43 ตอนท่ี 9.1 ปัจจัยเสีย่ งในการดาํ รงชีวิต เรอื่ งท่ี 9.1.1 ส่ิงเสพตดิ ยาเสพติดหมายถงึ สารใดกต็ ามทเี่ กดิ ขึ้นตามธรรมชาติ หรือสารท่ีสังเคราะห์ขึ้น เม่ีอนําเข้าสู่ร่างกาย ไม่ว่า จะโดยวิธีรับประทาน ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใด ๆ แล้ว ทําให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจนอกจากนี้ยังจะ ทาํ ให้เกดิ การเสพติดได้หากใช้สารนนั้ เปน็ ประจาํ ทุกวนั หรือวันละหลาย ๆ ครัง้ ลกั ษณะสาํ คัญของสารเสพติด จะทําให้เกดิ อาการ และอาการแสดงต่อผู้เสพดังนี้ 1. เกดิ อาการดื้อยา หรือตา้ นยา และเมือ่ ตดิ แล้ว ตอ้ งการใช้สารนัน้ ในประมาณมากข้นึ 2. เกิดอาการขาดยาถอนยา หรอื อยากยา เม่ือใช้สารน้นั เทา่ เดมิ ลดลง หรอื หยุดใช้ 3. มีความตอ้ งการเสพท้งั ทางร่างกายและจิตใจอยา่ งรุนแรงตลอดเวลา 4. สขุ ภาพร่างกายทรุดโทรมลงเกิดโทษตอ่ ตนเอง ครอบครัว ผอู้ ่นื ตลอดจนสงั คม และประเทศชาติ ประเภทของยาเสพตดิ ปจั จุบัน สงิ่ เสพติดหรือยาเสพตดิ ให้โทษมหี ลายประเภท อาจจําแนกได้หลายเกณฑ์ นอกจากแบ่งตาม แหลง่ ทมี่ าแล้ว ยงั แบ่งตามการออกฤทธิ์และแบ่งตามกํากฎหมายดงั น้ี 1. จาํ แนกตามสิ่งเสพติดทมี่ า - ประเภททไ่ี ด้จากธรรมชาติ เช่น ฝน่ิ มอร์ฟนี กระท่อม กัญชา - ประเภททีไ่ ด้จากการสงั เคราะห์ เช่น เฮโรอนี ยานอนหลับ ยามา้ แอมเฟตามีน สารระเหย 2. จาํ แนกสิ่งเสพตดิ ตามกฎหมาย - ประเภทถูกกฎหมาย เชน่ ยาแก้ไอนา้ํ ดํา บหุ รี่ เหล้า กาแฟ ฯลฯ - ประเภทผดิ กฎหมาย เชน่ มอร์ฟีน ฝิ่น เฮโรอนี กญั ชา กระท่อม แอมเฟตามนี ฯลฯ 3. การจําแนกสง่ิ เสพตดิ ตามการออกฤทธ์ติ ่อระบบประสาทสว่ นกลาง -ประเภทกดประสาท เช่น ฝน่ิ มอร์ฟนี เฮโรอนี ยากล่อมประสาท ยาระงับประทสาท ยานอนหลับ สารระเหย เคร่ืองดมื่ มึนเมา เช่นเหลา้ เบียร์ ฯ - ประเภทกระตนุ้ ประสาท เช่น แอมเฟตามนี ยาม้า ใบกระท่อม บุหร่ี กาแฟ โคคาอีน - ประเภทหลอนประสาท เช่น แอล เอส ด,ี เอส ที พี,น้ํามันระเหย - ประเภทออกฤทธผ์ิ สมผสาน อาจกด กระต้นุ หรือหลอนประสาทผสมรวมกันไดแ้ ก่ กญั ชา สาเหตุท่ที าํ ใหเ้ กิดยาเสพติด 1. ตดิ เพราะฤทธขิ์ องยา เมอ่ื รา่ งกายมนษุ ย์ได้รบั ยาเสพติดเข้าไป ฤทธขิ์ องยาเสพติดจะทาํ ให้ระบบตา่ งๆ ของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งถ้าการใช้ยาไม่บ่อยหรือนานคร้ัง ไม่ค่อยมีผลต่อร่างกาย แต่ถ้าใช้ติดต่อเพียงช่ัว ระยะเวลาหนง่ึ จะทาํ ใหม้ ีผลต่อรา่ งกายและจติ ใจ มลี ักษณะ 4 ประการ คือ - มีความตอ้ งการอยา่ งแรงกลา้ ท่จี ะเสพยาหรอื สารนั้นอีกตอ่ ไปเร่อื ๆ - มีความโนม้ เอยี งทีจ่ ะเพ่มิ ปรมิ าณของยาเสพติดข้นึ ทุดขณะ - ถ้าถึงเวลาท่ีเกิดความต้องการแล้วไม่ได้เสพ จะเกิดอาการอยากยา หรืออาการขาดยา เช่น หาว อาเจียนน้ําตานํา้ มกู ไหล ทรุ นทุราย คลมุ้ คล่ัง โมโห ขาดสติ - ยาทีเ่ สพนั้นจะไปทาํ ลายสุขภาพของผเู้ สพท้ังร่างกาย ทําใหซ้ บู ผอม มีโรคแทรกซ้อน และทางจิตใจ เกิดอาการทางประสาท จติ ใจไม่ปกติ 2. ติดยาเสพติดเพราะส่ิงแวดลอ้ ม - สภาพแวดล้อมภายนอกของบ้านที่อยู่อาศัย เต็มไปด้วยแหล่งค้ายาเสพติด เช่นใกล้บริเวณ ศนู ยก์ ารคา้ หน้าโรงหนงั ซึง่ เป็นการซ้ือยาเสพติดทุกรูปแบบ
44 - ส่ิงแวดล้อมภายในบ้านขาดความอบอุ่น รวมไปถึงปัญหาชีวิตคนในครอบครัวและฐานะทาง เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมจะทําให้เด็กหันไปพึ่งยาเสพติด การขาดความเอาใจใส่ดูแลจากพ่อแม่ และขาดการ ยอมรับจากครอบครัว เด็กจะหันไปคบเพื่อนร่อมกลุ่มเพ่ือต้องการความอบอุ่น สภาพของกลุ่มเพ่ือนสภาพของ เพ่ือนบา้ นใกลเ้ คียง - ส่ิงแวดล้อมทางโรงเรียน เด็กมีปัญหาทางการเรียน เนื่องจากเรียนไม่ทันเพ่ือน เบ่ือครู เบื่อ โรงเรียน ทาํ ใหห้ นีโรงเรียนไปอยูใ่ นสิง่ แวดล้อมท่ตี นพอใจ เปน็ เหตุใหต้ กเป็นเหยอื่ ของการติดยาเสพติด 3. ติดเพราะความผดิ ปกตทิ างรา่ งกายและจิตใจ ตอนที่ 2 วิธีป้องกนั และหลกี เลย่ี งการใช้สารเสพติด สารเสพตดิ มีอันตรายต่อผู้ใชห้ รอื ผเู้ สพ ดังนนั้ เราจึงตอ้ งมีวิธีปอ้ งกนั และหลีกเลีย่ งการใชส้ ารเสพตดิ 1. ครอบครวั ที่อบอุ่นจะเปน็ ร้วั ปอ้ งกนั สารเสพติดได้เป็นอย่างดี 2.ต้องมีใจคอหนักแน่น อาจมีเพอ่ื นชกั ชวนใหเ้ สพก็ต้องปฏิเสธอย่าไปเสพไม่ต้องเกรงใจเพอื่ นในทางท่ีผดิ 3. อย่าลองเป็นอันขาด เพราะจะนําไปสู่การใช้สารเสพติดบ่อยครั้งจนเกิดการติดได้ สารเสพติด บางอยา่ งเสพคร้ังสองครงั้ กต็ ดิ แลว้ 4. ต้องคิดใหม่ อย่าคิดแบบเก่า ๆ คือคิดว่าการเสพสารเสพติดเป็นส่ิงที่โก้เก๋ เพื่อนฝูงจะยอมรับ คือ ต้องคิดว่าคนที่เสพเป็นคนที่เสพเป็นคนที่น่าอับอาย น่ารังเกียจเป็นคนอ่อนแอชักจูงง่าย ถ้าเพ่ือนฝูงไม้รับ เพราะเราไมเ้ สพกช็ งั่ เขาไมต้ ้องไปคบดว้ ยกับเพอื่ นคนทช่ี ักชวน เราไปสู่ความหายนะ 5. ตอ้ งตระหนักถงึ พษิ ภัยเพราะสารเสพติดทุกชนดิ มพี ิษภยั ตอ่ ร่างกายท้ังสิน้ 6. ต้องตระหนกั ว่าการท่ีนกั เรยี นไปใชส้ ารเสพตดิ ถ้าพอ่ แม่ ผูป้ กครองรูจ้ ะทําให้ท่านเสียใจ 7. พยายามหลีกเล่ยี งจากสิง่ แวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การใช้สารเสพตดิ เช่น หลกี เลย่ี งจากเพือ่ น ที่ใชส้ าร เสพติดไม่ไปเทยี่ วสถานบนั เทงิ เริงรมย์ เป็นต้น 8. ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสารเสพติดชนิดต่าง ๆ เพ่ือให้รู้ถึงอันตรายและเรียนรู้วิธีหลีกเล่ียงและ ป้องกัน 9. ไม่ใช้สารเสพตดิ เพื่อการรกั ษาโรคด้วยตนเอง ยาบางชนดิ มสี ารเสพตดิ ผสมอยู่ เช่น ยาระงับปวดบาง ชนดิ ยาแก้ไอบางชนิด 10. ควรหากิจกรรมทําอย่าให้มีเวลาว่างมาก “ ลานกีฬาต้านยาเสพติด ’’ ซึ่งการเล่นกีฬาจะทําให้ สนุกสนาน มีเวลาว่างนอ้ ยลง กจ็ ะช่วยไม่ใหค้ นเราหนั เหไปใชส้ ารเสพติดได้ 11. ถา้ มีปัญหาไม่พ่งึ สารเสพติด ควรปรกึ ษาพ่อแม่ ผ้ปู กครอง ครู อาจารย์ ญาตผิ ใู้ หญ่ 12. ถ้าพบว่ามีการจําหน่าย จ่ายแจกสารเสพติดกันในสถานศึกษาให้แจ้งครูอาจารย์ ถ้านอกให้บอก ผ้ปู กครองให้ไปแจง้ ตํารวจ แต่ตอ้ งระมัดระวังในเรือ่ งความปลอดภยั ด้วย เพราะถ้าผ้จู าํ หน่ายรวู้ ่าใครขดั ผล ประโยชน์หรือทาํ ใหเ้ ขาเดอื ดรอ้ น สรุป ปัจจัยเส่ียงต่อสุขภาพ ประกอบด้วยปัจจัยเสี่ยงท่ีเกิดจากส่ิงแวดล้อม และปัจจัยเส่ียง ด้าน พฤตกิ รรม - ปัจจัยเส่ยี งท่ีเกดิ จากส่งิ แวดลอ้ ม เช่น การเกดิ อบุ ตั เิ หตุ การเกิดภัยธรรมชาติ เปน็ ตน้ - ปัจจัยเส่ียงด้านพฤติกรรม เช่น การติดสารเสพติด การบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพและถ้าคนเราสามารถหลีกเล่ียงปัจจัยเส่ียงและพฤติกรรมเสี่ยงดังท่ีกล่าวมาแล้วจะทําให้ร่างกายมี สุขภาพแข็งแรง และมีความปลอดภยั ในชีวติ
45 เรอ่ื งที่ 9.1.2 โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ หรือโรคส่งผ่านทางเพศสัมพันธ์(Sexually transmitted disease; STD) อาจ เรียกวา่ \"กามโรค\" (Venereal disease) หรอื \"วดี \"ี เกิดข้นึ จากการตดิ ต่อกนั ผา่ นทางเพศสมั พนั ธ์ ไม่ว่าจะเป็นการ ร่วมเพศทางชอ่ งคลอด ทางปาก หรอื ทวารหนัก สาเหตุของการเป็น โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ สาเหตุของการตดิ เชอื้ ทางเพศสัมพันธ์ แบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ คือ 1. เกิดจากเช้ือไวรัส ซึ่งบางชนิดสามารถรักษาให้หายขาดได้ บางชนิดไม่มียารักษา และบางชนิด ยงั สามารถฝงั ตวั อยู่ และกลับมาเป็นซํ้าได้อกี โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธท์ ีเ่ กิดจากเช้ือไวรัส ได้แก่ - เรมิ ท่ีอวยั วะเพศ - หดู หงอนไก่ - ไวรสั ตับอักเสบบี ฯลฯ 2. เกดิ จากเช้ือแบคทเี รยี สามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้ ด้วยการใช้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ - ซฟิ ิลสิ - หนองใน - หนองในเทียม - ทอ่ ปสั สาวะอักเสบ - ช่องคลอดอกั เสบ ฯลฯ 3. เกดิ จากเช้ืออน่ื ๆเช่น พยาธิ สามารถรกั ษาใหห้ ายขาดได้ ดว้ ยการใช้ยาปฏิชวี นะ กล่มุ เสย่ี งตอ่ การเปน็ โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ คนทม่ี เี พศสมั พนั ธก์ ับชาย หรอื หญงิ บริการ ใน 3 เดอื นกอ่ นหน้า คนท่ีมคี ่นู อนมากกวา่ 1 คน ในช่วง 3 เดอื นก่อนหนา้ คนทมี่ เี พศสมั พันธก์ ับคู่คนใหม่ ในช่วง 3 เดอื นกอ่ นหน้า ผทู้ ีม่ ีประวัตปิ ่วยเปน็ โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ใน 1 ปที ่ผี ่านมา ผ้ทู มี่ ีคคู่ รองอยู่คนละที่ อาการแบบใด สงสยั เป็น โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ หากมีอาการเหล่าน้ี สามารถสงสัยไดว้ า่ เปน็ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ในผู้ชายจะมีอาการปัสสาวะแสบขัด ขาหนีบบวม หรือเป็นฝี เจ็บปวดอวัยวะเพศ มีผื่น ตุ่ม แผล บรเิ วณอวัยวะเพศ มีเมือกใส หรือหนองไหลออกมา ในผู้หญิงจะรู้สึกเจ็บ เสียวท้องน้อย ขาหนีบบวม หรือเป็นฝี เจ็บปวด คันอวัยวะเพศ มีผื่น ตุ่ม แผล บริเวณอวัยวะเพศ มตี กขาวสเี หลือง มกี ลน่ิ เหมน็
46 โรคติดตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ ที่สําคญั ได้แก่ 1. โรคเอดส์ (AIDS) หรือกลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเส่ือม เกิดจากการรับเช้ือ Human immunodeficiency virus หรือ HIV เข้าไปทําลายเม็ดเลือดขาว ท่ีเป็นแหล่งสร้างภูมิคุ้มกันโรค ทําให้ภูมิคุ้มกันโรคลดน้อยลง จึงทําให้เช้ือโรคฉวย โอกาสแทรกซ้อนเข้าสู่ร่างกายได้ง่ายข้ึน เช่น มะเร็ง วัณโรค และสาเหตุการเสียชีวิตก็มักเกิดข้ึนจากโรคติดเชื้อ ฉวยโอกาสตา่ งๆ เหล่าน้ี ที่จะทาํ ใหอ้ าการรุนแรง และเสียชีวิตอย่างรวดเรว็ 2. หนองใน (Gonorrhoea) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อ Neisseria gonorrhoeae ทําให้เกิดอาการ ระคายเคืองในท่อปัสสาวะ แสบขัดเวลาปัสสาวะ และมีหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ อาจจะทําให้เกิดการ อกั เสบในช่องท้อง หรือเป็นหมันหากไม่ได้รบั การรกั ษา 3. หนองในเทยี ม (Non-gonococcal Urethritis/Non gonococcal Cervicitis) เปน็ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ทําให้มีอาการแสบปลายท่อปัสสาวะ ปัสสาวะขัดและมีหนองไหล และ มีมกู ออกเล็กนอ้ ยโดยเฉพาะในช่วงเชา้ ส่วนผ้หู ญงิ อาจมีอาการตกขาวผดิ ปกติ 4. แผลริมออ่ น (Chancroid) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดจากเชื้อ Haemophilus Ducreyi ทําให้เกิดแผลท่ีอวัยวะเพศ บวม และเจ็บ บางคนมีต่อมนํ้าเหลืองท่ีขาหนีบ หรือที่ชาวบ้านเรียกไข่ดันบวม หากไม่รักษาหนองจะแตกออกจาก ต่อมนํ้าเหลือง มักมีหลายแผล ขอบแผลนุ่มและไม่เรียบ ก้นแผลสกปรกมีหนอง มีเลือดออกง่าย เวลาสัมผัส เจ็บปวดมาก บางรายตอ่ มน้ําเหลอื งท่ีขาหนีบจะบวม และเปน็ ฝี เม่ือฝแี ตกจะเป็นแผล 5. เริมทอ่ี วยั วะเพศ (Genita Herpes Simplex Virus Infection) เปน็ โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ท่เี กดิ เชือ้ ไวรสั herpes simplex virus ทําใหเ้ กดิ อาการปวดแสบบริเวณ ขา ก้นหรอื อวัยวะเพศ และตามด้วยผ่ืนเป็นตุ่มน้ําใส แผลหายได้เองใน 2-3 สัปดาห์ แต่เชื้อยังอยู่ในร่างกาย เมือ่ รา่ งกายอ่อนแอ เชอื้ ก็จะกลบั เป็นใหม่ 6. หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดจากเช้ือไวรัส Molluscum contagiosum virus (MCV) ทําให้เกิด เปน็ ตุ่มนนู บนผวิ หนงั ผวิ เรียบขนาดเลก็ ขนาดประมาณ 2-5 มิลลเิ มตร จะพบมากขึ้นในรายที่มีการติดเชื้อ HIV จํานวนตุม่ ที่เกิดขน้ึ อาจมมี ากหรือน้อยขึ้นกับสภาพร่างกายของผู้ป่วยขณะน้ันว่าร่างกายมีความแข็งแรงเพียงใด ถ้าใช้เข็มสะกิดตรงกลางแล้วบีบดูจะได้เน้ือหูดสีขาวๆ คล้ายข้าวสุก มักเป็นที่บริเวณหัวหน่าว อวัยวะเพศ ภายนอกและโคนขาดา้ นใน 7. หดู หงอนไก่ (Condyloma Acuminata) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เกิดจากไวรัส Human papilloma virus ลักษณะเป็นติ่งเน้ืออ่อน ๆ สี ชมพคู ล้ายหงอนไก่ ชอบขน้ึ ทีอ่ ุน่ และอบั ชื้น ในผู้ชายมักพบท่อี วยั วะเพศ บรเิ วณใต้หนังหมุ้ ปลายอวยั วะเพศ ชาย ตลอดทั้งบริเวณรอบรอยเปิดขอบ, ท่อปัสสาวะ และอัณฑะ ส่วนผู้หญิงจะพบที่ปากช่องคลอด ผนังช่อง คลอด ปากมดลูก ปากทวารหนักและฝีเย็บ ถ้าไมร่ ีบรกั ษาจะเป็นมากขึ้น และทารกอาจตดิ เชอ้ื ไดข้ ณะคลอด 8. หิด (Scabies) เกิดจากตัวไร Sarcoptes scabei ลักษณะจะมีตุ่มน้ําใสและตุ่มหนองคันข้ึนกระจายทั้ง 2 ข้างของ ร่างกาย มักพบตามง่ามน้ิวมือ ข้อศอก รักแร้ รอบหัวนม รอบสะดือ อวัยวะสืบพันธุ์ ข้อเท้า หลังเท้า ก้น ผู้ป่วย มักมีอาการคันมาก โดยเฉพาะเวลากลางคืน สามารถติดต่อได้จากการสัมผัสใกล้ชิด สัมผัสทางเพศหรือ อยู่ ใกล้ชิดกบั ผปู้ ว่ ย
47 9. ซฟิ ลิ สิ (Syphilis) เกดิ จากการติดเชื้อ Treponema pallidum เป็นโรคท่ีมีอันตราย และมีอาการเร้ือรัง สามารถติดต่อ ยาวนานกวา่ 2 ปี ลกั ษณะการติดเช้อื เร่ิมแรกจะเปน็ กอ้ นแขง็ แตไ่ ม่เจบ็ ท่ีบรเิ วณอวัยวะเพศ หากไม่รักษา จะกลายเป็นระยะที่สองที่เรียกว่า เข้าข้อหรือออกดอก ถ้าท้ิงไว้นานจะทําให้เกิดโรค แก่ระบบต่างๆ ของ ร่างกายหลายระบบ ทง้ั ซิฟลิ สิ ระบบหัวใจและหลอดเลอื ด ซิฟิลิสระบบประสาท เปน็ ตน้ นอกจากนี้ 10. โลน (Pediculosis Pubis) เกิดจากแมลงตัวเล็กที่เรียกว่า pediculosis pubis อาศัยอยู่ท่ีขนหัวเหน่า ชอบไชตามรากขนอ่อน และดูดเลือดคนเป็นอาหาร ผู้ท่ีเป็นโรคน้ี จะมีอาการคัน เมื่อเกาจะทําให้เจ้าตัวเชื้อแพร่ไปยังบริเวณอื่นได้ การวินิจฉัยสามารถทําได้ด้วยตาเปล่า จะพบไข่สีขาวเกาะตรงโคนขนไข่จะมีลักษณะวงรี ส่วนตัวแมลงเมื่อกิน เลือดเต็มที่จะออกสีนํ้าตาล ติดต่อได้จากการสัมผัสทางเพศกับผู้ป่วย หรือใช้กางเกงในร่วมกัน การรักษา สามารถซ้ือยาทาไดต้ ามรา้ นขายยา แตค่ นท้องหรอื เด็กควรจะปรึกษาแพทย์ 11. พยาธชิ ่องคลอด (Vaginal Trichomoniasis) เกิดจากเช้ือโปรโตซัว Trichomonas vaginalis ผู้ป่วยจะมีอาการตกขาวผิดปกติ มีสีเขียวขุ่นหรือ เหลืองเข้ม มฟี องอากาศและมีกล่ินเหมน็ เกดิ การระคายเคืองบรเิ วณอวัยวะเพศ เจ็บปวดขณะมีเพศสัมพันธ์ คันและแสบปากช่องคลอด 12. เช้อื ราในชอ่ งคลอด (Vaginal Candidiasis) เกิดจากเชื้อรากลุ่ม Candida ซ่ึงร้อยละ 80 - 90 เกิดจาก Candida albicans ทําให้มีอาการระคาย เคอื งบริเวณชอ่ งคลอด มกี ารตกขาวขุ่นจับเปน็ กอ้ น อาจมีอาการปัสสาวะแสบขัด เจบ็ ขณะรว่ มเพศ 13. อุ้งเชิงกรานอักเสบ (Pelvic Inflammatory Diseases, PID) หรอื โรคปกี มดลกู อักเสบ เกิดจากการติดเชื้อของมดลูก รังไข่ หรือท่อรังไข่ อาจเสียชีวิตได้หากติด เช้ือรุนแรง และหากไมร่ กั ษา อาจเกดิ โรคแทรกซอ้ นจนเป็นหมนั หรือเสยี ชีวิตได้ 14. แผลกามโรคเรอ้ื รังท่ีขาหนีบ (Granuloma inguinale) เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Donovania granulomatis โดยจะมีแผลที่บริเวณอวัยวะเพศ ขาหนีบ ซอกขา หรอื บรเิ วณหนา้ และไมพ่ บในประเทศไทย มักพบในคนผวิ ดาํ การป้องกัน โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์ วิธีป้องกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธค์ ือ 1. ใส่ถงุ ยางอนามยั หากจะมีเพศสมั พนั ธ์กบั คนที่ไม่แน่ใจว่ามีเช้อื หรือไม่ 2. รักษาความสะอาดของรา่ งกายและอวยั วะเพศอยา่ งสมาํ่ เสมอ 3. ไม่เปล่ยี นคนู่ อน ใหม้ ีสามี หรอื ภรรยาคนเดยี ว 4. ไม่ควรมีเพศสัมพันธ์ต้ังแต่ยังอายุน้อย เนื่องจากมีสถิติว่า ผู้ท่ีมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อยจะมี โอกาสติดโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์สงู 5. ตรวจโรคเปน็ ประจาํ ทกุ ปี เพือ่ หาเชื้อโรค แม้จะไม่มอี าการใด ๆ โดยเฉพาะคทู่ ี่กาํ ลังจะแต่งงาน 6. เรียนรู้ ศกึ ษาอาการของโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พันธ์ 7. ไม่ควรมเี พศสัมพันธข์ ณะมปี ระจาํ เดอื น เพราะจะทาํ ใหเ้ กดิ โรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์ไดง้ า่ ย 8. ไม่ควรมเี พศสมั พนั ธท์ างทวารหนัก หากจําเป็นให้สวมถุงยางอนามยั 9. ไม่ควรสวนล้างช่องคลอด เพราะจะทําให้เกิดการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ง่าย
48 วิธีปฏิบัติตวั ของผู้ท่เี ปน็ โรคติดต่อทางเพศสมั พันธ์ 1. ต้องรักษาอย่างรวดเรว็ เพื่อปอ้ งกันการแพร่เชอ้ื โรค 2. แจง้ คู่นอนใหท้ ราบวา่ เป็นโรคตดิ ต่อทางเพศสมั พนั ธ์เพ่อื จะไดป้ อ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ชอ้ื แพร่ไปสู่คนอน่ื 3. รกั ษาอาการ และปฏิบัตติ วั ตามคําแนะนาํ ของแพทยอ์ ย่างเคร่งครดั 4. หลีกเล่ยี งการมีเพศสัมพนั ธ์ หรือการสาํ เรจ็ ความใครด่ ้วยตัวเอง เพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้อาการอักเสบ ลุกลาม 5. งดด่ืมเครื่องดม่ื แอลกอฮอล์ ของมนึ เมาทุกชนิด 6. ไม่ควรซ้อื ยามารกั ษาเอง ควรปรกึ ษาแพทย์ เพื่อให้ได้รบั การรักษาที่ถกู ต้อง
49 เรื่องท่ี 9.1.3 อุบตั เิ หตุ อุบัตเิ หตุ หมายถึง เหตกุ ารณ์ที่เกดิ ขน้ึ โดยไมค่ าดคดิ อาจเกิดจากความประมาทของตนเองหรอื จาก คนอน่ื ๆ หรอื จากเหตกุ ารณ์สดุ วิสัย เชน่ ฟา้ ผ่า น้าํ ท่วม ชนิดของอุบัตเิ หตภุ ายในบ้านอุบตั เิ หตุที่เกิดขึ้นภายในบา้ น อาจจาํ แนกออกเป็นชนิดตา่ งๆ ได้ดงั น้ี 1) การพลัดตกหกล้ม 2) ไฟไหม้ นํ้ารอ้ นลวด 3) การถูกของแหลมคมอปุ กรณ์และอาวุธปนื 4) การได้รบั สารพิษ 5) การไดร้ ับแกส๊ หุงตม้ 6) ทางเดินหายใจอดุ ตนั 7) การจมน้าํ สถานทเี่ กิดอบุ ัตเิ หตุท่บี ้าน - อุบัตเิ หตุทีบ่ า้ นมกั เกดิ ขึ้นตามสถานท่ีตา่ ง ๆ ดังนี้ - สนามและลานหนา้ บา้ น - รั้วบา้ น ประตู หน้าต่าง - พืน้ บา้ นระเบยี งบ้าน
50 แผนการเรียนรูป้ ระจําบท บทท่ี 10 การปอ้ งกนั หลกี เล่ียงและทักษะการชว่ ยฟื้นคืนชีพ สาระสําคัญ ปจั จบุ นั อบุ ัติเหตุเป็นส่ิงที่ทุกคนพยายามหลีกเล่ียงและหาวธิ ปี อ้ งกนั แต่ก็ไมส่ ามารถป้องกันได้ทุกกรณี ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือผู้ท่ีป่วยกะทันหัน จําเป็นต้องได้รับการปฐมพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ เพ่ือให้พ้นจากความพิการหรืออันตรายแก่ชีวิตก่อนนําส่งโรงพยาบาลการปฐมพยาบาลจึงเป็นส่ิงสําคัญ และ จําเปน็ เพอ่ื ชว่ ยเหลือผปู้ ว่ ยเบือ้ งตน้ โดยใช้อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เท่าทม่ี ีอยู่ หรือจดั หาไดใ้ นทีเ่ กดิ เหตุ ผลการเรียนรทู้ ี่คาดหวัง แสดงทกั ษะการให้ความชว่ ยเหลอื เมื่อเกิดสถานการณ์คบั ขนั และการช่วยฟ้ืนคนื ชพี ได้อย่างถูกตอ้ ง ขอบข่ายเน้อื หา การป้องกันหลีกเล่ียงและการให้ความช่วยเหลือเมื่อเกิดอุบัติเหตุอัคคีภัยและ อันตรายจากมลพิษและ สารเคมี กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ศกึ ษาเอกสาร 2. ทาํ กจิ กรรมที่ไดร้ บั มอบหมาย ส่ือประกอบการเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. ส่ือ VCD 3. แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน ประเมินผล -
51 ตอนที่ 10.1 การปฐมพยาบาลและทักษะการชว่ ยฟน้ื คนื ชพี การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ ณ สถานท่ีเกิดเหตุ โดยใช้ อุปกรณ์เท่าท่ีจะหาได้ในขณะน้ัน ก่อนท่ีผู้บาดเจ็บจะได้รับการดูแลรักษาจากบุคลากรทางการแพทย์ หรอื สง่ ต่อไปยังโรงพยาบาล การปฐมพยาบาล มวี ตั ถปุ ระสงคท์ ส่ี ําคัญ คือ 1. เพอื่ ช่วยชวี ติ 2. เพอ่ื เป็นการลดความรนุ แรงของการบาดเจบ็ หรือการเจบ็ ป่วย 3. เพ่อื ทาํ ให้บรรเทาความเจ็บปวดทรมาน และช่วยทรมาน และช่วยใหก้ ลบั สู่สภาพเดมิ โดยเร็ว 4. เพื่อปอ้ งกนั ความพิการท่ีจะเกดิ ขน้ึ ตามมาภายหลังการปฐมพยาบาลแบบต่าง ๆ การปฐมพยาบาลการช่วยฟนื้ คืนชีพผูไ้ ดร้ บั อบุ ตั ิเหตุ 1. ตรวจดูการหายใจ การทํางานของหัวใจ พร้อมท้งั ใหก้ ารชว่ ยเหลือ 2. อย่าเคลอื่ นย้ายผไู้ ด้รบั บาดเจ็บจากตาํ แหน่งเดมิ ยกเว้น ในกรณที ่อี าจมีอันตรายทั้งผู้บาดเจ็บ และผู้ ปฐมพยาบาล 3. หม่ ผ้าให้ผู้ปว่ ยเพอื่ ปอ้ งกันการชอ้ ค 4. ขยายเข็มขัดและเสอื้ ผ้าใหห้ ลวม 5. ถา้ มแี ผลควรพนั ผา้ ให้ และถา้ กระดูกหกั ต้องเขา้ เฝือกช่ัวคราวให้ 6. ถ้าผปู้ ่วยมีสติดี ชวนผปู้ ่วยคยุ เพ่ือใหเ้ กิดความสบายใจ 7. อย่กู ับผู้บาดเจ็บ จนกระทง่ั ส่งผู้บาดเจบ็ แกห่ นว่ ยกภู้ ยั ตาํ รวจ หรอื ญาติ 8. พงึ ระลึกถึงขอบเขตและความสามารถของตนเองในการให้ปฐมพยาบาล
52 ตอนที่ 10.2 ทักษะการช่วยฟื้นคนื ชพี 1. อบุ ตั ิเหตทุ างรถยนต์ 1. ผูใ้ ห้การชว่ ยเหลอื ตอ้ งตง้ั สติใหด้ ี อยา่ แสดงอาการทท่ี ําให้ผปู้ ่วยเสียขวญั ตดั สินใจวา่ อะไรเป็นสิ่ง จําเปน็ ที่จะต้องให้การชว่ ยเหลือกอ่ น หรอื หลงั หรอื มีความจาํ เป็นตอ้ งสง่ ผู้ปว่ ย เพื่อรบั การรกั ษาที่โรงพยาบาล ทันที 2. สงิ่ แวดล้อม อย่าใหค้ นมงุ ดู เคลื่อนย้ายผูป้ ่วยให้ถูกวธิ ีจากสถานที่เกดิ เหตุ ประเมินสถานการณ์ของ อบุ ตั ิเหตุท่ีเกดิ ข้ึน ขนั้ ตอนประเมนิ สภาพผบู้ าดเจบ็ ฉุกเฉนิ - ตรวจดชู พี จร - ตรวจบาดแผลมีเลือดออกหรือไม่ - ตรวจดูสผี วิ - ตรวจดูการเคล่ือนไหวของรา่ งกาย
53 2. กรณโี ดนไฟดดู ย่ิงถา้ เป็นลูกของเรา พ่อแม่มักจะตกใจ และความรีบร้อนช่วยลูกจึงเข้าไปฉุดมือดึงแขน หรือดงึ ตวั ลกู โดยทนั ที ซึ่งนัน่ เท่ากบั นาํ ตวั เองไปเปน็ เหยอ่ื ไฟช็อตอกี คนโดยหมดโอกาสที่จะช่วยทั้ง ชีวิตลูกและตนเอง วิธกี ารทถี่ ูกตอ้ งกค็ อื 1) ก่อนอื่นจะต้องตัดทางเดินกระแสไฟฟ้าโดยการสับฟิวส์,ยกคัทเอ๊าท์ลง หรือดึง ปลั๊กออก (การปิดสวิตซ์ในตัวเครื่องไฟฟ้าแต่เพียงอย่างเดียวจะไม่ได้ผลเพราะยังไม่ตัดกระแสไฟที่เข้าสู่ ตวั เครื่อง) 2) หากยังไม่สามารถตัดทางเดินกระแสไฟได้ทันทีให้หาวัตถุที่ไม่เป็นส่ือไฟฟ้า เชน่ ไม้แห้งๆ,เชอื ก,สายยาง,แผน่ ยาง,เกา้ อี้ไมห้ รอื ผา้ หม่ คลอ้ ง-ดงึ หรือผลักผู้ที่โดนไฟดูด ให้หลุด พน้ จากจดุ ทีโ่ ดนดดู และเพ่ือความปลอดภัย ผู้ทชี่ ่วยเหลอื ควรยนื อย่บู นพ้ืนท่ีแห้ง 3) หลังจากท่ีช่วยผู้เคราะห์ร้ายออกมาจากไฟดูดได้แล้วถ้าพบว่าเขาไม่หายใจ, หวั ใจไม่เต้น กต็ อ้ งกระต้นุ โดยการเป่าปาก และกดทรวงอก
54 3. กรณโี ดนนํ้าร้อนลวก ผู้ท่ไี ดร้ บั บาดเจ็บจากการถกู ของรอ้ นลวก ถงึ 2ข้นั ตอน คือ 1. การทาํ ให้บริเวณทโ่ี ดนของรอ้ นลวกให้เยน็ ลงโดยเร็ว เชน่ ให้แผลได้แช่ในอา่ งนาํ้ เยน็ หรอื ปล่อยให้ น้ําก๊อกไหลผ่านอย่างน้อยสัก 10นาที จากน้ันก็ใช้ผ้าก๊อซซับแผลให้แห้งแล้วใช้ผ้าก๊อซที่แห้งและสะอาด ปิด คลมุ บาดแผลแต่อย่าใหแ้ นน่ เพราะแผลทโี่ ดนของร้อนลวกจะมีอาการบวม 2. ผิวท่ีโดนลวกหรือไหม้ จะมีตุ่มเล็กๆใสๆข้ึนท่ีแผลเสมอหลายคนเห็นเข้าเป็นต้องเอาเข็มไปเจาะให้ แตกอย่าทําเช่นนั้น เพราะจะทําให้เกิดการติดเช้ือได้ง่ายๆ ซํ้ามันยังอาจเข้าสู่ผิวหนังชั้นในทําให้อักเสบเข้า ไปใหญ่ข้อแนะนําเมื่อแผลขึ้น “ตุ่มน้ํา”ก็คือ ... ปล่อยไว้อย่างนั้นแล้วซับให้แห้ง จากน้ันก็ใช้สําลีชุบ แอลกอฮอลเ์ ช็ดรอบๆตมุ่ น้ํานั้นอย่างเบาๆ 4. กรณีจมนํ้า การปฐมพยาบาลเด็กจมนํา้ ทีไ่ ม่หายใจและ/หรือ หัวใจไม่เตน้ 1) เรียกผอู้ ยขู่ ้างเคียงให้มาช่วยเหลือและใหผ้ ชู้ ่วยโทรขอความชว่ ยเหลือหนว่ ยฉุกเฉนิ ท่ี 1669 2) เปิดทางเดนิ หายใจ โดยให้เดก็ นอนราบกดหนา้ ผากลงและเชยคางข้ึนเบาๆ 3) ตรวจการหายใจโดยมองหนา้ อกหรอื ท้องวา่ มีการเคลือ่ นไหวหรือไมฟ่ ังดูวา่ มเี สยี งหาย หรือไม่ก็ สมั ผัส โดยแนบใบหน้าไปใกลจ้ มกู และปากของเด็กเพอื่ สมั ผัสลมหายใจ 4) ในกรณีอายุน้อยกว่า 1 ปี ช่วยการหายใจโดยประกบปากของผู้ช่วยเหลือครอบจมูกและปากเด็ก และเป่าลมหายใจออก 2 คร้ังโดยให้แต่ละครั้งยาว 1-2 วินาที และสังเกตุว่าหน้าอกของเด็กขยายตามการเป่า ลมหรอื ไม่ 5 ) คลําชีพจร บริเวณต้นแขนด้านในคร่ึงทางระหว่างข้อศอกและหัวไหล่ถ้าเด็กไม่หายใจแต่มีชีพจร ให้ทําการเป่าปากต่อเพียงอย่างเดียวโดยทํา 20 ครั้งต่อนาที หรือ เป่าปาก 1 คร้ังต่อ 3 วินาที ถ้าเด็กไม่ หายใจและไมม่ ีชีพจรใหท้ ําการกระตุ้นการเต้นของหัวใจ 6) กระตุ้นการเต้นของหัวใจโดยหาตําแหน่งของการกดหน้าอกเพ่ือกระตุ้นหัวใจได้โดยลากเส้นสมมติ ระหว่างหัวนมทั้งสองข้าง ตําแหน่งที่จะกดคือ บนกระดูกหน้าอกใต้ต่อเส้นสมมติท่ีลากระหว่างหัวนมทั้งสอง ข้างลงมา กดโดยใช้น้ิวสองน้ิว กดลึกให้กระดูกหน้าอกยุบลงประมาณ 1-1.5 น้ิวความถี่ของการกดคือกด หนา้ อก 5 ครัง้ สลับกับการใหผ้ ้ชู ่วยระบบหายใจเป่าปาก 1 คร้งั
55 7) ในกรณีอายมุ ากกว่า 1 ปี เป่าปากไดโ้ ดยประกบปากของผู้ช่วยเหลือบนปากเด็กเท่านั้น (ไมร่ วม จมูก)เม่อื ต้องนวดหวั ใจ ใหห้ าตําแหนง่ ของการกดหน้าอกได้โดยลากน้ิวตามขอบชายโครงชา้ งใดข้างหนึ่งจนถงึ กงึ่ กลางซง่ึ ชายโครงทง้ั สองขา้ งมาชนกนั เรียกว่าจุดปลายลา่ งกระดูกหน้าอก ตําแหนง่ ทีจ่ ะกดคอื บนกระดกู หน้าอกเหนือต่อจดุ ปลายล่างกระดกู หน้าอก 1 ความกว้างของนิ้วมอื จรงิ กดโดยใชส้ ้นมอื กดลกึ ให้กระดกู หน้าอกยุบลงประมาณ 1-1.5 นิว้ ความถ่ีของการกดคือกดหนา้ อก 5 ครง้ั สลับกับการใหผ้ ชู้ ว่ ยระบบหายใจเป่า ปาก 1 ครง้ั
56 บรรณานุกรม โกวทิ ประวาลพฤกษ์ และคณะ.(25455). ค่มู อื การจัดการเรยี นร้กู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้สขุ ศึกษาและพล ศกึ ษา :พลศึกษา ชว่ งชน้ั ที่3 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 กรุงเทพมหานคร : สถาบนั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ. ดร.รัชนี ขวญั บุญจัน และคณะ.(2554). สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1กรุงเทพมหานคร : ไทย วฒั นาพานชิ . ยพุ าพร ทองตั้ง และคณะ.(2546). พลศกึ ษา ม.1กรงุ เทพมหานคร :สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ. รศ.ดร.สมหมาย แตงสกลุ และคณะ.(2554). สุขศึกษาและพลศึกษา ช่วงชัน้ ท่ี 3 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 กรุงเทพมหานคร :บรษิ ัทวัฒนาพานชิ จํากัด. อทุ ัย สงวนพงศ์ และคณะ.(2546). พลศึกษา ม.1 กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั อักษรเจรญิ ทศั นจ์ าํ กดั รชั นี ขวญั บุญจัน และคณะ.(2547).หนังสือเรียนสาระการเรียนรพู้ น้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชว่ งชนั้ ท่ี4 ช้ันมัธยมศึกษาปที 5ี่ . กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพาณิช.
57 คณะผู้จดั ทาํ ทีป่ รกึ ษา กันทาโย ผู้อาํ นวยการ กศน.อาํ เภอเวียงแหง นางสาววจิ ติ ร ธาตอุ ินจันทร์ ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอเวียงแหง ผ้จู ดั ทํา นายพทิ ยา
58 คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แก้ไข ท่ปี รกึ ษา นายศุภกร ศรศี ักดา ผูอ้ ํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จังหวัดเชียงใหม่ นางมนี า กติ ิชานนท์ รองผอู้ ํานวยการสาํ นักงาน กศน.จงั หวัดเชยี งใหม่ คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แกไ้ ข นางณชั ชา ทะภมู นิ ทร์ ผู้อํานวยการ กศน.อาํ เภอดอยเตา่ ประธานกรรมการ นายพทิ ยา ธาตุอินจันทร์ ครู คศ.1 กศน.อําเภอเวียงแหง กรรมการ นางสาวศริ พัชร์ วรเศรษฐกุลไชย ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอพร้าว กรรมการ นางปภนิ ดา เอกชัยอาภรณ์ ครูอาสาสมคั รฯ กศน.อาํ เภอเมืองเชียงใหม่ กรรมการ นายสกล ศรีนา ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสันกําแพง กรรมการ นางสาวพัชวรรณ อําพนั ธส์ ี ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสันทราย กรรมการ นางเดอื นฉาย แต้มมาก ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอหางดง กรรมการ นางสาวแสงระวี แกว้ รากมุก ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอหางดง กรรมการ นางสาวสรุ ัสวดี สุวรรณพงศ์ ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอหางดง กรรมการ นางสาวจันทรจ์ ริ า อ่อนอ้น นักวเิ คราะห์นโยบายและแผน สํานักงาน กศน.จังหวดั เชียงใหม่ กรรมการ และเลขานกุ าร
56 บรรณานุกรม โกวิท ประวาลพฤกษ และคณะ.(25455). คูมือการจดั การเรียนรูกลุม สาระการเรยี นรูสุขศึกษาและพล ศกึ ษา :พลศึกษา ชวงช้ันที่3 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ่ี 1-3 กรุงเทพมหานคร : สถาบันพัฒนาคุณภาพวชิ าการ. ดร.รัชนี ขวัญบุญจัน และคณะ.(2554). สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 1กรุงเทพมหานคร : ไทย วัฒนาพานชิ . ยพุ าพร ทองต้งั และคณะ.(2546). พลศกึ ษา ม.1กรงุ เทพมหานคร :สถาบันพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ. รศ.ดร.สมหมาย แตงสกุล และคณะ.(2554). สุขศึกษาและพลศึกษา ชวงช้นั ท่ี 3 ชั้นมัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 กรงุ เทพมหานคร :บรษิ ัทวฒั นาพานชิ จํากดั . อทุ ัย สงวนพงศ และคณะ.(2546). พลศึกษา ม.1 กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัทอกั ษรเจริญทศั นจ าํ กดั รชั นี ขวัญบญุ จัน และคณะ.(2547).หนงั สอื เรยี นสาระการเรียนรพู ้นื ฐาน กลมุ สาระการเรยี นรู สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ชวงช้นั ที่4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี5. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณชิ .
57 คณะผจู ดั ทํา ท่ปี รกึ ษา กศน.อาํ เภอเวยี งแหง นางสาววิจติ ร กันทาโย ผอู ํานวยการ ผจู ดั ทํา นายพทิ ยา ธาตุอินจันทร ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอเวยี งแหง
58 คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรุงแกไข ท่ปี รึกษา นายศภุ กร ศรีศักดา ผูอาํ นวยการสํานักงาน กศน.จังหวดั เชียงใหม นางมนี า กติ ิชานนท รองผอู ํานวยการสาํ นกั งาน กศน.จังหวดั เชยี งใหม คณะบรรณาธกิ าร/ปรับปรุงแกไข นางณัชชา ทะภมู ินทร ผอู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอ ดอยเตา ประธานกรรมการ กรรมการ นายพิทยา ธาตุอินจนั ทร ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอเวียงแหง นาง สาวศิรพชั ร วรเศรษฐกุลไชย ครู คศ.1 กศน.อาํ เภอพราว กรรมการ นางปภินดา เอกชยั อาภรณ ครู อาสาสมัครฯ กศน.อําเภอเมอื งเชียงใหม กรรมการ นายสกล ศรีนา ครู กศน.ตําบล กศน.อําเภอสันกาํ แพง กรรมการ นางสาวพชั วรรณ อาํ พนั ธส ี ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอสนั ทราย กรรมการ นางเดือนฉาย แตม มาก ครู กศน.ตําบล กศน.อาํ เภอหางดง กรรมการ นางสาวแสงระวี แกว รากมุก ครู กศน.ตาํ บล กศน.อําเภอหางดง กรรมการ นางสาวสุรสั วดี สวุ รรณพงศ ครู กศน.ตาํ บล กศน.อาํ เภอหางดง กรรมการ นางสาวจันทรจริ า ออ นอน นักวเิ คราะหน โยบายและแผน สาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั เชยี งใหม กรรมการ และเลขานุการ
Search