นายยาวี สาลิน (ดนิ ) เลขท่ี 7 รหัสนกั ศกึ ษา 63309010009 ชัน้ ประกาศนียบตั รวชิ าชพี ชัน้ สูง ปีท่ี 2 แผนกเทคโนโลยสี ารสนเทศ วิทยาลัยอาชีวศึกษานครศรีธรรมราช
ระบบเครือข่ายในทางคอมพิวเตอร์น้ันก็คือ ระบบท่ีเกิดจากการนาเอาอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ พรินเตอร์ สแกนเนอร์ Hub/switch หรือ อุปกรณ์อ่ืน ๆ มาเช่ือมต่อกัน โดยใช้สื่อ (transmission media) ต่าง ๆ เช่น สายเคเบิลชนิดต่าง ๆ ซึ่งอาจทาด้วยทองแดงหรอื ใยแก้วนาแสง หรอื อาจเป็นสื่อแบบไร้สาย เช่น คลื่นวิทยุ อินฟาเรด หรือไมโครเวฟ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อติดต่อหรือแลกเปล่ียนข้อมูลกัน หรือเพ่ือให้เกิดการใช้ ทรัพยากรร่วมกันอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่น การแชรพ์ รินเตอร์หรอื การแชร์ฮารด์ ดิสก์ เป็นตน้ ระบบเครือข่ายแบ่งได้เป็น 3 ประเภทตามขนาดหรือระยะทาการของเครือข่ายคอื 1. LAN (Local Area Network) คือเครอื ข่ายเฉพาะกลุ่มที่มีขนาดเล็ก ๆ หรือระยะทา การไมไ่ กลนกั เชน่ เครือข่ายภายในออฟฟิศหรือสานกั งาน มรี ะยะทาการใกล้ ๆ และมักเชื่อมโยง กนั ดว้ ยความเรว็ สงู เครอื ขา่ ยแบบนย้ี งั ถกู นามาใช้เป็นเครอื ข่ายในบ้านของเราด้วย 2. MAN (Metropolitan Area Network) คือเครือข่ายที่มีขนาดใหญ่กว่า LAN ซ่ึงจะ เช่ือมในระยะห่าง ๆ ภายในจังหวัด หรือภายในตวั เมอื ง และเช่ือมระบบ LAN หลาย ๆเครอื ข่าย มารวมกนั 3. Wan (Wide Area Network) คือเครือข่ายสาหรับเช่ือมเครือข่ายย่อย ๆ หรือ เครือข่ายคนละชนิดท่ีอยู่ห่างไกลกันมาก ๆ เช่น คนละจังหวัด หรือคนละประเทศเข้าด้วยกัน ตัวอย่างของ WAN ทีเ่ หน็ ได้ชดั ท่สี ุดก็คือเครอื ขา่ ยอินเตอร์เน็ตนัน่ เอง
โทโปโลยี หมายถึงรูปร่างของ network พิจารณาจากการลากเส้นมาต่อกันเป็นก่ิงก้าน หรือรปู แบบของ Network คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลท่ีประกอบกันเป็นเครือข่าย มี การเช่ือมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการอออกแบบเช่ือมโยงนี้ เรยี กว่า รูปร่างเครอื ข่าย (network topology) เมอ่ื พิจารณาการตอ่ เช่ือมโยงถึงกันของอุปกรณ์ สานักงานซ่ึงใช้งานท่ีต่าง ๆ หากต้องการเชื่อมต่อถึงกันโดยตรง จะต้องใช้สายเชื่อมโยงมาก ปัญหาของการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ของสถานีปลายทางหลาย ๆ สถานีคือ จานวน สายที่ใช้เชื่อมโยงระหว่างสถานีเพ่ิมมากข้ึน ง่ายต่อการติดต้ัง และมีประสิทธิภาพท่ีดีต่อระบบ รูปรา่ งเครือขา่ ยงานทใ่ี ช้ในการสอ่ื สารมหี ลายรปู แบบ
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบบสั จะประกอบด้วย สายสง่ ข้อมลู หลกั ท่ีใช้สง่ ข้อมลู ภายในเครือขา่ ย เคร่ืองคอมพิวเตอร์แตล่ ะเครื่อง จะเชื่อมตอ่ เข้ากบั สายข้อมลู ผ่านจดุ เช่ือมต่อ เมื่อมีการส่งข้อมูลระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์หลายเครื่องพร้ อ มกัน จะมี สญั ญาณข้อมลู สง่ ไปบนสายเคเบิล้ และมีการแบง่ เวลาการใช้สายเคเบิล้ แตล่ ะเครื่อง ข้อดี ของการเช่ือมต่อแบบบสั คือ ใช้สื่อนาข้อมลู น้อย ช่วยให้ประหยดั ค่าใช้จ่าย และถ้าเครื่อง คอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเคร่ืองหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลต่อการทางาน ของระบบโดย รวม แต่มี ข้ อเสีย คือ การตรวจจุดท่ีมีปัญหา กระทาได้ ค่อนข้ างยาก และถ้ ามีจานวนเ ครื่อง คอมพิวเตอร์ ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการสง่ ข้อมลู ชนกนั มากจนเป็นปัญหา ขอ้ ดี -ใช้สอ่ื นาข้อมูลนอ้ ย ช่วยใหป้ ระหยดั ค่าใชจ้ ่าย -ถ้าเคร่ืองคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งใดเครื่องหนงึ่ เสียกจ็ ะ ไม่สง่ ผลต่อการทางานของระบบ โดยรวม ข้อเสีย -การตรวจจุดทมี่ ปี ญั หา กระทาได้ค่อนขา้ งยาก และถ้ามจี านวนเครอ่ื งคอมพิวเตอรใ์ น เครอื ข่ายมากเกนิ ไป จะมกี ารสง่ ขอ้ มลู ชนกันมากจนเป็นปัญหา
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบวงแหวน มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์โดยท่ีแต่ละ การเช่ือมต่อจะมีลักษณะเป็นวงกลม การส่งข้อมูลภายใน เครือข่ายน้ีก็จะเป็นวงกลมด้วยเช่นกัน ทิศทางการส่งข้อมูล จะเป็นทิศทางเดียวกันเสมอ จากเคร่ืองหน่ึงจนถึงปลายทางในกรณีท่ีมีเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งขัดข้อง การส่งข้อมูลภายในเครือข่ายชนิดนี้จะไม่สามารถทางานต่อไปได้ ข้อดี ของโครงสร้าง เครือข่ายแบบวงแหวนคือ ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เสียออกจาก ระบบ ก็จะไม่ส่งผลต่อการทางานของระบบเครือข่ายน้ี และจะไม่มีการชนกันของข้อมูลท่ี แตล่ ะเครื่องสง่ ขอ้ ดี - ใช้สายเคเบ้ลิ น้อย -ถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอรท์ ่เี สยี ออกจากระบบ กจ็ ะไมส่ ่งผลต่อการทางานของระบบ เครอื ข่ายนี้ และจะไม่มีการชนกนั ของขอ้ มูลทีแ่ ตล่ ะเครือ่ งสง่ ขอ้ เสีย - ถา้ เครื่องใดเคร่ืองหนง่ึ ในเครอื ขา่ ยเสียหาย อาจทาใหท้ ัง้ ระบบหยุดทางานได้
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอรแ์ บบดาว ภายในเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมี จุกศูนย์กลางในการควบคุมการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์ หรือ ฮับ (hub) การส่ือสาร ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต่างๆ จะส่ือสารผ่านฮับก่อนท่ีจะส่งข้อมูลไปสู่ เคร่ือง คอมพิวเตอร์ เคร่ืองอื่นๆ โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ แบบดาวมี ข้อดี คือ ถ้า ต้องการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เคร่ืองใหม่ ก็สามารถทาได้ง่าย และไม่กระทบต่อเครื่อง คอมพิวเตอร์อ่ืนๆ ในระบบ ส่วนข้อเสีย คือ ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบ้ิลจะ ค่อนข้าง สูง และเม่อื ฮับไมท่ างาน การส่ือสารของคอมพิวเตอรท์ ้ังระบบกจ็ ะหยุดตามไปด้วย ขอ้ ดี -ถา้ ตอ้ งการเช่อื มตอ่ คอมพิวเตอรเ์ ครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไมก่ ระทบตอ่ เครือ่ งคอมพิวเตอร์อ่นื ๆ ในระบบ ขอ้ เสีย - ในการใช้สายเคเบลิ้ จะค่อนขา้ งสูง และเมอ่ื ฮับไมท่ างาน การส่อื สารของ คอมพิวเตอร์ทง้ั ระบบกจ็ ะหยุดตามไปดว้ ย
โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบเมช มีการทางานโดยเครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองจะมีช่องสัญญาณจานวนมาก เพ่ือท่ีจะเช่ือมต่อกับเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นๆทุกเครื่อง โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์น้ีเคร่ือง คอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะเครื่อง จะส่งข้อมูล ได้อิสระไม่ต้องรอการส่งข้อมูลระหว่างเครอ่ื ง คอมพิวเตอร์เคร่อื งอื่นๆ ทาให้การส่งข้อมูลมคี วามรวดเร็ว แต่ค่าใช้จ่าย สายเคเบ้ิล กส็ งู ด้วยเช่นกนั ขอ้ ดี – มีความเร็วในการสอื่ สารข้อมูลสงู โปรแกรมทใ่ี ช้ในการควบคมุ การส่ือสาร กเ็ ป็นแบบพน้ื ฐานไมซ่ บั ซอ้ นมากนกั – สามารถรบั ส่งขอ้ มูลได้ปริมาณมากและไมม่ ปี ัญหาเร่ืองการจัดการ การจราจรในสอ่ื สง่ ขอ้ มูลไม่เหมือนกับแบบท่ใี ชส้ ่อื ส่งข้อมลู ร่วมกัน ขอ้ เสยี – จานวนสายทีใ่ ชต้ อ้ งมจี านวนมากและอินพุด / เอาต์พตุ พอร์ต ต้องใช้ จานวนมากเชน่ กัน เพราะแตล่ ะเครอ่ื งต้องต่อเชอื่ มไปยงั ทุก ๆ เคร่ืองทาใหก้ าร ตดิ ต้ังหรือแกไ้ ขระบบทาได้ยาก
เป็น โครงสร้างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ผสมผสานความสามารถของ โครงสร้างเครือข่าย คอมพิวเตอร์หลาย ๆ แบบรวมกัน ประกอบด้วยเครือข่าย คอมพิวเตอร์ย่อย ๆ หลายเครือข่ายท่ีมีโครงสร้างแตกต่างกันมาเชื่อมต่อกันตาม ความเหมาะสม ทาใหเ้ กดิ เครอื ข่ายทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพสงู ในการสื่อสารข้อมลู ขอ้ ดี - ใชส้ ายสง่ ขอ้ มลู นอ้ ย เมอื่ เทียบกบั ระบบดาว - เน่อื งจากใชส้ ายสง่ ข้อมูลน้อย ทาใหป้ ระหยดั คา่ ใช้จ่าย ขอ้ เสีย - หากเกดิ ความเสียหายจุดใด จะทาใหร้ ะบบไมส่ ามารถติดต่อกนั ได้จนกว่าจะ นาจุดท่ีเสียหายออกจากระบบ - ยากต่อการตรวจสอบหาข้อผิดพลาด เพราะอาจต้องหาทีละจุด
1. เครือข่ายท้องถ่ิน (Local Area Network หรือ LAN) เป็นเครือข่าย ระยะใกล้ ใช้กันอยู่ในบริเวณไม่กว้างนัก อาจอยู่ในองค์กรเดียวกัน หรืออาคาร ท่ีใกล้กัน เช่น ภาพในสานักงานภายในโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ระบบ เครือข่ายท้องถ่ินจะช่วยให้ติดต่อกันได้สะดวก ช่วยลดต้นทุน และเพิ่ม ประสิทธภิ าพในการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆ
2. เครอื ข่ายระดับเมือง (Metropolitan Area Network หรือ MAN) เป็น เครอื ข่ายขนาดกลาง ใช้ภายในเมือง หรือจังหวัดท่ีใกล้เคียงกัน เช่น ระบบเคเบิลทีวี ท่มี สี มาชิกตามบ้านทวั่ ไปท่เี ราดูกนั อยู่ทุกวันก็จดั เปน็ ระบบ เครอื ขา่ ยแบบ MAN 3. เครือข่ายระดับประเทศ (Wide Area Network หรือ WAN) เป็นระบบ เครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ติดต้ังบริเวณกว้าง มีสถานท่ีหรือจุดเชื่อมต่อมากมาย มากกว่า 1 แสนจุด ใช้ส่ือกลางหลายชนิด เช่น ระบบคล่ืนวิทยุ ไมโครเวฟ หรือ ดาวเทยี ม
Search
Read the Text Version
- 1 - 10
Pages: