห่งการเรยี นรู้ตลอดชวี ิต ณ ห้องสมุดประชาชนอาเภอเนินขาม กจิ กรรมพัฒนาหอ้ งสมุด

๓๙ รูปภาพกจิ กรรม โครงการห้องสมุดเคลื่อนท่รี ่วมกับครู กศน.ตาบล โครงการ กศน.อาเภอเนินขามสง่ เสรมิ การควบคุมและป้องกนั โรคติดตอ่ ทแี่ พรร่ ะบาดไวรสั โคโรน่า 2019 ( COVID – 19) ในกลมุ่ ผสู้ ูงอายุอาเภอเนนิ ขาม

๔๐ รูปภาพกิจกรรม โครงการหอ้ งสมดุ เคล่อื นท่รี ่วมกับครู กศน.ตาบล

๔๑ รูปภาพกิจกรรม ห้องสมดุ เคลอื่ นที่ วันท่ี 1 เมษายน 2564 ณ อาเภอเนินขาม ตาบลเนนิ ขาม อาเภอเนนิ ขาม จังหวัดชยั นาท กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่าน รถโมบาย

๔๒ รปู ภาพกจิ กรรม หอ้ งสมดุ เคลื่อนที่ วนั ที่ 1 เมษายน 2564 ณ อาเภอเนนิ ขาม ตาบลเนนิ ขาม อาเภอเนนิ ขาม จังหวัดชัยนาท

๔๓ รปู ภาพกจิ กรรม โครงการบา้ นหนังสอื ชุมชน กจิ กรรมหมุนเวียนสือ่

๔๔ รปู ภาพกจิ กรรม โครงการบา้ นหนังสอื ชุมชน กจิ กรรมหมุนเวียนสือ่

๔๕ รปู ภาพกจิ กรรม โครงการบา้ นหนังสอื ชุมชน กจิ กรรมหมุนเวียนสือ่

๔๖ รปู ภาพกจิ กรรม โครงการบ้านหนงั สือชุมชน กิจกรรมหมนุ เวียนสือ่

๔๗ รปู ภาพกิจกรรม โครงการบ้านหนงั สอื ชมุ ชน กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ น

๔๘ รปู ภาพกิจกรรม จัดวนั ที่ 29 มนี าคม – 2 เมษายน 2564 ณ กศน.อาเภอเนนิ ขาม / หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอเนนิ ขาม กิจกรรมลงนามถวายพระพรออนไลน์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook