Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการในพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทย กลุ่มที่ 11

โครงการในพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทย กลุ่มที่ 11

Published by sirikamonk60, 2017-11-19 12:39:12

Description: นำเสนอเนื้อหาสาระความรู้เกี่ยวกับโครงการพระราชดำริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทยในรัชกาลที่ 9
อันได้แก่ โครงการหน่วยแพทย์พระราชทาน โครงการแพทย์หลวงเคลื่อนที่พระราชทาน โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์ หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัยศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพ้พระราชทาน โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์ และโครงการอบรมปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยคลอดฉุกเฉินสำหรับตำรวจจราจร

Search

Read the Text Version

1โครงการพระราชดาริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทย จัดทาโดยนางสาวศิริวรรณ ศรีพลนอ้ ย รหสั นิสิต 60662154นางสาวศุภมาส แสนโส รหสั นิสิต 60662222นางสาวโศภิษฐา สนั แดง รหสั นิสิต 60662260นางสาวสกลสุภา สีทาโฮม รหสั นิสิต 60662277นางสาวสมฤดี อินทร์คา รหสั นิสิต 60662307นางสาวสายฝน แดงดว้ ง รหสั นิสิต 60662369นางสาวสิริกมล กาแพงแกว้ รหสั นิสิต 60662406นางสาวสุชานนั ท์ นนทะสนั รหสั นิสิต 60662437นางสาวสุดารัตน์ สมพมิตร รหสั นิสิต 60662451นายอนตั ต์ สมศิริ รหสั นิสิต 60662628

2โครงการพระราชดาริด้านการแพทย์และสาธารณสุขไทย จดั ทาโดยนางสาวศิริวรรณ ศรีพลนอ้ ย รหสั นิสิต 60662154นางสาวศุภมาส แสนโส รหสั นิสิต 60662222นางสาวโศภิษฐา สนั แดง รหสั นิสิต 60662260นางสาวสกลสุภา สีทาโฮม รหสั นิสิต 60662277นางสาวสมฤดี อินทร์คา รหสั นิสิต 60662307นางสาวสายฝน แดงดว้ ง รหสั นิสิต 60662369นางสาวสิริกมล กาแพงแกว้ รหสั นิสิต 60662406นางสาวสุชานนั ท์ นนทะสนั รหสั นิสิต 60662437นางสาวสุดารัตน์ สมพมิตร รหสั นิสิต 60662451นายอนตั ต์ สมศิริ รหสั นิสิต 60662628 เสนอรายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 001211 สารสนเทศศาสตร์เพอื่ การศึกษาค้นคว้า (Information Science for Study and Research) รายวชิ าศึกษาทวั่ ไป กลุ่มวชิ ามนุษยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2560

3 คานา รายงานฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนเพ่ือเป็ นส่วนหน่ึงของรายวิชาสารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้(Information Science for Study and Research)นาเสนอเน้ือหาสาระความรู้เก่ียวกบั โครงการพระราชดาริดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขไทยในรัชกาลที่ 9อนั ไดแ้ ก่ โครงการหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน โครงการแพทยห์ ลวงเคลื่อนท่ีพระราชทาน โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์ หน่วยทนั ตกรรมเคลื่อนท่ีพระราชทาน โครงการศลั ยแพทยอ์ าสาราชวทิ ยาลยัศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และโรคภูมิแพพ้ ระราชทาน โครงการอบรมหมอหมู่บา้ นในพระราชประสงค์ และโครงการอบรมปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ และการช่วยคลอดฉุกเฉินสาหรับตารวจจราจร เพือ่ ใหผ้ ทู้ ี่สนใจสามารถศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ ต้งั แต่ความเป็ นมาของโครงการ รวมไปถึงหนา้ ที่ของผู้ดาเนินโครงการหรือมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั โครงการและเพื่อให้ผอู้ ่านเกิดความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ท่ีทรงเห็นความสาคญั ของวงการแพทยไ์ ทยทาใหป้ ระชาชาวไทยไดร้ ับการดูแลรักษาอยา่ งทว่ั ถึงและมีชีวติ ความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึนผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยิ่งวา่ รายงานเล่มน้ีจะเป็ นประโยชน์กบั ผอู้ ่าน หรือนกั เรียน นกั ศึกษา ที่กาลงั คน้ ควา้ หาขอ้ มูลเกี่ยวกบั เร่ืองดงั กล่าว หากมีขอ้ แนะนาหรือขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มาณ ท่ีน้ีดว้ ย คณะผจู้ ดั ทา 14 พฤศจิกายน 2560

4 สารบญัเรื่อง หน้าบทท่ี 1 บทนา 1บทที่ 2 พระราชกรณกี จิ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข 4 1.โครงการตามพระราชดาริที่เกี่ยวกบั การแพทยแ์ ละการสาธารณสุข 4 1.1โครงการแพทย์หลวงและแพทย์พระราชทาน 9 14 1.2 การบรรเทาทุกขร์ าษฎรที่ประสบพิบตั ิภยั 18 1.3 พระมหากรุณาธิคุณดา้ นการบาบดั รักษาผเู้ จบ็ ป่ วยดว้ ยโรคระบาด 20 1.4 การพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณแก่สภากาชาดไทย 21 1.5 พระราชทานแนวคิดเก่ียวกบั การควบคุมโรคคอพอกและโรคขาดสารไอโอดีน 20 1.6 การพระราชทานความช่วยเหลือผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีป้ องกนั ประเทศชาติ 2. การพระราชทานพระบรมราชูปถมั ภแ์ ก่โรงพยาบาล 26 3. พระราชกรณียกิจดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ 28 3.1การกีฬา 29 3.2 โภชนาการ 30 3.3 ดนตรี 31 3.4 ดา้ นสุขศึกษา 33 มลู นิธิอานนั ทมหิดล 36 รางวลั สมเด็จเจา้ ฟ้ ามหิดล 37บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนินการศึกษา 43 44บทที่ 4 ผลการศึกษา 45บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาบรรณานุกรมภาคผนวก

5บทท่ี 1 บทนา1. ทม่ี าและความสาคญั ของโครงงาน ประเทศไทยมีการปกครองแบบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็ นประมุข พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงรักและเป็ นห่วงประชาชนชาว ไทยท่ีอยใู่ นทุกภูมิภาค พระองคท์ ่านจึงทรงคิดและจดั ทาโครงการกวา่ 4,000 โครงการ เพื่อพฒั นา ชีวิตความเป็ นอยู่ของคนไทยให้ดีข้ึนในทุกด้าน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านการแพทย์และ สาธารณสุข ซ่ึงพระองคท์ รงถือว่าปัญหาดา้ นสุขภาพอนามยั ของประชาชนน้นั เป็ นปัญหาสาคญั ที่ ตอ้ งไดร้ ับการแกไ้ ข ดงั พระราชดารัสที่ว่า “ถ้าคนเรามีสุขภาพเสื่อมโทรม ก็จะไม่สามารถพัฒนา ชาติได้ เพราะทรัพยากรท่ีสาคัญของประเทศชาติ กค็ ือพลเมืองนั่นเอง” กลุ่มของข้าพเจ้าเป็ นหน่ึงในประชาชนคนไทยที่ซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหา ท่ีสุดไม่ได้ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9จึงเกิดเป็ นความ สนใจในการจัดทาโครงงานฉบับนี้เพ่ือให้ผูท้ ่ีสนใจสามารถศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ ต้งั แต่ความ เป็ นมาของโครงการ รวมไปถึงหน้าที่ของผดู้ าเนินโครงการหรือมีส่วนเก่ียวขอ้ งกบั โครงการและ เพ่ือให้ผอู้ ่านเกิดความสานึกในพระมหากรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอ ดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ที่ทรงเห็นความสาคญั ของวงการแพทยไ์ ทยทาใหป้ ระชาชาวไทยไดร้ ับการ ดูแลรักษาอยา่ งทว่ั ถึงและมีชีวติ ความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน2. วตั ถุประสงค์ในการศึกษา 2.1 เพ่อื เผยแพร่พระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขใหผ้ ทู้ ่ีมีความสนใจไดศ้ ึกษา 2.2 เพือ่ ใหผ้ อู้ า่ นเกิดสานึกในพระกรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯ รัชกาลท่ี 9 2.3 เพ่อื ใหต้ ระหนกั ถึงความสาคญั ทางดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข3. ขอบเขตของการศึกษา เนือ้ หา ศึกษาและรวบรวมพระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขของพระบาทสมเดจ็ พระ ปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 แหล่งศึกษา สารานุกรมไทย ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสสิริราชสมบตั ิครบ 60 ปี ระยะเวลา 10 ตุลาคม 2560 – 16 พฤศจิกายน 2560

64. สมมติฐานของการศึกษา พระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิ พลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9เป็ นสิ่งท่ีมีคุณค่า น่าศึกษา และมีหลักแนวคิดที่ควรเผยแพร่ ให้แก่บุคคล รุ่นหลงั ได้เรียนรู้และคงอย่สู ืบไป5. ผลทค่ี าดว่าน่าจะได้รับ 5.1 เผยแพร่พระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุขใหผ้ ทู้ ี่มีความสนใจไดศ้ ึกษา 5.2 ผูอ้ ่านเกิดสานึกในพระกรุณาธิคุณต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 5.3 ตระหนกั ถึงความสาคญั ทางดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข

7 บทที่ 2พระราชกรณกี จิ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9เป็นกษตั ริยผ์ มู้ ีพระมหากรุณาที่คุณยง่ิ เกบ็ ปวงชนชาวไทยพระองคส์ นพระราชหฤทยั และทรงบาบดั ทุกขบ์ ารุงสุขอาณาประชาราษฎร์ในทุกเรื่องและทุกหนทุกแห่งโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั สุขภาพอนามยั ประกอบกบั สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวกิ รมพระบรมราชชนกไดท้ รงศึกษาวชิ าแพทยศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ส่วนสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีไดท้ รงศึกษาวชิ า มาก่อนเม่ือพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เสด็จข้ึนของราชจึงไดส้ ่งบาเพญ็ พระราชกรณียกิจดา้ นการแพทยก์ ารสาธารณสุขแก่พสกนิกรของพระองคอ์ ยา่ งจริงจงั ดว้ ยทรงเล็งเห็นความสาคญั ของสุขภาพท้งั ร่างกายและจิตใจ ดงั พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รของมหาวทิ ยาลยั มหิดลณอาคารใหม่สวนอมั พรเม่ือวนั ท่ี 22 ตุลาคมพ.ศ. 2522 ความตอนหน่ึงความวา่ “การรักษาความสมบรู ณ์แขง็ แรงของร่างกายเป็นปัจจยั ของเศรษฐีที่ดีในสงั คมมน่ั คงเพราะร่างกายที่แขง็ แรงน้นั โดยปกติจะอานวยผลใหส้ ุขภาพจิตใจสมบูรณ์ดว้ ยและเมื่อสุขภาพสมบรู ณ์ดีพร้อมทางานแต่ในจิตใจแลว้ ยงั มีกาลงั ทาผลประโยชนส์ ร้างสรรคเ์ ศรษฐกิจและสังคมของมนั เหมือนไดเ้ ตม็ ท่ี ท้งั ไมเ่ ป็นภาระของคนดว้ ยคือเป็ นแต่ผสู้ ร้างไม่ใช่ผถู้ ่วงความเจริญดงั น้นั จึงใครขอร้องใหท้ ุกๆคนต้งั ใจและพยายามปฏิบตั ิหนา้ ที่ใหไ้ ดผ้ ลสมบรู ณ์จริงๆอยา่ ปล่อยใหก้ าลงั ของชาติตอ้ งเสื่อมถอยลงเพราะประชาชนเสียสุขภาพอนามยั... ทา่ นท้งั หลายควรระลึกใหไ้ ดเ้ สมอวา่ สุขภาพที่สมบูรณ์ในร่างกายและจิตใจน้นั รากฐานของการสร้างสรรคจ์ รรโลงประเทศอนั จะเป็นทางขจดั ปัญหาของสงั คมส่วนสาคญั ลงไดแ้ ละจะทาใหก้ ารพฒั นาสังคมและเศรษฐกิจของประเทศบรรลุถึงความสาเร็จมนั่ คงและเจริญกา้ วหนา้ ประกอบพร้อมไปดว้ ยความอิสระยตุ ิธรรม และความผาสุก...” 1. โครงการตามพระราชดาริทเ่ี กย่ี วกบั การแพทย์และการสาธารณสุข พระราชกรณียกิจทางดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข มีมากมายหลายโครงการกระจายอยทู่ วั่ทุกภาคของประเทศไทยในที่น้ีจะขอกล่าวถึงโครงการตามพระราชดาริท่ีเก่ียวกบั การแพทยแ์ ละการสาธารณสุขที่สาคญั เพียงบางโครงเทา่ น้นัทรงสอบถามผปู้ ่ วยที่มารับบริการหน่วยแพทยพ์ ระราชทาน

8 1.1. โครงการแพทย์หลวงและแพทย์พระราชทาน พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยย่ี มราษฎรที่ไดร้ ับความทุกขย์ ากและความเดือดร้อนอยเู่ นืองๆ จึงเกิดโครงการแพทยห์ ลวงและแพทย์พระราชทานตลอดจนโครงการต่างๆที่เก่ียวกบั การป้ องกนั รักษาและช่วยเหลือประชาชนท่ีเจบ็ ป่ วยเพื่อให้บริการแก่ประชาชนทว่ั ไปในคร้ังแรกทรงแกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหแ้ พทย์ประจาพระองคแ์ ละแพทยท์ ี่ตามขบวนเสดจ็ ตรวจรักษาเฉพาะคนไขท้ ี่ส่งพบในหมู่ราษฎรที่เฝ้ ารับเสด็จต่อมามีผปู้ ่ วยเพม่ิ ข้ึนจานวนมากข้ึนเป็นลาดบั จึงมี พระราชดาริวา่ ควรจะมีหน่วยงานรับผดิ ชอบในดา้ นน้ีเพมิ่ ข้ึนเพอ่ื ใหก้ ารบาบดั รักษาโรคไดส้ มบรู ณ์ส่งผลใหเ้ กิดหน่วยงานตา่ งๆในดา้ นน้ีข้ึนหลายหน่วยงาน ไดแ้ ก่ -แพทยห์ ลวง แพทยห์ ลวงเป็นหน่วยงานหน่ึงของสานกั พระราชวงั ที่มีต่อเน่ืองกนั มาต้งั แต่รัชกาลก่อนๆ เรียกวา่“หมอหลวง” มีหนา้ ท่ีตรวจรักษาเฉพาะพระบรมราชาวงศานุวงศ์ และคา่ ราชบริบาลที่เจบ็ ป่ วยต่อมาในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9ประทบั ณพระตาหนกั จิตรดารโหฐานพระราชวงั ดุสิตแพทยห์ ลวงในพระบรมมหาราชวงั จึงแบ่งส่วนราชการประจา ณ ที่ประทบั เพื่อใหบ้ ริการแก่ขา้ ราชบริพารในสวนจิตลดาและท่ีตามเสด็จ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9แปลพระราชฐานไปประทบั แรมในต่างจงั หวดั รวมท้งั มีพระราชกระแสรับสั่งใหแ้ พทยต์ รวจตรวจรักษาและราษฎรทว่ั ไปที่เจบ็ ป่ วยดว้ ยต้งั แต่พ.ศ. 2508 เป็นตน้ มาเพราะทรงตระหนกั วา่ ราษฎรในชนบทไมไ่ ดร้ ับการดูแลในเรื่องเจบ็ ป่ วยเทา่ ท่ีควร เมื่อพระองคเ์ สดจ็ แปลพระราชฐาน ไปประทบั แรมท่ีวงั ไกลกงั วลอาเภอหวัหินจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯใหแ้ พทยห์ ลวงเดินตามไปตรวจรักษาราษฎรท่ีเจบ็ ป่ วยในถิ่นทุรกนั ดารทุกวนั ตลอดระยะเวลาที่ประทบั แรม ณ วงั ไกลกงั วล ซ่ึงในขณะน้นั ยงั ไม่มีหน่วยงานแพทยข์ องทางราชการออกตรวจรักษาเช่นในปัจจุบนั และหากมีผปู้ ่ วยที่ตอ้ งเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลเจา้ หนา้ ที่บา้ นเมืองหรือตารวจตระเวนชายแดน กจ็ ะนาผปู้ ่ วยมายงั แพทยห์ ลวงสวนจิตรลดาเพือ่ ส่งต่อไปรักษาท่ีโรงพยาบาล โดยจะส่งพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทานพระบรมราชชานุเคราะห์ทุกราย เมื่อปี พ.ศ. 2510 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9โปรดเกลา้ ฯ ให้แพทยห์ ลวงในพระบรมมหาราชวงั ทาการตรวจรักษาขา้ ราชบริพารและครอบครัวโดยไม่คิดมลู ค่าโดยให้เบิกคา่ ใชจ้ า่ ยจากพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคแ์ ทนการเบิกจากงบประมาณแผน่ ดินของสานกั พระราชวงั ซ่ึงมีจานวนจากดั ต่อมาเมื่อมีผขู้ อรับบริการมากข้ึนแพทยห์ ลวงจึงตอ้ งเชิญแพทยผ์ เู้ ช่ียวชาญเฉพาะโรคมาร่วมการตรวจรักษาดว้ ยส่วนเคร่ืองเวชภณั ฑต์ า่ งๆไดร้ ับจากผมู้ ีจิตศรัทธา นอ้ มเกลา้ ถวายเช่นเคร่ืองตรวจหวั ใจเครื่องเอก็ ซเรยเ์ คร่ืองวเิ คราะห์ทางเคมีเคร่ืองมือทนั ตแพทยเ์ ครื่องมือจกั ษุแพทยเ์ คร่ืองมืออื่นๆอีกจานวนมาก -หน่วยแพทยพ์ ระราชทาน เมื่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 แปรพระราชฐานไปประทบั ณภาคใด แพทยห์ ลวงก็ไปใหบ้ ริการแก่ราษฎรในภาคน้นั ๆ ตามสถานท่ีเสดจ็ ฯ ไปทรงเยยี่ มราษฎรเนื่องจากมีผู้มารับบริการเพิ่มจานวนมาก แพทยห์ ลวงทหารตารวจตะเวนชายแดนสภากาชาดไทยและกระทรวง

9สาธารณสุขจึงมาร่วมช่วยปฏิบตั ิงานในทอ้ งถ่ินดว้ ยหน่วยแพทยพ์ ระราชทานจึงไดก้ ่อกาเนิดข้ึน เม่ือเสดจ็แปรพระราชฐาน ไปท่ีใดหน่วยแพทยพ์ ระราชทานกไ็ ปต้งั หน่วยรักษาโรคเป็ นจุดๆ โดยอาศยั โรงเรียนศาลาวดั เป็นท่ีทางานมีนางสนองพระโอษฐ์เป็นผจู้ ่ายยา -หน่วยพระราชทานรักษาประชาชนเคลื่อนท่ี สืบเนื่องจากราษฎรในทอ้ งถ่ินท่ีห่างไกลเส้นทางคมนาคมยงั ไม่ไดร้ ับความช่วยเหลือในดา้ นการรักษาโรคภยั ตา่ งๆเพราะไม่สามารถเดินทางมายงั สถานีอนามยั หรือหน่วยแพทยท์ ี่ไปต้งั จุดรักษาได้ เม่ือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ไปทรงเยยี่ มราษฎรในทอ้ งถ่ินของอาเภอหวัหินจงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ทรงพบวา่ มีราษฎรเจบ็ ป่ วยดว้ ยโรคต่างๆจานวนมากจึงพระราชทานหน่วยพระราชทานรักสาประชาชนเคล่ือนท่ี หน่วยที่ 1 แก่กระทรวงสาธารณสุขเพ่ือออกไปบาบดั ความเจบ็ ไขข้ องราษฎรในทอ้ งท่ีตา่ งๆของจงั หวดั เพชรบุรีและประจวบคีรีขนั ธ์ หน่วยพระราชทานรักษาประชาชนแผนที่ประกอบดว้ ยแพทยพ์ ยาบาล และเจา้ หนา้ ท่ีอื่นๆเทา่ ที่จาเป็น ยารักษาโรคต่างๆ. และอุปกรณ์การแพทยเ์ พียงพอที่จะรักษาผปู้ ่ วยไดส้ ่วนยานพาหนะทางบกใช้รถยนตบ์ รรทุกท่ีต่อตวั ท้งั แบบพเิ ศษ มีตยู้ า พร้อมติดต้งั เคร่ืองกาเนิดไฟฟ้ า เปลคนไข้ ถงั น้าและเครื่องครัว มีรถจ๊ิป 2 คนั สาหรับเจา้ หนา้ ท่ี หลงั จากน้นั ไดโ้ ปรดเกลา้ ฯ พระราชทานหน่วยพระราชทานรักษาประชาชนเคล่ือนท่ีให้ หน่วยท่ี 2แก่กระทรวงสาธารณสุขมีศูนยก์ ลางอานวยการอยทู่ ่ีจงั หวดั ขอนแก่นเพ่ือใหก้ ารตรวจรักษาแก่ราษฎรในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และหน่วยพระราชทานรักษาประชาชนเคลื่อนที่หน่วยที่ 3 มีศูนยก์ ลางอานวยอยทู่ ่ีจงั หวดั ยะลาเพอื่ ตวั จะรักษาราษฎรในภาคใต้ -หน่วยแพทยเ์ คลื่อนที่ทางน้า พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9พระราชปรารภวา่ ราษฎรที่ต้งับา้ นเรือนอยตู่ ามลาน้าและริมคลองอยา่ งโดดเดี่ยวไม่มีทางหลวงเช่ือมต่อกบั ตวั จงั หวดั ถึงแมจ้ ะติดต่อกบั ตวัจงั หวดั โดยทางน้าไดแ้ ต่ระยะทางห่างไกลกนั มากเมื่อเจบ็ ป่ วยกร็ ักษากนั ตามมีตามเกิดจึงโปรดเกลา้ ฯพระราชทานเรือยนตร์สาหรับใชเ้ ป็นหน่วยเคล่ือนที่รักษาทางน้าแก่สภากาชาดไทยเม่ือวนั ท่ี 19 มกราคมพ.ศ. 2458 พระราชทานนามเรือลาน้ีวา่ เวชพาหนซ์ ่ึงเป็ นเรือใหญ่ตอ่ ใหม่ดว้ ยไมส้ ักลว้ นพร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทยเ์ คร่ืองผา่ ตดั เวชภณั ฑอ์ ุปกรณ์ทาฟันเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าและเคร่ืองฉายภาพยนตร์ เรือพระราชทาน เวชพาหน์ มีลกั ษณะเป็นเรือยนตร์ 2 ช้นั ในระยะแรกแรกใชช้ ้นั ล่าง ของเรือเป็นท่ีตรวจรักษาโดยแบ่งเป็นหอ้ งตรวจโรคหอ้ งผา่ ตดั และหอ้ งทนั ตกรรมดา้ นหนา้ ของหอ้ งตรวจโรคตลอดแนวทางเดินในเรือเป็นตฝู้ ่ังผนงั สาหรับเก็บยา และเป็นหอ้ งจ่ายยาแก่คนไขส้ ่วนช้นั บนใชเ้ ป็นหอ้ งนอนของเจา้ หนา้ ท่ีหน่วยแพทยเ์ คล่ือนท่ี ต่อมา เม่ือผมู้ ารับบริการมีจานวนมากข้ึน การตรวจรักษาในเรือจึงไม่สะดวก ตอ้ งยา้ ยการตรวจรักษาข้ึนไปอาศยั ศาลาวดั หรือโรงเรียน ส่วนการจา่ ยยาน้นั ยงั ใหผ้ ปู้ ่ วยไปรับที่เหลือตามเดิมนอกจากน้ีเพอ่ื ใหป้ ระชาชนท่ีมารับบริการไดร้ าลึกถึงพระมหากรุณาท่ีคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิ

10พลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9การออกไปตรวจรักษาโดยหน่วยแพทยเ์ คลื่อนที่น้ีทางกองบรรเทาทุกขส์ ภากาชาดไทยยงั ไดน้ าส่ิงของเคร่ืองอุปโภคบริโภคไปแจกจ่ายใหแ้ ก่ประชาชนผยู้ ากไร้อีกดว้ ย สาหรับค่าใชจ้ ่ายของหน่วยพระราชทานรักษาประชาชนเคล่ือนที่ทุกหน่วยท้งั ทางบวกและทางน้าซ่ึงเป็นเงินจานวนมากน้นั พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9โปรดเกลา้ ฯ ใหใ้ ช้จากพระราชาทรัพยส์ ่วนพระองคเ์ กือบท้งั สิ้น หลงั จากหน่วยงานพระราชทานรักษาประชาชนเคลื่อนท่ี ไดด้ าเนินการไปไดร้ ะยะหน่ึงแลว้ รัฐบาลจึงไดเ้ ร่ิมส่งหน่วยแพทยเ์ คล่ือนท่ีหลายหน่วยออกไปรักษาพยาบาลราษฎรที่เจบ็ ป่ วยในทอ้ งถ่ินทุรกนั ดารในเขตภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือซ่ึงเป็นการเจริญรอยตามพระยคุ ลบาทของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานเรือพาหนแ์ ก่สภากาชาดไทย -โครงการแพทยพ์ เิ ศษตามพระราชประสงค์ จากการท่ีเสดจ็ พระราชดาเนินไปทรงเยย่ี มราษฎรในท่ีตา่ งๆทรงพบวา่ สถานที่บางแห่งราษฎรส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีสุขภาพไม่ดีการโทรคมนาคมไม่สะดวกและมีสถานบริการทางสุขภาพอนามยัอยเู่ พียงแห่งเดียวเช่นท่ีกิ่งอาเภอสุคิรินจงั หวดั นราธิวาส จึงมีพระราชประสงคท์ ี่จะช่วยบรรเทาทุกขข์ องราษฎรเหล่าน้นั ทรงขอใหท้ างราชการจดั แพทยห์ มุนเวยี นเขา้ ไปบริการตรวจรักษาประชาชนเป็นประจาดว้ ยการรับแพทยอ์ าสาสมคั รจากโรงพยาบาลนราธิวาสและโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ไปใหบ้ ริการตรวจรักษาประชาชนที่เจบ็ ป่ วยเป็นประจา อาทิตยล์ ะ 2 คร้ังเร่ิมเม่ือพ.ศ. 2517 -โครงการศลั ยแพทยอ์ าสา ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย เนื่องจากผปู้ ่ วยที่ตอ้ งรักษาดว้ ยการผา่ ตดั ซ่ึงทรงรับไวใ้ นพระบรมราชานุเคราะห์มีจานวนมากในระยะแรกศลั ยแพทยท์ ่ีตามเสด็จในหน่วยแพทยพ์ ระราชทานเป็นผทู้ าการผา่ ตดั ต่อมาในปี พ.ศ. 2518ราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทยไดส้ ่งแพทยท์ ี่มีความชานาญในสาขาต่างๆไปปฏิบตั ิการณ์ดา้ นศลั ยกรรมในโรงพยาบาลประจาจงั หวดั ท่ีเสดจ็ แปลพระราชฐาน โดยทางานประสานร่วมกบั หน่วยแพทย์พระราชทานทาใหง้ านโครงการน้ีดาเนินไปดว้ ยอยา่ งดีสามารถรักษาผา่ ตดั ผปู้ ่ วยไดว้ นั หน่ึงๆไมต่ ่ากวา่ 50ราย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ไดพ้ ระราชทานพระราชดารัสแก่คณะผบู้ ริหารราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยแ์ ห่งประเทศไทย ความตอนหน่ึงวา่

11 “ การที่ไดจ้ ดั คณะแพทยไ์ ปปฏิบตั ิงานในตา่ งจงั หวดั เป็นระยะหน่ึงน้นั นบั วา่ เป็นประโยชนท์ ี่จะช่วยชาวบา้ นท่ีตอ้ งการความช่วยเหลือซ่ึงในโรงพยาบาลของจงั หวดั น้นั น้นั ไมส่ ามารถท่ีจะใหบ้ ริการได้เตม็ ที่เพราะบางแห่งอาจจะขาดแคนผมู้ ีฝีมือทาใหป้ ระชาชนไมไ่ ดร้ ับการรักษาอยา่ งดีท่ีจะช่วยเขาไดค้ ณะของราชวทิ ยาลยั ศลั ยแพทยน์ ้ีไดช้ ่วยชีวติ คนนบั ไดว้ า่ เป็ นร้อยๆคนเพราะวา่ สามารถใหบ้ ริการไดท้ นั ทว่ งทีและไมท่ าใหช้ าวบา้ นเดือดร้อนในการเสียค่าใชจ้ า่ ยดว้ ย... ” -โครงการแพทย์ หู คอ จมูก และภูมิแพพ้ ระราชทาน เน่ืองดว้ ยมีราษฎรจานวนมากที่เจบ็ ป่ วยโรคหูคอจมกู ซ่ึงจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการรักษาจากแพทยท์ ่ีเชี่ยวชาญในสาขาวชิ าน้ีในปี พ.ศ. 2522 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้จดั หน่วยแพทยห์ ูคอจมกู และภมู ิแพ้ซ่ึงเป็นแพทยอ์ าสาสมคั รจากโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกา้ โรงพยาบาลรามาธิบดีและโรงพยาบาลราชวถิ ี ผลดักนั มาปฎิบตั ิหนา้ ที่ประจาอยใู่ นโรงพยาบาลประจาจงั หวดั ท่ีจงั หวดั นราธิวาสและจงั หวดั สกลนครส่วนที่จงั หวดั เชียงใหมค่ ณะแพทยป์ ระจาอยทู่ ่ีโรงพยาบาลค่ายกาวลิ ะและคณะแพทยใ์ นโครงการน้ีพนั เอกนายแพทยอ์ ศั วนิ เทพาคา ( ต่อมาคือพลโทนายแพทยอ์ ศั วนิ เทพาคา ) เจา้ กรมแพทยท์ หารบกเป็นหวั หนา้ ชุดในระยะแรก -หน่วยทนั ตกรรมเคล่ือนท่ีพระราชทาน ใน พ.ศ. 2512 ศาสตราจารยท์ นั ตแพทยส์ ี สิริสิงห์ ซ่ึงเป็นทนั ตแพทยป์ ระจาพระองค์ ไดก้ ราบบงั คมทูลวา่ หลงั จากเกษียณอายรุ าชการแลว้ จะขอบาเพญ็ ประโยชน์ตอ่ สังคมในทางใดทางหน่ึงจึงโปรดเกลา้ ฯ ให้ออกตรวจรักษาประชาชนในทอ้ งถ่ินทุรกนั ดารร่วมกบั ทนั ตแพทยอ์ าสาซ่ึงเป็นศิษย์ ตอ่ มาเจา้ กรมแพทย์ทหารบกรับหนา้ ที่บริหารหน่วยฯ น้ีไดร้ ับทนั ตแพทยอ์ าสาจากโรงพยาบาลพระมงกฎุ เกลา้ กรมแพทย์ทหารบกเขา้ ร่วมในหน่วยฯ และตามเสด็จทุกแห่งท่ีเสดจ็ แปรพระราชฐาน โดยมีรถทนั ตกรรมเคล่ือนที่เป็ นสถานท่ีปฏิบตั ิงานผปู้ ่ วยโรคฟันมีจานวนมากซ่ึงทนั ตแพทยต์ อ้ งตรวจรักษาถึงวนั ละ 300 รายหน่วยพระราชทานน้ีช่วยเหลือราษฎรไดม้ ากเพราะราษฎรในตา่ งจงั หวดั ท่ีห่างไกลความเจริญเกือบไม่มีโอกาสได้พบกบั ทนั ตแพทยเ์ ลย -โครงการอบรมหมอหมบู่ า้ นในพระราชประสงค์ เมื่อเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยย่ี มราษฎรตามหมู่บา้ นต่างๆทรงเห็นราษฎรที่เจบ็ ไขห้ รือพิการจานวนมากไดร้ ับความลาบากเนื่องจากไม่มีสถานพยาบาลอยใู่ กลเ้ คียงหม่บู า้ น บางแห่งตอ้ งใชเ้ วลาเดือนถึง3 วนั จึงจะไปถึงสถานพยาบาลความพกิ ารเจบ็ ไขข้ องราษฎรบางกลุ่มเกิดจากการบริโภคอาหารไมถ่ ูกสุขลกั ษณะจึงมีพระราชดาริใหจ้ ดั ต้งั โครงการหมออบรมหมบู่ า้ นข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2524 ทรงเร่ิมที่จงั หวดัแม่ฮอ่ งสอนเป็ นแห่งแรกแลว้ ขยายโครงการตอ่ ๆไปในหมู่บา้ นท่ีมีโครงการตามพระราชดาริหรือโครงการศิลปชีพ พระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ที่ทรงจดั ต้งัโครงการอบรมหมอหม่บู า้ นข้ึนสืบเนื่องมาจากมีพระราชดาริวา่ โรคภยั ไขเ้ จบ็ บางอยา่ งสามารถรักษาใหห้ ายเองไดห้ ากปฏิบตั ิถูกวธิ ีโดยไม่จาเป็นตอ้ งพ่งึ แพทย์ และผปู้ ่ วยบางคนหากไดร้ ับการปฐมพยาบาลอยา่ ง

12ถูกตอ้ งเป็นเบ้ืองตน้ ก่อนนาส่งแพทยจ์ ะช่วยลดอนั ตรายท่ีเกิดแก่ผปู้ ่ วยไดซ้ ่ึงกเ็ หมาะสมกบั สภาพการณ์ในขณะน้นั ที่ยงั ขาดแคลนแพทยจ์ ึงไดค้ ดั เลือกคนหนุ่มสาวในหมบู่ า้ นท่ีมีความสนใจและต้งั ใจท่ีจะช่วยเหลือเพ่ือนบา้ นมาอบรมใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจในเรื่องการสาธารณสุขพ้นื ฐาน การโภชนา การพยาบาลและการรักษาโรคตา่ งๆเม่ือบุคคลเหล่าน้ีผา่ นการอบรมแลว้ ก็จะมอบยาและเวชภณั ฑจ์ านวนหน่ึงใหน้ าไปปฏิบตั ิการช่วยเหลือประชาชนในทอ้ งท่ีและคอยประสานงานกบั หน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวขอ้ งโดยมีสาธารณสุขจงั หวดั เป็นผรู้ ับผดิ ชอบติดตามผลงานการปฏิบตั ิงานนบั วา่ โครงการน้ีไดช้ ่วยแบง่ เบาภาระของแพทยไ์ ดส้ ่วนหน่ึงและเป็นการฝึกอบรมใหช้ าวบา้ นมีความรู้ทางการสาธารณสุขพอสมควร เพ่ือช่วยเหลือตนเองในทอ้ งถ่ินที่ขาดแคลนสถานพยาบาล -หน่วยแพทยค์ นไขใ้ นกองราชเลขานุการในพระองคส์ มเด็จพระราชินีนาถ เนื่องจากมีผปู้ ่ วยจานวนมากที่ตอ้ งเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาลโดยส่งตวั เขา้ รักษาต่อท่ีโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ งานในเรื่องน้ีจึงตอ้ งใชบ้ ุคลากรจานวนมากประกอบกบั ผปู้ ่ วยทุกคนอยใู่ นพระบรมราชานุ-เคราะห์จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหเ้ จา้ หนา้ ท่ีในกองทุนเลขานุการในพระองคส์ มเด็จพระบรมราชินีนาทเป็ นผดู้ าเนินการ เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่ วยไดร้ ับการรักษาและไดร้ ับบริการสมดงั พระราชประสงค์ -โครงการส่วนพระองค์ “คลินิกศนู ยแ์ พทยพ์ ฒั นา” ดว้ ยพระมหากรุณาที่คุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ที่ทรงมีตอ่ พสกนิกรจึงโปรดเกลา้ ฯพระราชทานพระราชทรัพยจ์ านวนหน่ึงจดั ต้งั บริษทั บา้ นบึงเวชกิจจากดั เพอ่ืบริหารงานคลินิกและพระราชทานนามของคลินิกวา่ คลินิกศนู ยแ์ พทยพ์ ฒั นานอกจากน้ียงั ไดพ้ ระราชทานเคร่ืองมือแพทยท์ ี่ทนั สมยั และตราสญั ลกั ษณ์เป็นรูปกากบาทสามมิติโดยมีพระราชประสงคท์ ่ีจะใหแ้ พทย์และทนั ตแพทยส์ ่วนพระองคเ์ ขา้ มาช่วยรักษาและใหบ้ ริการทางการแพทยฟ์ ้ื นฟูสุขภาพและบาบดั โรคภยั ไข้เจบ็ ใหแ้ ก่ประชาชนทวั่ ไปโดยไมม่ ีมุ่งเนน้ กาไร ตราสัญลกั ษณ์ศนู ยแ์ พทยพ์ ฒั นา

13 คลินิกศูนยแ์ พทยพ์ ฒั นาต้งั อยบู่ นพ้นื ที่ 10 ไร่ ริมถนนประดิษฐม์ นูธรรมเขตวงั ทองหลางกรุงเทพฯเร่ิมเปิ ดดาเนินการต้งั แต่วนั ท่ี 5 ธนั วาคมพ.ศ. 2535 ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2543 ไดร้ ับอนุญาตจากกระทรวงการคลงักาหนดใหเ้ ป็ นสถานพยาบาลของทางราชการท้งั น้ีเพ่ือสิทธิประโยชนข์ องพสกนิกรของพระองคท์ ี่ทางานในส่วนราชการและรัฐวสิ าหกิจจะไดร้ ับความสะดวกในการเขา้ รับการรักษาพยาบาลจากแพทยผ์ เู้ ชี่ยวชาญในแตล่ ะสาขา โดยสามารถเบิกจา่ ยค่ารักษาพยาบาลไดเ้ ช่นเดียวกบั คลินิกนอกเวลาของโรงพยาบาลของทางราชการ คลินิกศูนยแ์ พทยพ์ ฒั นา เขตวงั ทองหลาง กรุงเทพฯ 1.2 การบรรเทาทกุ ข์ราษฎรทปี่ ระสบพบิ ัติภัย พระราชกรณียกิจดา้ นการช่วยเหลือสงเคราะห์ประชาชน มิใช่จะมีเฉพาะการเอาใจใส่ในดา้ นสุขภาพดา้ นอนามยั เทา่ น้นั ในยามที่ประชาชนไดร้ ับผลกระทบจากพบิ ตั ิภยั ต่างๆ เช่น อคั คีภยั อุทกภยั และ วาตภยั ทาใหต้ อ้ งสูญเสียชีวติ และทรัพยส์ ิน ประชาชนไร้ที่อยอู่ าศยั ไดร้ ับความเดือดร้อนอยา่ งแสนสาหสั หากทรงทราบข่าวแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9จะเสด็จพระราช ดาเนินไปทรงเยยี่ ม พร้อมท้งั พระราชทานเครื่องอุปโภคบริโภค ซ่ึงใชจ้ า่ ยจากพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ หรือเงินที่มีผทู้ ูลเกลา้ ฯ ถวายโดยเสดจ็ พระราชกุศล

14 -การจดั ต้ัง “มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์” เม่ือวนั ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2505 ไดเ้ กิดมหาวาตภยั ร้ายแรง คือ พานุโซนร้อนช่ือ “แฮเรียต” ข้ึนในอ่าวไทย และพดั กระหน่าเขา้ มาทางภาคใต้ ของประเทศไทยในวนั รุ่งข้ึนทาลายชีวติ บา้ นเรือน แลพทรัพยส์ ินของราษฎร รวมท้งั สถานท่ีราชการหลายแหล่ง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ที่หมบู่ า้ นชาวประมงบริเวณแหลมตะลุมพกุ อาเภอปากพนงั จงั หวดั นครศรีธรรมราช บา้ นเรือนของราษฎรถูกภายพุ ดั พาลงทะเล มีผเู้ สียชีวติ กวา่ 600 คน และไร้ที่อยอู่ าศยั ไมต่ ่ากวา่ 16,000 คน ทรัพยส์ ินของประชาชนและของทางราชการท่ีไดร้ ับความเสียหายในคร้ังน้นั รวมเป็นมูลคา่ ประมาณ 1,200 ลา้ นบาท ในคืนวนั ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ไดม้ ีพระราชกระแสรับสัง่ ใหก้ องทพั อากาศจดั เครื่องบินพิเศษ นาคณะเจา้ หนา้ ที่พร้อมดว้ ยแพทยแ์ ละพยาบาลของสภาชาดไทย เดินทางไปช่วยเหลือที่จงั หวดั นครศรีธรรมราชในวนั รุ่งข้ึนทนั ทีและมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถานีวทิ ยุ อ.ส.พระราชวงั ดุสิต เผยแพร่ขา่ วเหตุการณ์และแนวทางการช่วยเหลือใหป้ ระชาชนทวั่ ประเทศไดท้ ราบพร้อมท้งั ประกาศเชิญชวนใหผ้ มู้ ีจิตศรัทธาร่วมบริจาคเงินและสิ่งของโดยเสด็จพระราชกศุ ล เพอื่ ช่วยเหลือประชาชนผเู้ คราะห์ร้ายเหล่าน้นั ณ สถานีวทิ ยุ อ.ส.พระราชวงั ดุสิตพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ทรงรับเงินและส่ิงของดว้ ยพระองคเ์ อง จากผู้มีจิตศรัทธาที่นามาบริจาค แลว้ พระราชทานใหก้ รมประชาสงเคราะห์นาไปแจกจา่ ยช่วยเหลือผปู้ ระสบเคราะห์กรรมทุกวนั เป็นเวลาประมาณ 1 เดือนเศษ ปรากฏวา่ ท้งั เงินและส่ิงของหลง่ั ไหลมาจากทว่ั ทุกสารทิศ ไดร้ ับเงินช่วยเหลือประมาณ 11 ลา้ นบาท ซ่ึงเมื่อ 40 ปี ก่อน นบั วา่ เป็น ผทู้ ี่ประสบพิบตั ิภยั รับพระราชทานส่ิงของจากพระหตั ถ์ ที่มา : http://adenan09.blogspot.com/2016/10/

15 เงินจานวนไม่นอ้ ยดว้ ยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯรัชกาลท่ี 9 จึงเกิดเป็ นพลงั แห่งความสามคั คี ร่วมมือร่วมใจของประชาชนทุกหมู่เหล่าข้ึนในคร้ังน้นั เมื่อความทุกขย์ ากเดือดร้อนอนั เกิดจากวาตภยั ดงั กล่าวผอ่ นคลายลงบา้ นแลว้ ปรากฎวา่ มีเงินเหลืออยอู่ ีกประมาณ 3ลา้ นบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9จึงมีพระราชดาริวา่ เงินท่ีเหลืออยนู่ ้ีเป็นเงินท่ีประชาชนไดร้ ่วมกนั บริจาคไว้ ควรจะใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่ประชาชน และหาดอกผลเพมิ่ พนูสาหรับเป็นกองทุนผปู้ ระสบสาธารณภยั ตอ่ ไป พระราชทานนามวา่ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ มีความหมายวา่ พระราชาและประชาชนอนุเคราะห์ซ่ึงกนั และกนั และทรงรับมูลนิธิน้ีไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ มลู นิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ที่จดั ต้งั ข้ึนน้ี ไดจ้ ดทะเบียนเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย เม่ือวนั ที่ 23สิงหาคม พ.ศ. 2506 โดยมีวตั ถุประสงคต์ ามพระราชดาริที่ไดพ้ ระราชทานไว้ 3 ประการ 1. มอบทุนพระราชทานวงเคราะห์ต่อเนื่องแก่นกั เรียนเดก็ กาพร้าที่ครอบควั ประสบสาธารณภยัตา่ งๆ ใหไ้ ดเ้ ล่าเรียนตามแนวถนดั ของแตล่ ะคน จนจบการศึกษาข้นั สูงสุดเท่าท่ีจะเรียนได้ 2. ร่วมกบั กระทรวงศึกษาธิการซ่อมสร้างโรงเรียนที่ประสบสาธารณภยั และสร้างโรงเรียนสาหรับบุตรหลานผปู้ ระสบภยั ในจงั หวดั ตา่ งๆ โดยพระราชทานชื่อวา่ โรงเรียนประชานุเคราะห์โดยมีหมายเลขกากบั ตามลาดบั โรงเรียนท่ีสร้าง 3. สงเคราะห์ผปู้ ระสบสาธารณภยั ต่างๆทวั่ ประเทศ โดยมอบสิ่งของพระราชทานแก่ผปู้ ระสบสาธารณภยั ตามแผนปฏิบตั ิงานร่วมกบั กรมประชาสงเคราะห์ เช่น วสั ดุซ่อมแซมบา้ น เครื่องอุปโภคบริโภคที่จาเป็ นสาหรับครอบครัว พระราชดารัสท่ีพระราชทานแก่นกั เรียนมลู นิธิราชประชานุเคราะห์ฯ ท่ีสาเร็จการศึกษาและคณะกรรมการมลู นิธิฯ ณ ศาลาดุสิดาลยั สวนจิตรลดา เม่ือวนั องั คาร ท่ี 27 ตุลาคม พ.ศ. 25224 มีความตอนหน่ึงวา่ “ทุกคนกเ็ ท่ากับเป็นลกู ของมลู นิธิราชประชานุเคราะห์ฯ มลู นิธิฯ ในฐานะท่ีเป็นทั้งพ่อและแม่ของผู้ที่ได้รับการศึกษา กย็ ่อมต้องอุปการะ อุปการะนีก้ ต็ ้องแบ่งเป็น 2 อย่าง อุปการะในทางจิตใจด้านหนึ่งคือ ยงัเป็นลูก พ่อแม่กับลูกย่อมตัดไม่ได้ และต้องอุปการะอย่างหน่ึงกค็ ือ ถ้ามีความเดือดร้อนอะไร มีความปรารถนาอะไร กต็ ้องสามารถที่จะมาปรึกษาหารือกันได้ต่อไป จนเป็ นผ้ทู ี่สาเร็จการศึกษาช้ันสูงไป ในด้านงานการกท็ าไป แต่กไ็ ม่ขาดจากการอุปการะของมลู นิธิฯ คือ มลู นิธิฯยงั คงใส่ใจ และไม่ขาดจากความรู้สึกหมายถึงสาหรับฝ่ ายที่รับอุปการะ ความรู้สึกว่ามลู นิธิได้ช่วยเหลือ การติดต่อนีค้ วามสัมพนั ธ์กย็ งั ไม่หมดไปจะเป็นเม่ือสาเร็จหรือไปทางานที่ไหนแล้วกย็ ่อมต้องหรือยงั สามารถที่จะปรึกษากนั ได้กบั ผ้อู ุปการะ”

16 การช่วยเหลือของมูลนิธิฯ ที่มา :http://www.rajaprajanugroh.org นอกจากวาตภยั คร้ังน้นั แลว้ ยงั มีพิบตั ิภยั เกิดข้ึนอีกคร้ังหน่ึงในปลายเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2509 คือเกิดอุทกภยั ข้ึนที่จงั หวดั หนองคายและเชียงราย ท่ีจงั หวดั หนองคาย มีครอบครัวที่ถูกน้าท่วม 23,740ครอบครัว มีผทู้ ่ีไดร้ ับความเดือดร้อน 137,800 คน มีผเู้ สียชีวติ ท้งั เด็กและผใู้ หญ่ 6 คน ส่วนท่ีจงั หวดั เชียงรายมีครอบครัวที่ไดร้ ับความเดือดร้อน 2,500 ครอบครัว แต่ไม่มีผเู้ สียชีวติ ในช่วงที่เกิดพบิ ตั ิภยั น้ี พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 อยใู่ นระหวา่ งการเสด็จพระราชดาเนินเยอื นประเทศต่างๆ เมื่อทรงทราบขา่ ว ดว้ ยพระราชหฤทยั ที่ทรงห่วงใยในความเป็นอยขู่ องราษฎรท่ีตอ้ งประสบอุทกภยั ร้ายแรงน้นั จึงมีพระราชหตั ถเลขาถึง จอมพล ถนอม กิตติขจรนายกรัฐมนตรี จะเห็นไดว้ า่ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 มีพระราชหฤทยั ห่วงใยพสกนิกรของพระองคอ์ ยตู่ ลอดเวลา แมใ้ นขณะท่ีมีพระราชภารกิจในต่างแดนกต็ าม ปลายเดือนธนั วาคม พ.ศ. 2509 ไดเ้ กิดอุทกภยั คร้ังร้ายแรงท่ีภาคใตอ้ ีก มีสาเหตุมาจากความกดอากาศต่าจากทะเลจีนตอนใต้ ก่อใหเ้ กิดพายพุ ดั เขา้ อา่ วไทย และเกิดฝนตกหนกั ทางภาคใตข้ องประเทศต้งั แต่จงั หวดั ชุมพรลงไปถึงจงั หวดั ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา โดยเฉพาะจงั หวดั สงขลาซ่ึงฝนตกหนกั มากท่ีสุด น้าฝนจากที่ดอนไหลงทว่ มพ้นื ที่ลุ่มต่าอยา่ งรวดเร็ว น้าทว่ มตวั เมืองนานเป็นสัปดาห์

17 อุทกภยั ในจงั หวดั ภาคใตค้ ร้ังน้นั ไดส้ ร้างความเดือดร้อนแก่ราษฎรอยา่ งยงิ่ เพราะน้าไดไ้ หลบา่ เขา้ทว่ มพ้ืนที่อยา่ งรวมเร็ว ราษฎรในพ้ืนที่อพยพไมท่ นั กระแสน้าพดั พาบา้ นเรือนพงั ทลาย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงทราบข่าว ดว้ ยความห่วงใย จึงเสด็จฯไปทรงเยยี่ ม พร้อมดว้ ยสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯพระบรมราชินีนาถ เพื่อใหก้ าลงั ในแก่ราษฎรผมู้ ีทุกขเ์ หล่าน้นั ต้งั แต่วนั ที่ 31 มกราคมถึงวนั ท่ี 3 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2510 พร้อมท้งั ทรงนาส่ิงของเคร่ืองอุปโภคบริโภคไปพระราชทานแก่ผปู้ ระสบเคราะห์ภยั อยา่ งทว่ั ถึง ต่อมาในวนั ท่ี 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 เป็นวนั ท่ีราษฎรในภาคใต้ โดยเฉพาะจงั หวดั ชุมพรประจวบคีรีขนั ธ์ และระนอง ตอ้ งประสบกบั เหตุการณ์วาตภยั คร้ังใหญท่ ี่เรียกวา่ พายไุ ตฝ้ ่ นุ “เกย”์ มีผเู้ สียชีวติ 602 คน บาดเจบ็ 5,495 คน ทรัพยส์ ินของทางราชการและราษฎรเสียหายประมาณ 12,000ลา้ นบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 มีพระราชกระแสรับส่ังใหห้ น่วยสงเคราะห์ผปู้ ระสบภยั เคล่ือนท่ีของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯ เขา้ ไปช่วยเหลือราษฎรผปู้ ระสบภยั ทนั ทีและใหน้ าสิ่งของพระราชทานออกแจกจา่ ยเพื่อบรรเทาทุกขใ์ นพ้นื ที่ที่ประสบภยั ประชาชนทว่ั ไปไดท้ ราบถึงพระมหากรุณาธิคุณจึงร่วมบริจาคเงินและสิ่งของโดยเสด็จพระราชกศุ ลเพือ่ ช่วยเหลือเป็นจานวนมากนอกจากพระมหากรุณาธิคุณท่ีช่วยเหลือระยะส้นั แลว้ ยงั โปรดเกลา้ ฯใหม้ ีการช่วยเหลือระยะยาว โดยมอบทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ตอ่ เน่ืองแก่นกั เรียนท่ีเป็นเดก็ กาพร้า เนื่องจากบิดามารดาหรือผปู้ กครองไดเ้ สียชีวติ จากวาตภยั พายไุ ตฝ้ ่ นุ “เกย”์ อีกดว้ ย และโปรดเกลา้ ฯใหม้ ูลนิธิราชประชานุเคราะห์ฯร่วมกบั กระทรวงศึกษาธิการ จดั สร้างโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ข้ึนท่ีอาเภอท่าแซะ จงั หวดั ชุมพร เพื่อรับบุตรหลานของผปู้ ระสบภยั พระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ในการช่วยเหลือผปู้ ระสบพิบตั ิภยั ท่ีประชาชนชาวไทยไดป้ ระจกั ษด์ ว้ ยความซาบซ้ึงใจอยา่ งยง่ิ อีกคร้ังหน่ึง คือเหตุการณ์แผน่ ดินไหวและคล่ืนสึนามิถล่มชายฝ่ังทะเลภาคใต้ 6 จงั หวดั คือ จงั หวดั ภูเก็ต พงั งา กระบ่ี ระนองตรัง และสตลู เม่ือวนั ที่ 26 ธนั วาคม พ.ศ. 2547 ประชาชนประสบความเดือดร้อนจากเหตุการณ์ดงั กล่าวจานวนมาก พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทานทรัพยส์ ่วนพระองคจ์ านวน 30 ลา้ นบาท ผา่ นทางมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ พร้อมท้งั มีพระราชกระแสรับสง่ั ใหม้ ลู นิธิฯ นาส่ิงของพระราชทาน ประกอบดว้ ย เครื่องอุปโภคบริโภค ขา้ วสารอาหารแหง้ เส้ือผา้ เครื่องนุ่งห่ม ไปแจกจา่ ยแก่ราษฎรผปู้ ระสบความเดือดร้อนโดยด่วน และใหว้ สั ดุซ่อมแซมหรือสร้างบา้ น สร้างโรงเรียนใหบ้ ุตรหลานผปู้ ระสบภยั ในจงั หวดั ต่างๆ รวมท้งั มอบทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ตอ่ เน่ืองแก่เดก็ กาพร้าที่ครอบครัวประสบพบิ ตั ิภยั ใหไ้ ดศ้ ึกษาเล่าเรียนตามแนวถนดั ของแตล่ ะคน จนจบการศึกษาข้นั สูงสุดเทา่ ท่ีจะเล่าเรียนไดแ้ สดงให้เห็นถึงน้าพระราชหฤทยั ที่ทรงอาทรห่วงใยประชาราษฎร์ นบั เป็นพระมหากรุณาธิคุณอนั หาท่ีสุดมิได้

18 1.3 พระมหากรุณาธิคุณด้านการบาบัดรักษาผู้เจ็บป่ วยด้วยโรคระบาด ประเทศไทยมีโรคระบาดต่างๆ เกิดข้ึนเป็ นคร้ังคราว แต่ยงั ขาดแคลนแพทย์ เครื่องมืออุปกรณ์ และยาที่จะนามาใชบ้ าบดั รักษา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงเล็งเห็นความจาเป็ นในเร่ืองน้ี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ จดั ซ้ือเคร่ืองมืออุปกรณ์ทางการแพทย์ ก่อสร้างอาคารสถานพยาบาล และสนบั สนุนกิจการของโรงพยาบาลต่างๆรวมท้งั ไดพ้ ระราชทานทุนริเริ่มในการจดั ต้งั มูลนิธิต่างๆ เพ่ือส่งเสริมกิจการดา้ นการแพทยแ์ ละอนามยั โรคระบาดสาคญั ไดแ้ ก่ - โรคโปลโิ อ เมื่อ พ.ศ.2495 เกิดโรคโปลิโอ หรือโรคไขสนั หลงั อกั เสบระบาดอยา่ งรุนแรงในประเทศไทย มกั เกิดกบั เด็กเล็กๆ หากไม่ไดร้ ับการรักษาอยา่ งถูกตอ้ งและทนั ท่วงที ก็จะมีอนั ตรายถึงแก่ชีวิต และผปู้ ่ วยเมื่อพน้ขีดอนั ตรายแลว้ มกั เป็ นอมั พาตที่แขนและขา ดว้ ยเหตุท่ีโรคน้ีเพ่ิงรู้จกั ไดไ้ ม่นาน โรงพยาบาลต่างๆ ในเวลาน้นั จึงยงั ขาดแคลนเคร่ืองอุปกรณ์ที่จะใชบ้ าบดั รักษา ดว้ ยพระราชหฤทยั ท่ีทรงห่วงใยราษฎร พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้ต้งั ทุนโปลิโอสงเคราะห์ข้ึน และพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคเ์ ป็ นทุนแรกเร่ิม นอกจากน้นั ยงั โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ถานีวทิ ยุอ.ส. พระราชวงั ดุสิต ประกาศเชิญชวนประชาชน ใหร้ ่วมกนั บริจาคเงินโดยเสดจ็ พระราชกุศลดว้ ย ปรากฏวา่ไดร้ ับเงินบริจาคสมทบเป็ นจานวนมาก เงินเหล่าน้ีได้นาไปใช้ในการบาบดั รักษาผูป้ ่ วย และใช้เป็ นทุนสาหรับการศึกษาวิจยั โรค เนื่องจากโรคน้ีทาให้ผูป้ ่ วยกลายเป็ นอมั พาต หรือพิการจานวนมากจาเป็ นตอ้ งไดร้ ับการบาบดั รักษาเป็ นเวลานาน จึงไดพ้ ระราชทานทุนให้แก่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ ก่อสร้าง ตึกวชิราลงกรณธาราบาบัด และจดั ซ้ือเครื่องอุปกรณ์ เช่น ปิ ดเหล็ก ซ่ึงเป็ นเคร่ืองมือท่ีช่วยหายใจ และเวชภณั ฑม์ าใชเ้ พื่อการน้ี ขณะเดียวกนั ก็พระราชทานเงินทุนอีกส่วนหน่ึง แก่โรงพยาบาลศิริราช สาหรับจดั ซ้ือเคร่ืองอุปกรณ์ ก่อต้งั สถานบาบดั โรคโปลิโออีกแห่งหน่ึงด้วย ด้วยความร่วมมือร่วมใจของประชาชนโดยมีพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 เป็ นแกนนา การระบาดของโรคน้ีจึงสงบลงและไม่เกิดการระบาดอีกจนถึงปัจจุบนั การรักษาผปู้ ่ วยโรคโปลิโอ โดยใชป้ อดเหลก็ ที่มา : http://pr3350.blogspot.com/2014/01/the-king-and-polio-eradication-effort.html

19- อหวิ าตกโรค เม่ือเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2501 ไดเ้ กิดการระบาดของอหิวาตกโรคในประเทศไทย เริ่มในกรุงเทพฯก่อน แล้วแพร่ระบาดไปอย่างรวดเร็วใน 35จงั หวดั กระทรวงสาธารณสุขได้ดาเนินการป้ องกันและบาบดั รักษาอยา่ งแขง็ ขนั มีการจดั ต้งั หน่วยฉีดวคั ซีนป้ องกนั อหิวาตกโรคตามสถานท่ีต่างๆ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 สดบั ตรับฟังข่าวการระบาดของโรคมาต้งั แต่ตน้ ด้วยพระราชหฤทยั ที่ทรงเป็ นห่วงว่า โรคร้ายน้ีจะแพร่ระบาดออกไปกวา้ งขวาง จึงได้พระราชทานพระราชทรัพยเ์ ป็ นทุนแรกเร่ิมก่อต้งั ทุนปราบอหิวาตกโรค ข้ึนเม่ือเดือนมิถุนายน พ.ศ.2501และโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเชิญชวนประชาชนร่วมกนั บริจาคเงินโดยเสด็จพระราชกุศล เพ่ือนามาเป็ นค่าใช้จ่ายในการปราบปรามโรคน้ี รวมท้งั ไดพ้ ระราชทานเคร่ืองผลิตน้ากลน่ั เพื่อทาน้าเกลือรักษาผูป้ ่ วยให้แก่โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 1เครื่อง และโรงงานเภสัชกรรม กระทรวงสาธารณสุข อีก 1เคร่ืองพระราชทานน้าเกลือและพระราชทานทรัพยแ์ ก่ครอบครัวของผูเ้ สียชีวิตด้วยโรคน้ี เพื่อเป็ นทุนประกอบอาชีพต่อไป นอกจากน้ี ทรงจดั ต้งั หน่วยฉีดวคั ซีนป้ องกนั อหิวาตกโรคแก่ประชาชนในบริเวณพระตาหนกัจิตรลดารโหฐาน และในทอ้ งที่อาเภอหัวหิน จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ รวมท้งั โปรดเกลา้ ฯ ให้จดั หน่วยฉีดวคั ซีนตามเสด็จไปฉีดป้ องกนั แก่ราษฎร ในคราวเสดจ็ ฯ ไปทรงเยย่ี มราษฎรจงั หวดั ภาคใตด้ ว้ ย ดว้ ยพระมหากรุณาธิคุณดงั กล่าว ยงั ผลให้ทางราชการสามารถปราบอหิวาตกโรคอยา่ งไดผ้ ล จนสงบลงในเดือนตุลาคมปี ต่อมา และเพื่อปราบโรคร้ายน้ีให้หมดสิ้นไป พระองค์จึงได้พระราชทานทุนแก่สถาบนั พยาธิวิทยา กรมแพทยท์ หารบก สาหรับจดั ซ้ือเคร่ืองมือทาการวิจยั เพ่ือศึกษาคน้ ควา้ หาสมมุติฐานของโรค ป้ องกนั ไมใ่ หเ้ กิดการระบาดอีกต่อไป เคร่ืองกลนั่ น้าพระราชทาน เพ่ือใชผ้ ลิตน้าเกลือในช่วงที่มีการระบาดของอหิวาตกโรค ที่มา : https://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1479434953

20 - โรคเรื้อน ในอดีต เป็ นโรคติดต่อร้ายแรงท่ีผปู้ ่ วยจะไดร้ ับความทุกข์ทรมานและทุกขเวทนา เพราะเป็ นโรคท่ีสังคมรังเกียจ ประเทศไทยมีผปู้ ่ วยโรคเร้ือนหลายหมื่นคน กระทรวงสาธารณสุขและองคก์ ารอนามยั โรคดาริวางโครงการปราบปรามและควบคุมโรค ใชเ้ วลาดาเนินการตามโครงการถึง 12 ปี เม่ือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงทราบ จึงมีพระราชดาริว่า ระยะเวลา 12 ปี นานเกินไปสาหรับผปู้ ่ วยท่ีตอ้ งทนทุกขท์ รมาน น่าจะควบคุมให้ไดผ้ ลเร็วกวา่ น้ี และควรพยายามรักษาเยียวยาผปู้ ่ วยให้หายขาด เพอ่ื มิใหล้ ุกลามออกไป ทรงขอใหย้ น่ ระยะเวลาของโครงการควบคุมโรคลงเหลือ 8 ปี ในพ.ศ. 2501โปรดเกลา้ ฯ ใหก้ ระทรวงสาธารณสุข จดั ต้งั สถาบันราชประชาสมาสัย โดยพระราชทานพระราชทรัพยจ์ ากเงินทุนอานนั ทมหิดลจานวนหน่ึงเป็นทุนก่อต้งั สมทบกบั เงินรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองคแ์ ละเงินที่มีผมู้ ีจิตศรัทธา บริจาค รวมกบั พระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ เป็ นค่าใชจ้ ่ายในการสร้างอาคาร 4หลงั ในบริเวณสถานพยาบาลพระประแดง สาหรับใชเ้ ป็นสถานท่ีศึกษาคน้ ควา้ และฝึ กอบรมเจา้ หนา้ ที่ในการบาบดัโรคเร้ือน เมื่อก่อสร้างอาคารเสร็จสมบูรณ์แลว้ พระองค์ไดเ้ สร็จฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิ ดอาคาร วนั ที่ 16มกราคม 2503และพระราชทานเงินส่วนท่ีเหลือจากการก่อสร้างอาคารจานวน 271,452.05 บาท ใหเ้ ป็ น ทุนราชประชาสมาสัย เพ่ือเป็ นค่าใชจ้ ่ายในการส่งเสริมกิจการของสถาบนั น้ีต่อไป ต่อมาใน พ.ศ.2504 มีพระบรมราชานุญาตให้เปลี่ยนจากทุนราชประชาสมาสัย เป็ น มูลนิธิราชประชาสมาสัยและทรงรับไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ “ราชประชาสมาสัย” หมายถึง พระราชาและประชาชนยอ่ มพ่ึงพาอาศยั ซ่ึงกนั และกนั เสดจ็ ฯไปทรงเปิ ดสถาบนั ราชประชาสมาสยั รักษาผปู้ ่ วยโรคเร้ือน ใน สถานพยาบาลพระประแดง จ.สมทุ รปราการ ท่ีมา : http://www.sanook.com/health/5257/ ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9ดงั กล่าว มูลนิธิราชประชาสมาสัยสามารถปฏิบตั ิงานอย่างไดผ้ ลและเจริญรุดหน้ามาโดยลาดบั มีการจดัฝึกอบรมและผลิตพนกั งานบาบดั โรคเร้ือน พนกั งานอนามยั และผนู้ ิเทศงานโรคเร้ือนระดบั กลาง เจา้ หนา้ ท่ีเหล่าน้ีไดช้ ่วยทดแทนปัญหาเรื่องการขาดแคลนแพทย์ พยาบาล และเจา้ หน้าท่ีระดบั ความรู้ข้นั ปริญญาได้เป็ นอยา่ งดี ช่วยใหก้ ระทรวงสาธารณสุขสามารถขยายงานโครงการควบคุมโรคเร้ือนครอบคลุมทุกจงั หวดั

21ทวั่ ประเทศไทยภายใน พ.ศ. 2519 มีผปู้ ่ วยที่นามารักษา 106,561 คน จากยอดผปู้ ่ วยที่ประมาณไว้ 140,000คน มีผปู้ ่ วยท่ีไดร้ ับการรักษาจนหายแลว้ ในสังคมอยา่ งปกติ 62,558 คน ทาให้ความชุกชุมของโรคเร้ือนลดต่าลงจากอตั ราผปู้ ่ วย5 คน ต่อประชากร 1,000 คน ลดเหลือต่ากวา่ 1ต่อ10,000 คน ต้งั แต่ พ.ศ. 2518 ซ่ึงเป็ นอตั ราท่ีองคก์ ารอนามยั โลกถือเป็นเกณฑว์ า่ อยใู่ นภาวะที่ควบคุมโรคไดแ้ ลว้- วณั โรค ทอดพระเนตรการเรียนการสอนของโรงเรียนท่ีโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั ข้ึน สาหรับสอนบุตรหลานผปู้ ่ วยโรคเร้ือน ท่ีมา : http://www.sanook.com/health/5257/ การควบคุมวณั โรคในประเทศไทย เร่ิมต้งั แต่ในช่วงท่ี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก สนพระทยั ในการปราบวณั โรค และทรงพระนิพนธ์เรื่อง ทูเบอร์ คูโลซีสเป็ นสุขศึกษาสาหรับประชาชน ขณะท่ีทรงงานเป็ นแพทยอ์ ยทู่ ี่โรงพยาบาลแมคคอร์มิค จงั หวดั เชียงใหม่ ในพ.ศ. 2572 มีพระราชปรารภ อยากให้มี Anti-TB Soiety ในประเทศไทย ต่อมา แพทยสมาคมแห่งกรุงสยาม ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ไดร้ ิเริ่มการปราบวณั โรค ในพ.ศ. 2477 และจดทะเบียนเป็ น สมาคมปราบวณั โรคแห่งกรุงสยามตามพระราชปรารภ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดลทรงรับสมาคมปราบวณั โรคแห่งกรุงสยามไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ เม่ือวนั ท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2478 และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ไดท้ รงรับสมาคมฯ ไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภส์ ืบต่อมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ร้างอาคารสาหรับบาบดั ผปู้ ่ วยวณั โรค ท่ีโรงพยาบาลวณั โรค จงั หวดั นนทบุรี พร้อมท้งั บา้ นพกั 1หลงั รวมท้งั หมดเป็ นจานวนเงินประมาณ 329,900 บาท อาคารหลังน้ีได้สร้างเสร็จเรียบร้อย เมื่อวันท่ี 5 กันยายน พ.ศ.2490พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ไดพ้ ระราชทานนามอาคารผปู้ ่ วยหลงั น้ีวา่อานนั ทสถาน เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดลวนั ท่ี 4 พฤษภาคม พ.ศ.2485 สมาคมปราบวณั โรคไดร้ ับพระราชทานเพลงพระราชนิพนธ์คือ เพลงยามเย็น ท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว (ขณะทรงดารงพระอิสริยยศเป็ นสมเด็จพระราชอนุชา) ได้พระราชทานแก่วงดนตรีกรมโฆษณาการ (ปัจจุบนั คือ กรมประชาสัมพนั ธ์) มาบรรเลงท่ีสวนอมั พร เพ่ือหารายไดม้ าช่วยปราบวณั โรค และยงั ไดพ้ ระราชทาน เรือรบหลวงศรีอยุธยาจาลอง ที่ทรงประดิษฐ์ข้ึนดว้ ยไม้

22และส่วนประกอบต่างๆ นาไปประมูล พระราชทานรายไดจ้ ากการประมูลมาเป็ นทุนสร้างโรงพยาบาลวณัโรคดว้ ย เมื่อคร้ังเสด็จนิวตั ประเทศไทยใน พ.ศ.2493 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวทรงนายา PAS ยารักษาวณั โรคขนานใหม่ท่ีผลิตจากประเทศสวติ เซอร์แลนด์ มาพระราชทานแก่กระทรวงสาธารณสุขสาหรับใชใ้ นการรักษาในบริเวณสถานเสาวภา และไดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคส์ ร้างอาคารสาหรับผลิตวคั ซีน บีซีจี ซ่ึงเป็นยาฉีดใหแ้ ก่เด็กเพือ่ ป้ องกนั วณั โรค (ต่อมา ยาน้ีใชป้ ้ องกนั โรคเร้ือนไดด้ ว้ ย) พระราชทานนามอาคารน้ีว่า มหิดลวงศานุสรณ์ เปิ ดใช้เม่ือ พ.ศ.2494 ต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2497 กองวิทยาศาสตร์ สภากาชาดไทยสามารถผลิตวคั ซีนใช้ในประเทศไดใ้ น พ.ศ.2499 นอกจากผลิตเพ่ือใช้ในประเทศแล้ว กองทุนสงเคราะห์เด็กแห่งสหประชาชาติ (UNICEF) ยงั ได้ซ้ือวคั ซีน บีซีจี ของกองวทิ ยาศาสตร์ สภากาชาดไทย เพื่อส่งไปใชใ้ นประเทศปากีสถาน ซ่ึงไดซ้ ้ือติดต่อกนั จนถึง พ.ศ.2507 ตึกมหิดลวงศานุสรณ์ ในบริเวณสถานเสาวภา สภากาชาดไทย สถานท่ีผลิตวคั ซีน บีซีจี ท่ีมา : https://www.redcross.or.th/news/information/43317 1.4 การพระราชทานพระมหากรุณาธคิ ุณแก่สภากาชาดไทย สภากาชาดไทยเป็นองคก์ รสาธารณะที่อยใู่ นพระบรมราชูปถมั ภ์ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงมีความผกู พนั กบั สถาบนั แห่งน้ีมาต้งั แต่ยงั ทรงพระเยาว์ นอกจากได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคส์ ร้างตึกมหิดลวงศานุสรณ์ เมื่อพ.ศ. 2494สาหรับผลิตวคั ซีน บีซีจีฉีดใหเ้ ด็กเพ่ือป้ องกนั วณั โรค และใชป้ ้ องกนั โรคเร้ือนดว้ ยแลว้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ยงั มีพระมหากรุณาธิคุณแก่สภากาชาดไทยในดา้ นบริการโลหิตดว้ ย เพอื่ สนองตอ่ ขอ้ เสนอของกาชาดสากร ใน พ.ศ. 2495กรรมการสภากาชาดไทยไดม้ ีมติใหต้ ้งั แผนกบริการโลหิตข้ึนในกองวทิ ยาศาสตร์ โดยใชห้ อ้ งปาฐกถาของสถานเสาวภาเป็นสถานที่ทางาน และในปีตอ่ มา หม่อมเจา้ ปิ ยะ รังสิต พร้อมดว้ ยพระประยรู ญาติไดป้ ระทานเงินสร้างตึก รังสิตานุสรณ์เพื่อใชเ้ ป็นตึกบริการโลหิต พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ไดเ้ สดจ็ ฯไปทรงเปิ ดตึก เมื่อวนั ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2496

23 การรับบริจาคโลหิตในระยะแรกๆ มีผบู้ ริจาคโลหิตเฉลี่ยแลว้ เพยี งวนั ละ 1 ขวด เท่าน้นัพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 พระราชดาริวา่ สภากาชาดไทยควรแตง่ ต้งัคณะกรรมการเฉพาะกิจข้ึนอีกชุดหน่ึงนอกเหนือจากคณะกรรมการบริการของสภากาชาดไทย เพอ่ื ทาหนา้ ท่ีในการจดั หาและส่งเสริมใหม้ ีผบู้ ริจาคโลหิตซ่ึงต่อมา สภากาชาดไทยไดอ้ นุมตั ิใหต้ ้งั คณะกรรมการทาหนา้ ที่ดงั กล่าวข้ึน เมื่อ พ.ศ. 2540 คณะกรรมการฯ ไดเ้ ขา้ ร่วมมือกนั วางแผนในการเชิญชวนใหม้ ีผมู้ าบริจาคโลหิตดว้ ยวธิ ีการต่างๆ เช่น การออกไปบรรยายความรู้เร่ืองโลหิตและการบริจาคโลหิต ตามหมู่คณะองคก์ าร สถาบนั การศึกษาท้งั ในกรุงเทพฯและตา่ งจงั หวดั มีการใชส้ ่ือมวลชน เช่น วทิ ยุ โทรทศั น์หนงั สือพมิ พ์ ช่วยเผยแพร่การรับบริจาคโลหิต จากผลงานดงั กล่าว โลหิตที่ไดร้ ับบริจาคจึงมีปริมาณเพมิ่ ข้ึนนอกจากน้ี ยงั ไดด้ าเนินการขยายกิจการบริการโลหิตน้ีไปสู่ภูมิภาค โดยเปิ ดสาขาศนู ยบ์ ริการโลหิตข้ึนตามโรงพยาบาลประจาจงั หวดั ดว้ ยความร่วมมือของผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นายกคณะกรรมการเหล่ากาชาดจงั หวดั และผอู้ านวยการโรงพยาบาลประจาจงั หวดั ใน พ.ศ. 2506 ไดม้ ีคณะผเู้ ช่ียวชาญทางโรคเกี่ยวกบั โลหิตจากประเทศฝรั่งเศสมาเยย่ี มประเทศไทย เพื่อหาขอ้ มลู วา่ จะช่วยเหลือการแพทยใ์ นประเทศไทยไดอ้ ยา่ งไรบา้ งและไดเ้ สนอใหก้ ารช่วยเหลือในการจดั ต้งัศูนยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติข้ึนในประเทศไทย โดยรัฐบาลฝรั่งเศสจะส่งผเู้ ชี่ยวชาญมาช่วยจดั สร้าง ให้เคร่ืองมือเครื่องใชท้ างเทคนิค และช่วยฝึกเจา้ หนา้ ท่ีไทยในการดาเนินงานในข้นั ตน้ จนกวา่ เจา้ หนา้ ที่ฝ่ ายไทยจะรับดาเนินงานสืบต่อไปได้ กระทรวงสาธารณสุขไดพ้ ิจารณาขอ้ เสนอของรัฐบาลฝร่ังเศส เม่ือวนั ที่14 ตุลาคม พ.ศ. 2506 และลงมติมอบใหส้ ภากาชาดไทยเป็นผดู้ าเนินการจดั ต้งั ศนู ยบ์ ริการโลหิตดงั กล่าวในวนั ที่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2512พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ไดเ้ สด็จฯไปทรงเปิ ดศูนยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ถนนองั รีดูนงั ต์ กรุงเทพฯ และทอดพระเนตรกิจการการรับบริจาคโลหิต หอ้ งตรวจความบริสุทธ์ิของโลหิต ศูนยฯ์ น้ีมีเจา้ หนา้ ที่ประจาอยตู่ ลอดเวลา 24 ชว่ั โมง ปัจจุบนั ศนู ยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติมีสาขาท้งั ในกรุงเทพฯ และต่างจงั หวดั และมีหน่วยเคล่ือนท่ีออกไปต้งั บริการรับบริจาคโลหิตตามสถานท่ีราชการ องคก์ าร สถาบนั การศึกษา หา้ งร้าน และบริษทัต่างๆ ท้งั น้ีเพอื่ ใหไ้ ดโ้ ลหิตบริจาคมากท่ีสุด สาหรับแจกจ่ายไปรักษาผปู้ ่ วยในโรงพยาบาลตา่ งๆ ทว่ั ประเทศรวมท้งั เก็บสารองไวส้ าหรับทหาร และตารวจตระเวนชายแดน ในกรณีท่ีหน่วยใดมีความตอ้ งการใชโ้ ลหิตฉุกเฉิน ศูนยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติกส็ ามารถจดั ส่งใหไ้ ดท้ นั ที ศนู ยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติไดพ้ ยายามรณรงค์ท่ีจะใหม้ ีการบริจาคโลหิตมากพอแก่ความตอ้ งการใช้ จนถึงข้นั เลิกซ้ือขายโลหิตไดส้ าเร็จใน พ.ศ. 2530เป็นการถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ในโอกาสท่ีทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ

24 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชและสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ ฯ ไป ทรงเปิ ดศูนยบ์ ริการ โลหิตแห่งชาติ และมีพระราชปฏิสนั ถารกบั ผบู้ ริจาคโลหิต ตึกรังสิตานุสรณ์ สภากาชาดไทย ใชเ้ ป็นตึกบริจาคโลหิต https://www.redcross.or.th/news/information/22555 1.5 พระราชทานแนวคดิ เกย่ี วกบั การควบคุมโรคคอพอกและโรคขาดสารไอโอดีน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ไดพ้ ระราชทานแนวคิดในการขจดัโรคขาดสารไอโอดีนของประชาชนซ่ึงทาใหเ้ กิดโรคคอพอก หรือสติปัญญาต่า ทรงแนะนาใหม้ ีการสร้างเครื่องผลิตเกลือเสริมไอโอดีนที่มีกาลงั การผลิตที่เหมาะสม ท้งั ยงั พระราชทานเกลือเสริมไอโอดีนแก่ประชาชน ทาใหเ้ กลือเสริมไอโอดีนเขา้ ถึงทุกครัวเรือน การควบคุมโรคขาดสารไอโอดีนจึงมีประสิทธิผลมากข้ึน ในระยะต่อมา พระองคท์ รงสนบั สนุนใหม้ ีการศึกษา “เส้นทางเกลือ” เพอื่ ใหเ้ กิดความเขา้ ใจเก่ียวกบัแหล่งผลิตเกลือ และการกระจายเกลือทวั่ ประเทศ ความรู้น้ีเองส่งผลใหก้ ระทรวงสาธารณสุขสามารถใหก้ ารช่วยเหลือและการสนบั สนุนแก่ผผู้ ลิตเกลือในการเสริมไอโอดีนอยา่ งเหมาะสม และนาส่งไปสู่ผบู้ ริโภค ตอ่ มา ไดพ้ ระราชทานเกลือเสริมไอโอดีนแก่กระทรวงสาธารณสุข เพื่อนาไปแจกจา่ ยแก่ประชาชนทว่ั ประเทศ เนื่องในโอกาสทรงครองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปี และยงั ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ประทบั ตราสัญลกั ษณ์ปี กาญจนาภิเษกลงบนถุงเกลือซ่ึงเรียกกนั ภายหลงั วา่ เกลอื พระราชทาน นอกจากน้ี ได้

25ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ให้สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ แทนพระองค์ ไปทรงเป็นพระประธานในพิธีปล่อยขบวนรถคาราวานเกลือเสริมไอโอดีน เมื่อตน้ พ.ศ. 2539 ส่งผลให้ประชาชนตระหนกั ถึงปัญหาการขาดสารไอโอดีนยงิ่ ข้ึน จากการท่ีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 สนพระราชหฤทยั และทรงสนบั สนุนโครงการควบคุมการขาดสารไอโอดีน จนประสบผลสาเร็จในการป้ องกนั ไดท้ วั่ ประเทศ สภานานาชาตเิ พอ่ื การควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน (International Council for Control of Iodine DeficiencyDisorders, ICCIDD) จึงไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวายเหรียญทองสดุดีพระมหากรุณาธิคุณและพระเกียรติคุณ นบั เป็ นพระมหากษตั ริยพ์ ระองคแ์ รกของโลกท่ีทรงไดร้ ับรางวลั ดงั กล่าว 4.6 ในปี พ.ศ.2536พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสดจ็ พระราชดาเนินมา ทอดพระเนตร การผลิตเคร่ืองผสมเกลือไอโอดีน ท่ีโรงฝึกงานแผนกวชิ าช่างกลโรงงาน วทิ ยาลยั เทคนิคเชียงใหม่ ท่ีมา : https://www.dailynews.co.th/education/603098 1.6 การพระราชทานความช่วยเหลอื ผู้ปฏบิ ัติหน้าทีป่ ้ องกนั ประเทศชาติ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 มิไดท้ รงห่วงใยและพระราชทานความช่วยเหลือเฉพาะราษฎรผยู้ ากไร้ และที่อยหู่ ่างไกลชนบทเท่าน้นั ทหาร ตารวจ และพลเรือนตลอดจนเจา้ หนา้ ท่ีอาสาสมคั รท่ีปฏิบตั ิหนา้ ท่ีในการปราบปรามผกู้ ่อการร้าย กไ็ ดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณดว้ ยเช่นกนันอกจากการเสด็จฯไปทรงเยยี่ มเพอ่ื สร้างขวญั และกาลงั ใจ และพระราชทานส่ิงของแก่ผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีถึงสนามรบแลว้ ผทู้ ่ีบาดเจบ็ กโ็ ปรดเกลา้ ฯใหไ้ ดร้ ับการดูแลรักษาอยา่ งดียง่ิ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ไดพ้ ระราชทานทุนสาหรับจดั สร้างโรงงานทาแขนขาเทยี มและฝึ กอาชีพ ข้ึนท่ีโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา้ เพ่ือดูแลรักษาผทู้ ่ีทุพพลภาพที่สูญเสียอวยั วะบางส่วนท้งั ยงั พระราชทานพระ

26บรมราชวโรกาสใหท้ หารท่ีไดร้ ับบาดเจบ็ และผทู้ ี่รักษาพยาบาลทหารเหล่าน้นั เขา้ เฝ้ าฯรับพระราชทานเล้ียงและรับพระราชทานของขวญั ท่ีศาลาดุสิดาลยั ในบริเวณสวนจิตรลดาดว้ ย รูป 1.6 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ เสดจ็ ฯไปทรงเยยี่ มเพอื่ สร้างขวญั และกาลงั ใจแก่ทหารที่บาดเจบ็ ขณะปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ที่มา: http://www.tnews.co.th/contents/3326802. การพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์แก่โรงพยาบาล พระราชกรณียกิจดา้ นการพระราชทานพระบรมราชูปถมั ภแ์ ก่โรงพยาบาลต่างๆ ที่ควรกล่าวถึง มีดงั น้ี 1. เน่ืองจากโรงพยาบาลศิริราชไม่มีอาคารสาหรับเด็กท่ีป่ วยเป็ นโรคติดต่อ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 จึงพระราชทานภาพยนตร์ส่วนพระองคส์ มทบดว้ ย ในการน้ีมีผู้บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลเป็ นจานวนมาก เงินที่ได้ในคร้ังน้ีได้นามาสร้างอาคารรับเด็กท่ีป่ วยเป็ นโรคติดตอ่ พระราชทานนามอาคารหลงั น้ีวา่ อานันทมหิดล เพื่อเป็ นพระบรมราชานุสรณ์แด่สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช ตึกอานนั ทมหิดลหลงั เดิม ในโรงพยาบาลศิริราช สร้างจากรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ และพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์

27 2.พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างอาคารหลงั หน่ึงบริเวณโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ พระราชทานนามอาคารหลงั น้ีวา่ วชิราลงกรณ์ สาหรับเล้ียงดูเด็กกาพร้าท่ีถูกมารดาทอดทิ้งหลงั จากการคลอดบุตรท่ีโรงพยาบาล ให้มีพยาบาลดูแลต้งั แต่ยงั เป็ นทารก เม่ือมีอายทุ ี่สมควรจะเขา้ โรงเรียน สภากาชาดไทยก็ส่งใหเ้ ล่าเรียนในโรงเรียนละแวกใกลๆ้ ทรงวางศิลาฤกษต์ ึกวจิ ยั ประสาท โรงพยาบาลประสาทพญาไท 3. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ไดท้ รงพระราชทานรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองคป์ ระมาณ 700,000 บาท สาหรับก่อสร้าง ตึกวิจยั ประสาท และต้งั ทุนวิจยัประสาท ที่โรงพยาบาลประสาทพญาไท เพื่อจะไดว้ จิ ยั โรคประสาทแต่ละชนิดใหก้ วา้ งขวางยิ่งข้ึน ท้งั จะได้ฝึกอบรมเจา้ หนา้ ที่ใหม้ ีความรู้ความชานาญเพม่ิ ข้ึนอีกดว้ ย เม่ือตึกวิจยั ประสาทไดก้ ่อสร้างแลว้ เสร็จ คณะกรรมการราชตฤณมยั สมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวายเงิน 120,000 บาท โดยเสด็จพระราชกุศล ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 จานวนน้ีเป็ นทุนแรกเร่ิมสาหรับการวจิ ยั ทางประสาทวิทยา โดยนาไปฝากธนาคารจานวน 100,000 บาท เพ่ือเก็บดอกผลมาใช้ในการน้ีโดยเฉพาะ ส่วนอีก 20,000 บาท ได้จดั สร้างหอ้ งวจิ ยั เพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ราชตฤณมยั สมาคม เพื่อให้การดาเนินงานเป็ นไปตามพระราชประสงคย์ ่ิงข้ึน กระทรวงสาธารณสุขจึงไดจ้ ดั ต้งั มูลนิธิวจิ ัยประสาทวทิ ยา ในพระบรมราชูปถมั ภ์ เพอื่ ใหศ้ ูนยว์ จิ ยั ทางประสาทวทิ ยาโรงพยาบาลประสาทพญาไท มีรากฐานมน่ั คงอนั จะเป็นประโยชน์แก่ประชาชนโดยทว่ั หนา้

28 เสด็จฯ ไปทอดพระเนตรกิจการโรงพยาบาลสมเด็จเจา้ พระยา อาคารราชสาทิส (หลงั เดิม) ที่สร้างจากการพระทานรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ และ ที่มีผบู้ ริจาคโดยเสด็จพระราชกศุ ล 4. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงพระราชดาริวา่ โรงพยาบาลสมเด็จเจา้ พระยาซ่ึงเป็ นโรงพยาบาลจิต ที่ธนบุรี ไดต้ ้งั มานานแลว้ แต่ไม่ค่อยไดร้ ับการสนนั สนุนจากผมู้ ีจิตกศุ ลมากนกั การรักษาพยาบาลคนไขป้ ระเภทโรคจิต ถา้ มีสถานที่อนั เหมาะสมเพม่ิ เติมจะทาใหผ้ ปู้ ่ วยมีสภาพจิตใจดีข้ึน จึงพระราชทานรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองคร์ ่วมกบั เงินที่มีผบู้ ริจาคโดยเสด็จพระราชกศุ ล โปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างตึกผปู้ ่ วยพิเศษข้ึนหลงั หน่ึง พระราชทานนามอาคารหลงั น้ีวา่ ราชสาทสิ 5. โรงพยาบาลสวนสราญรมย์ จงั หวดั สุราษฎร์ธานี เป็นสถานที่รักษาผปู้ ่ วยโรคจิตในจงั หวดั ภาคใต้แต่ยงั ขาดตึกสาหรับพระสงฆ์ที่อาพาธด้วยโรคน้ี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้งั ทุนสร้างตึกสงฆ์อาพาธ ข้ึน และพระราชทานรายไดจ้ ากการแสดงดนตรีการกุศลเป็ นทุนแรกเร่ิม ส่วนเงินที่ยงั ขาดอยู่ โปรด

29เกลา้ ฯ ให้นาภาพยนตร์ส่วนพระองคไ์ ปฉายในจงั หวดั ภาคใต้ มีประชาชนร่วมกนั บริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนจนพยี งพอสาหรับก่อสร้าง 6. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ทรงทราบวา่ ท่ีอาเภอพระแสงและบางอาเภอในจงั หวดั สุราษฎร์ธานี ราษฎรมีความทุกข์ยากเก่ียวกบั การอนามยั และการรักษาตวั เมื่อเจบ็ ป่ วย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ า้ ราชการกระทรวงสาธารณสุข ซ่ึงปฏิบตั ิงานอยทู่ ่ีอาเภอพระแสงและบางอาเภอ เขา้ เฝ้ าฯ รับพระราชทานเวชภณั ฑ์ ยานพาหนะ และเงินในการใช้จ่ายอื่นๆ เพ่ือให้เจา้ หนา้ ท่ีอนามยั ของกระทรวงสาธารณสุขนาไปปฏิบตั ิการเพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนในทอ้ งถ่ินทุรกนั ดาร อาเภอพระแสงน้ีเป็ นทอ้ งท่ีกนั ดารมาก เจา้ หน้าที่มีความเป็ นอยู่อย่างยากลาบาก จึงหาคนไปปฏิบัติงานประจายากมาก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9ได้พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ สร้างบา้ นพกั ให้เจา้ หนา้ ท่ีที่ประจาอยทู่ ่ีสถานีอนามยั อาเภอพระแสง และพระราชทานสิ่งต่างๆ ท่ียงั ขาดแคลน ต่อมา พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทานพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จานวน 30,000 บาท เป็ นทุนแรกเร่ิม เพ่ือจดั ต้งั มูลนิธิพัฒนาอนามัย และไดม้ ีผนู้ อ้ มเกลา้ ฯ ถวายยานพาหนะและทรัพยส์ ินให้แก่มูลนิธิฯ เป็ นจานวนมาก เพื่อโดยเสด็จพระราชกุศล มลู นิธิฯ นาดอกผลท่ีไดจ้ ากเงินทุนไปจดั ซ้ืออุปกรณ์การแพทยแ์ ละเวชภณั ฑ์ และใหก้ ารรักษาโรคแก่ประชาชนทวั่ ไปโดยไมค่ ิดคา่ รักษา 7. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 พระราชประสงคจ์ ะสร้างเรือนผปู้ ่ วยท่ีโรงพยาบาลประจาจงั หวดั ปราจีนบุรี โรงพยาบาลประจาจงั หวดั บุรีรัมย์ และโรงพยาบาลประจาจงั หวดั แพร่ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แบ่งรายได้จากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์มาสร้างเรือนผปู้ ่ วยแก่โรงพยาบาลท้งั 3 จงั หวดั น้นั 8. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 พระราชทานส่ิงของเครื่องใชใ้ นดา้ นการแพทย์ และอุปกรณ์อื่นๆ แก่โรงพยาบาลสังกดั กระทรวงสาธารณสุขหลายแห่งทวั่ ประเทศ โดยเมื่อคร้ังเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรการปฏิบตั ิงานของทหาร และตารวจตระเวนชายแดนท่ีจงั หวดั น่านในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2511 ไดม้ ีพระราชกระแสรับสง่ั ให้สอบถามความตอ้ งการของโรงพยาบาลประจาจงั หวดั น่านเรื่องอุปกรณ์การแพทย์ และไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานเครื่องปรับอากาศสาหรับห้องผา่ ตดัจานวน 4 เครื่อง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2511 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานรถยนต์แลนด์โรเวอร์เครื่องปรับอากาศ และเคร่ืองมือแพทยจ์ านวน 30 รายการ แก่โรงพยาบาลประจาจงั หวดั สกลนคร คิดเป็ นมูลคา่ หลายแสนบาท ดว้ ยพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์ เดือนมกราคม พ.ศ.2513 โปรดเกลา้ ฯ ใหร้ าชองครักษน์ าเครื่องมือแพทย์ 22 รายการ ใหโ้ รงพยาบาลพทุ ธชินราช จงั หวดั พษิ ณุโลก และในคืนเดียวกนั น้นั โปรดเกลา้ ฯพระราชทานรถพยาบาล เคร่ืองเอกซเรย์และเครื่องมือแพทยอ์ ีก 5 รายการแก่โรงพยาบาลประจาจงั หวดั เพชรบูรณ์ ต่อมา เม่ือพระบาทสมเด็จพระ

30ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 เสด็จฯไปยงั จังหวดั ราชบุรี ได้ทรงทราบว่า กระทรวงสาธารณสุขยงั ขาดงบประมาณการก่อสร้างอาคารในศูนยอ์ นามยั แม่และเด็ก เขต 7 จงั หวดั ราชบุรี จึงโปรดเกลา้ ฯพระราชทานเงินจานวน 500,000 บาท เพ่ือก่อสร้างอาคารหลงั น้นั นอกจากน้ี ยงั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคจ์ านวน 170,000 บาท เพ่ือทาระบบประปาแก่โรงพยาบาลเชียงคา จงั หวดั เชียงรายและพระราชทานเงินจานวน 240,000 บาทแก่โรงพยาบาลน่าน เพอื่ ก่อสร้างอาคารผปู้ ่ วยอีกดว้ ย 9.เม่ือจดั ต้งั โรงพยาบาลเด็กปัญญาอ่อนข้ึนแลว้ ไดม้ ีผนู้ าบุตรหลานที่เป็ นโรคปัญญาอ่อนมารับการรักษามากข้ึน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ใหจ้ ดั ต้งั มูลนิธิช่วยเด็กปัญญาอ่อน เพื่อหาทางช่วยเหลือเด็กประเภทน้ี ต่อมา โปรดเกลา้ ฯจดั ต้งั โรงเรียนสาหรับเด็กปัญญาอ่อนข้ึน โดยพระราชทานเงินรายไดจ้ ากการฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ รวมท้งั มีผบู้ ริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลเป็ นจานวนมาก จนได้เงินเพียงพอต่อการก่อสร้างอาคารโรงเรียน พร้อมอุปกรณ์การฝึ กอย่างครบครัน และพระราชทานนามโรงเรียนวา่ ราชานุกุลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ได้เสดจ็ ฯไปพระราชทานของขวญั แก่เดก็ ปัญญาออ่ นเสมอมา ดว้ ยมีพระเมตตาตอ่ เดก็ เหล่าน้นั อยา่ งยงิ่ เสด็จฯ ไปโรงเรียนราชานุกลู ซ่ึงโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างข้ึนสาหรับเด็กปัญญาออ่ น 3.1การกฬี า พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงเป็นนกั กีฬาเขา้ ร่วมการเข่งขนัเรือใบระหวา่ งประเทศในกีฬาแหลมทอง คร้ังที่ 4 (ต่อมาไดเ้ ปล่ียนช่ือเป็ นกีฬาซีเกมส์) ที่อา่ วพทั ยา จงั หวดัชลบุรี เม่ือ พ.ศ.2510 ซ่ึงประเทศไทยเป็นเจา้ ภาพ โดยทรงเรือใบที่พระองคท์ รงเป็นผตู้ ่อข้ึนเอง ต้งั แต่โครงเรือจนถึงการลงสี อีกท้งั ยงั พระราชทานชื่อใหเ้ รือใบลาน้นั วา่ “ไมโครมด” จึงทรงเห็นความสาคญั ของการมีร่างกายท่ีแขง็ แรง ทรงส่งเสริมใหป้ ระชาชนมีสุขถาพแขง็ แรง ดงั พระราชดารัสท่ีวา่ … “…จงถอื ว่า สุขภาพ คือ ทรัพย์สมบัติประการแรก …”“…กฬี าเป็ นส่วนสาคัญของการศึกษา กฬี าเป็ นวธิ ีทด่ี ีทสี่ อนเดก็ ให้มคี วามอดทนกล้าหาญ รู้จักแพ้รู้จักชนะ เป็ นเครื่องส่งเสริมสุขภาพ พลงั กายและใจ และเดก็ กจ็ ะเป็ นพลเมอื งดี…”

31 3.1.1 พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชขณะทรงต่อเรือไมโครมด ที่มา : http://variety.teenee.com เม่ือประทบั อยู่ ณ ประเทศสวติ เซอร์แลนด์ โปรดกีฬาหลายประเภท เช่น สกีน้าแขง็ , ยงิ ปื น, กอลฟ์เลก็ , การแข่งขนั รถเลก็ , เทนนิส, แบดมินตนั , เคร่ืองร่อน โดยทรงเล่นกีฬาเหล่าน้ีมาต้งั แต่ยงั ทรงพระเยาว์ 3.1.1 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชขณะทรงเรือไมโครมด ที่มา https://www.prachachat.net/

32 โดยทรงศึกษาขอ้ มูลของกีฬาแตล่ ะประเภทอยา่ งละเอียด และทรงฝึกฝนจนปฏิบตั ิไดด้ ี นบั เป็นแบบอยา่ งที่ดีของนกั กีฬา น่าสงั เกตวา่ กีฬาที่โปรด มกั เป็นกีฬาที่ไม่ไดใ้ ชแ้ ต่พละกาลงั เพียงอยา่ งเดียว คือตอ้ งอาศยั ความรู้รอบตวั และเทคนิคไหวพริบ ผนวกกบั ความรู้ ความเขา้ ใจอยา่ งถ่องแทใ้ นกีฬาน้นั ๆ ซ่ึงทรงพอพระทยั กบั การเผชิญความทา้ ทายในเกมกีฬาเป็นอยา่ งมาก 3.2 โภชนาการ การที่จะมีสุขภาพท่ีแขง็ แรงน้นั นอกจากการเล่นกีฬาและการออกกาลงั กายแลว้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ยงั ทรงใหค้ วามสาคญั กบั โภชนาการ เช่น การรับประทานขา้ วกลอ้ ง พระองคท์ รงเห็นประโยชน์ของขา้ วกลอ้ ง ดงั พระราชดารัสท่ีวา่ “…ขา้ วที่ออกเป็นสีลกั ษณะน้ีเป็นขา้ วท่ีมีประโยชน์อยา่ งขา้ วกลอ้ ง คนไทยส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยกินกนัเพราะเห็นวา่ เป็ นขา้ วของคนจน ขา้ วกลอ้ งมีประโยชนท์ าใหร้ ่างกายแขง็ แรง ขา้ วขาวเมด็ สวย แต่เขาเอาของดีออกไปหมดแลว้ มีคนบอกวา่ คนจนกินขา้ วกลอ้ ง เรากินขา้ วกลอ้ งทุกวนั เรานี่กค็ นจน…”รูปท่ี 1 รูปท่ี 2 รูปท่ี 3 รูปท่ี 1 และรูปท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ฯทรงเก่ียวขา้ ว (ท่ีมาจาก : http://u-rice.com/ในหลวงกบั ขา้ วไทย)รูปที่ 3. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ฯ และสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาบรมราชกมุ ารี ทรงเก่ียวขา้ วในโครงการแปลงนาส่วนพระองคท์ ่ีบา้ นบางกระดาน ต.บางแตน อ.บา้ นสร้าง จ. ปราจีนบุ (ท่ีมา: http://www.paolohospital.com/phahol/article/brown-rice-2/)

33 3.3 ดนตรี ดนตรีเป็นสิ่งหน่ึงที่ช่วยใหค้ นเรามีสุขภาพจิตดี ดงั พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ที่วา่“ดนตรีนีม้ ีไว้สาหรับให้บันเทิง แล้วกใ็ ห้จิตใจสบาย... ทาให้คนที่กาลงั ท้อใจ มีกาลังใจขึน้ มาได้ คือ เร้ าใจได้คนกาลังไปทางหนึ่ง ทางที่ไม่ถูกต้อง ก็อาจจะดึงกลับมาในทางที่ถูกต้องได้ ฉะนั้น ดนตรีก็มีความสาคัญอย่างยิ่ง...” พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 มีพระปรีชาสามารถทางดนตรีเป็ นเลิศท้งั การทรงเคร่ืองดนตรี การทรงพระราชนิพนธ์เพลงและท่วงทานอง เพลงซ่ึงทรงพระราชนิพนธ์ยงั คงเป็ นเพลงอมตะอยจู่ นถึงปัจจุบนั การทรงดนตรีทาใหพ้ ระราชหฤทยั แจ่มใสเบิกบาน ท่ีมา: https://thaipoliticalprisoners.wordpress.com/2013/10/06/monarch-and-music/

34 3.4 ด้านสุขศึกษา นอกจากพระราชทานพระราชทรัพยแ์ ละแนวพระราชดาริในการแกไ้ ขปัญหาการสาธารณสุขของประเทศแลว้ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ยงั ทรงเป็ นนกั สุขศึกษาที่ทรงพระปรีชาสามารถยงิ่ ทรงอธิบายปัญหาทางการแพทยท์ ่ียงุ่ ยากใหแ้ ก่ประชาชนเขา้ ใจไดง้ ่ายดายในเวลาอนัส้ัน ดงั เห็นไดจ้ ากการม่ีพระราชทานคาอธิบายเก่ียวกบั การรักษาโรคหวั ใจ ที่คณะแพทยข์ องโรงพยาบาลศิริราชไดถ้ วายการรักษาพระอาการประชวรของพระองคแ์ ก่ประชาชนทางโทรทศั น์ ท้งั ๆที่ทรงอยใู่ นช่วงของการพกั ผอ่ นหลงั จากทรงพระประชวร การพระราชทานคาอธิบายในคร้ังน้นั ทาใหป้ ระชาชนเขา้ ใจสาเหตุของการเจบ็ ป่ วยจากโรคหวั ใจ และวธิ ีการรักษาโดยใชบ้ ลั ลูนขยายเส้นเลือดไดอ้ ยา่ งแจ่มแจง้ จากการท่ีพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 ไดท้ รงบาเพญ็ พระราชกรณียกิจทางดา้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขจนเป็นท่ีประจกั ษไ์ ปทว่ั นายแพทย์ ดร. ฮิโรชิ นาคาจิม่า ผู้อานวยการ์องคก์ ารอนามยั โรค จึงไดท้ ลู เกลา้ ฯถวาย เหรียญทองสุขภาพดถี ้วนหน้า พร้อมท้งั คาประกาศราชดุดีเฉลิมพระเกียรติคุณ เม่ือวนั ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535นายแพทย์ ดร. ฮิโรชิ นาคาจิม่า ผอู้ านวยการ์องคก์ ารอนามยั โรค จึงไดท้ ูลเกลา้ ฯถวาย เหรียญทองสุขภาพดี ถ้วนหน้า เม่ือวนั ท่ี 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535

35การพฒั นาบุคลากรทางการแพทย์และการยกย่องผู้ทม่ี ผี ลงานดีเด่นของโลก ด้านการแพทย์และการสาธารณสุขมูลนิธิอานันทมหดิ ลประวตั โิ ครงการ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 มีพระราชดาริวา่ สมควรจดั ต้งัทุนการศึกษาข้ึนสาหรับผทู้ ี่สาเร็จการศึกษาระดบั ปริญญา บณั ฑิตสาขาแพทยศาสตร์ในประเทศไทย ไปศึกษาตอ่ ณ ตา่ งประเทศโดยพระราชทานทุนช่ือวา่ ทุนอานนั ทมหิดลเพื่อเป็นพระบรมราชานุสรณ์แด่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดลสมเดจ็ บรมมาเชษฐาธิราวตั ถุประสงค์โครงการ 1.ส่งเสริมและสนบั สนุนการศึกษาช้นั สูง ดว้ ยการพระราชทานทุน ใหผ้ สู้ าเร็จการศึกษาระดบัปริญญาตรีในประเทศไทย ผมู้ ีคุณสมบตั ิดีเด่นท้งั ดา้ นวชิ าการและคุณธรรม ไปศึกษาต่อในสาขาวชิ าอนั จะเป็นประโยชนต์ ่อวงวชิ าการ แลว้ นากลบั มาถ่ายทอดแก่ชนรุ่นหลงั เป็นการรับใชช้ าติบา้ นเมือง ตลอดจนช่วยในการพฒั นาประเทศ 2. พระราชทานทุนช่วยเหลือในการประกอบวชิ าชีพ หรือเพอ่ื คน้ ควา้ แก่ผไู้ ดร้ ับพระราชทานทุนที่สาเร็จการศึกษาแลว้ กลบั มาทางานในประเทศไทย และไดแ้ สดงความสามารถดีเยย่ี ม มีคุณธรรมและความประพฤติดีเป็นกรณีๆ ไป 3. จดั ต้งั สถาบนั คน้ ควา้ ทางวิชาการ เพือ่ เปิ ดโอกาสใหผ้ ไู้ ดร้ ับพระราชทานทุนที่สาเร็จการศึกษาและกลบั มาทางานในประเทศไทย ไดค้ น้ ควา้ ทางวชิ าการต่อไป 4. ร่วมมือกบั สถาบนั อ่ืนท่ีมีวตั ถุประสงคค์ ลา้ ยคลึงกนั เพ่อื ใหก้ ารสนบั สนุนทางวชิ าการเป็นไปอยา่ งกวา้ งขวางและทวั่ ถึงยง่ิ ข้ึนการดาเนินงาน/หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง เม่ือเดือนมกราคมพ.ศ. 2498 และโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั คณะกรรมการคดั เลือกนกั ศึกษาแพทยท์ ่ีสาเร็จการศึกษามีผลคะแนนดีเด่นดา้ นวชิ าการและมีคุณธรรม รับพระราชทานทุนไปศึกษา ณ ตา่ งประเทศโดยไม่มีขอ้ ผกู มดั ใดๆท้งั สิ้นต่อมาพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ไดม้ ีพระบรมราชวนิ ิจฉยั ใหเ้ ปล่ียนสถานภาพจากทุนเป็นมลู นิธิอานนั ทมหิดลซ่ึงไดร้ ับตราสารเม่ือวนั ท่ี 3 เมษายนพ.ศ. 2502 ดว้ ยพระราชปณิธานท่ีจะ“พฒั นาคนเพือ่ พฒั นาชาติ” จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ยายการพระราชทานทุน

36สนบั สนุนนกั ศึกษาในสาขาวชิ าอื่นๆนอกเหนือจากสาขาวชิ าแพทยศาสตร์ดว้ ยปัจจุบนั มลู นิธิแบ่งสาขาวชิ าเป็น 8 แผนกคือแผนกแพทยศาสตร์วทิ ยาศาสตร์ เกษตรศาสตร์ ธรรมศาสตร์ อกั ษรศาสตร์ ทนั ตแพทยศาสตร์สตั วแพทยศาสตร์ และวศิ วกรรมศาสตร์ (แยกมาจากแผนกวทิ ยาศาสตร์และวศิ วกรรมศาสตร์)พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ผพู้ ระราชทานกาเนิดมลู นิธิฯ ทรงดารงตาแหน่งนายกกิตติมศกั ด์ิในช่วงแรก สมเด็จพระศรีนครินทร์ทรา บรมมราชจะชนนีทรงเป็นองคป์ ระธานกรรมการบริหารมลู นิธิต่อมาในปี พ.ศ. 2538 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ แต่งต้งั พระสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกมุ ารีเป็นองคป์ ระธานบริหาร ส่งคดั เลือกผทู้ ี่รับพระราชทานทุนร่วมกบัคณะกรรมการบริหารและนาความข้ึนกราบบงั คมทูลพระกรุณา ทราบฝ่ าละอองธุลีพระบาทเพ่อื มีพระบรมราชวนิ ิจชยั ตลอดระยะเวลา 50 ปี แต่งต้งั แตพ่ .ศ. 2498 จนถึงปัจจุบนั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคแ์ ก่มูลนิธิฯ อยา่ งตอ่ เน่ืองนอกจากน้ี ยงั มีเงินบริจาคจากพระบรมมาราชวงศศ์ านุวงคห์ น่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและประชาชนผมู้ ีจิตศรัทธาซ่ึงเป็นแหล่งทุนสาคญั อีกส่วนหน่ึงของมูลนิธิฯดว้ ยนบั ต้งั แต่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงก่อต้งั มลู นิธิอานนั ทมหิดลมาจนถึงพ.ศ. 2547 มีผไู้ ดร้ ับพระราชทานทุนซ่ึงสาเร็จการศึกษาแลว้ รวม 248 คนในจานวนน้ีมีผสู้ าเร็จการศึกษาแผนกแพทยศาสตร์มากท่ีสุดถึง คือ 72 คนมูลนิธิอานนั ทมหิดลเปรียบไดด้ งั “นิธิแห่งปัญญา” ดว้ ยไดส้ ร้างสรรคส์ ะสมความรู้ ยงัประโยชนใ์ หแ้ ก่สงั คมไทยมาเป็นเวลาก่ึงศตวรรษแลว้ นกั เรียนมลู นิธิอานนั ทมหิดลเขา้ เฝ้ า พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ผพู้ ระราชทานกาเนิดมลู นิธิฯ ที่มา : http://radio.rmutp.ac.th/เร่ืองน่ารู้บณั ฑิตศึกษ/ http://www.anandamahidolfoundation.or

37รางวลั สมเด็จเจ้าฟ้ ามหดิ ลประวตั ิ โครงการ มูลนิธิรางวลั สมเด็จเจา้ ฟ้ ามหิดล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ไดร้ ับพระบรมราชานุญาตให้จดั ต้งั ข้ึน เม่ือวนั ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ดว้ ยการริเริ่มของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหิดล ในวโรกาสเฉลิมฉลองวนั คลา้ ยวนั พระราชสมภพ ในสมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ครบ 100 ปี ในวนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2535 เพ่อื ดาเนินการมอบรางวลั สมเด็จเจา้ ฟ้ ามหิดล ถวายเป็นพระราชอนุสรณ์ และเพอื่ เผยแพร่พระราชเกียรติคุณ แห่งสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ”องคบ์ ิดาแห่งการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั และการสาธารณสุขของไทย”เม่ือแรกต้งั ใชช้ ่ือมลู นิธิวา่ “มูลนิธิรางวลั มหิดล ในพระบรมราชูปถมั ภ์” และไดเ้ ปล่ียนแปลงเป็น “มลู นิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ ามหิดล ในพระบรมราชูปถมั ภ”์ เม่ือวนั ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบรมราชชนก ประดิษฐาน ณ ศิริราชพยาบาลที่มา : http://www.princemahidolaward.org/about.th.php ตราสญั ลกั ษณ์มูลนิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ ามหิดล ในพระบรมราชูปถมั ภ์ท่ีมา : http://www.princemahidolaward.org/about.th.ph

38วตั ถุประสงค์โครงการ 1.เผยแพร่พระเกียรติคุณแห่งสมเดจ็ พระมลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก 2.มอบรางวลั แก่บุคคลหรือองคก์ รที่ปฏิบตั ิงาน และ/หรือวจิ ยั ดีเด่นทางดา้ นการแพทย์ อนั ก่อใหเ้ กินประโยชนแ์ ก่มนุษยชาติ. 3.มอบรางวลั แก่บุคคลหรือองคก์ รที่ปฏิบตั ิงานดีเด่นทางดา้ นการสาธารณสุข เป็นประโยชนแ์ ก่สุขภาพอนามยั ของมนุษยชาติ 4.ดาเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์ หรือร่วมกบั องคก์ รการกุศลอ่ืนๆ เพื่อสาธารณประโยชน์ 5.ไมด่ าเนินการเก่ียวขอ้ งกบั การเมืองแตป่ ระการใดการดาเนินงาน/หน่วยงานทเี่ กยี่ วข้อง พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี 9 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ รับมลู นิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ ามหิดลไวใ้ นพระราชูปถมั ถ์ และทรงแต่งต้งั สมเด็จพระเทพรัตนราชชดั สุดาฯสยามบรมราชกุมารีเป็นองคป์ ระธานมลู นิธิฯ มลู นิธิฯมีจุดมุ่งหมายที่จะมอบรางวลั แก่บุคคลหรือองคก์ รจากทวั่โลกที่มีผลงานดีเด่นทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขโดยไม่จากดั เช้ือชาติศาสนาและลทั ธิการปกครองซ่ึงมีผลช่วยใหค้ ุณภาพชีวติ ของมนุษยชาติดีข้ึนการที่มูลนิธิฯกาหนดใหร้ างวลั ในผลงานท้งั สองดา้ นน้ีเน่ืองจากสมเดจ็ พระบรมราชชนกทรงสาเร็จการศึกษาและทรงมีผลงานดี เด่นทางการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขและยงั ไมม่ ีไดร้ ับรางวลั ระดบั โลกใดๆท่ีใหร้ างวลั ท้งั สองดา้ นน้ีพร้อมกนัมูลนิธิรางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ ามหิดลในพระบรมราชูปถมั ภ์ ท่ีสมเดจ็ พระเทพรัตนราชชสุดาฯสยามบรมราชกุมารรีทรงเป็นองคป์ ระธานไดก้ าหนดข้นั ตอนและหลกั เกณฑใ์ นการคดั เลือกและตดั สินผไู้ ดร้ ับรางวลั ไวอ้ ยา่ งชดั เจนเพอ่ื ใหเ้ ป็นรางวลั ระหวา่ งประเทศท่ีทรงเกียรติโดยมีนกั วชิ าการทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขท้งั ชาวไทยและชาวตา่ งประเทศพร้อมท้งั ผทู้ รงคุณวุฒิท่ีมีชื่อเสียงระดบั โลกร่วมพจิ ารณากลน่ั กรองดว้ ยพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั จะทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหผ้ ทู้ ่ีไดร้ ับรางวลั เขา้ เฝ้ าฯ รับพระราชทานรางวลั ซ่ึงพิธีพระราชทานรางวลั กาหนดข้ึนในเดือนมกราคมของแตล่ ะปี ผทู้ ี่ไดร้ ับรางวลั คร้ังแรกประจาปีพ.ศ. 2535 ถึงปี พ.ศ. 2546 เขา้ เฝ้ ารับพระราชทานรางวลั ณ พระท่ีนง่ั จกั รีมหาปราสาทในพระบรมมหาราชวงั ตอ่ มาพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯใหผ้ ทู้ ี่ไดร้ ับรางวลั ฯ ประจาปี พ.ศ. 2548เขา้ เฝ้ าฯรับพระราชทานรางวลั ณ พระที่นงั่ อนนั ตสมาคมท้งั น้ีมีผไู้ ดร้ ับรางวลั จนถึงปัจจุบนั พ.ศ. 2549

39รวมแลว้ 41 คน ( ซ่ึงในบางปี แตล่ ะสาขามีผไู้ ดร้ ับรางวลั มากกวา่ 1 คน ) ในจานวนน้ีมีแพทยไ์ ทย 2 คนคือศาสตราจารยเ์ กียรติคุณนายแพทยป์ ระสงค์ ตจู้ ินดาและแพทยห์ ญิงสุจิตรานิมมานนิตยไ์ ดร้ ับรางวลั ประจาปีพ.ศ. 2539 สมเดจ็ พระเทพฯพระราชทาน รางวลั สมเดจ็ เจา้ ฟ้ ามหิดลปี 2559 ที่มา : https://www.matichon.co.th/news/447639

40 บทท่ี 3 วธิ กี ารดาเนินการศึกษา๑. เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้- โปรแกรม POWERPOINT- ดินสอ ปากกา- กลอ้ งถ่ายรูป๒. แหล่งศึกษาค้นคว้าสารานุกรมไทย ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสสิริราชสมบตั ิครบ 60 ปี๓. วธิ กี ารศึกษาข้นั ที่ ๑ ข้นั ศึกษา- ทราบหวั ขอ้ โครงงานท่ีไดร้ ับผดิ ชอบ- ประชุมสมาชิกในกลุ่มแจกแจงหนา้ ท่ีที่รับผดิ ชอบ- จดั ทาผลงานเป็ นรูปเล่ม นาเสนอต่ออาจารยท์ ี่ปรึกษา เพอ่ื แกไ้ ขปรับปรุงส่วนท่ีบกพร่องข้นั ท๒่ี ข้นั นาเสนอผลงาน1. รับทราบคาแนะนาและช้ีแจงการจดั ทาโครงงานหนา้ ช้นั เรียน2. จดั ทา POWERPOINT3. นาเสนอโครงงาน

41 บทที่ 4 ผลการศึกษา จากการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากสารานุกรมไทย ฉบบั เฉลิมพระเกียรติ ในโอกาสสิริราชสมบตั ิครบ ;60 ปี เก่ียวกบั พระราชกรณียกิจดส้ นการแพทยแ์ ละการสาธารณสุข สามารถแบง่ ไดเ้ ป็นหวั ขอ้ ไดด้ งั น้ี 1. โครงการตามพระราชดาริที่เกี่ยวกบั การแพทยแ์ ละการสาธารณสุข 1.1 โครงการการแพทยห์ ลวงและแพทยพ์ ระราชทาน 1.2 การบรรเทาทุกขร์ าษฎรท่ีประสบภยั พิบตั ิ 1.3 พระมหากรุณาธิคุณดา้ นการบาบดั รักษาผเู้ จบ็ ป่ วยดว้ ยโรคระบาด 1.4 การพระราชทานพระมหากรุณาธิคุณแก่สภากาชาดไทย 1.5 การพระราชทานแนวคิดเก่ียวกบั การควบคุมโรคคอพอกและโรคขาดสารไอโอดีน 1.6 การพระราชทานความช่วยเหลือผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ที่ป้ องกนั ประเทศชาติ 2. การพระราชทานพระบรมราชูปถมั ภแ์ ก่โรงพยาบาล 3. พระราชกรณียกิจดา้ นการส่งเสริมสุขภาพ 3.1 การกีฬา 3.2 โภชนาการ 3.3 ดนตรี 3.4 ดา้ นสุขศึกษา 4. การพฒั นาบุคลากรทางการแพทย์ และการยกยอ่ งผมู้ ีผลงานดีเด่นของโลกดา้ นการแพทยแ์ ละการ สาธารณสุข

421. โครงการตามพระราชดาริทเ่ี กย่ี วกบั การแพทย์และการสาธารณสุข 1.1 โครงการการแพทย์หลวงและแพทย์พระราชทาน ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ โครงการน้ีเกิดข้ึนเพื่อตรวจรักษาราษฎรในทอ้ งถ่ินทุรกนั ดารโดยไม่คิดค่าใชจ้ ่ายและมีการจดั ส่งไปยงั โรงพยาบาลในจงั หวดั ต่างๆที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวเสด็จแปรพระราชฐานประทบั แรม และในทอ้ งถ่ินต่างๆ ท่ีห่างไกลตวั เมือง ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้จดั เจา้ หนา้ ท่ีแพทย์ พยาบาล เครื่องมือเครื่องใช้ ตลอดจนยารักษาโรค ออกทาการตรวจรักษาราษฎรในทอ้ งถิ่นกนั ดารแต่ต่อมามีผปู้ ่ วยจานวนมากท่ีตอ้ งเขา้ รับการรักษา ทาใหจ้ าเป็ นตอ้ งใชบ้ ุคลากรจานวนมาก จึงตอ้ งมีการส่งตวั เขา้ รักษาต่อท่ีโรงพยาบาลในกรุงเทพฯ ทาใหร้ าษฎรไดเ้ ขา้ ถึงการรักษาทางการแพทยม์ ากกวา่ เดิมและมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ึนมากข้ึน การนาไปใช้ -การแพทยม์ ีการเขา้ ถึงถิ่นทุรกนั ดารมากข้ึน -เพ่ิมประสิทธิภาพในการรักษาผปู้ ่ วย1.2 การบรรเทาทกุ ข์ราษฎรที่ประสบภยั พบิ ตั ิประโยชน์ทไ่ี ด้รับทราบถึงความเป็นมาในการจดั ต้งั มลู นิธราชประชานุเคราะห์การนาไปใช้การร่วมดว้ ยช่วยกนั ร่วมบริจาคทรัพยใ์ หแ้ ก่มลู นิธิ เพ่ือให้ทางมูลนิธิไดน้ าทุนไปใชด้ า้ นอื่นๆต่อไป 1.3 พระมหากรุณาธคิ ุณด้านการบาบัดรักษาผู้เจบ็ ป่ วยด้วยโรคระบาด ประโยชน์ทไี่ ด้รับ- ทราบวธิ ีการในการดาเนินการป้ องกนั โรคโปลิโอ อหิวาตกโรคโรคเร้ือนและวณั โรค- ทราบถึงสถานท่ีท่ีก่อต้งั เพ่ือใชร้ ักษาโรคระบาด- ทราบถึงยาPAS ยารักษาวณั โรคชนิดใหม่ ท่ีผลิตจากสวติ เซอร์แลนดท์ ี่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี9 ทรงนามาใชใ้ นการรักษา

43- ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ีพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่9 ทรงพระราชทุนเพ่ือจดั ซ้ือเคร่ืองมือสาหรับ ทาการวจิ ยั รักษา ป้ องกนั โรคระบาด- พระมหากรุณาธิคุณท่ีพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่9 จดั ฝึ กอบรม และผลิตพนกั งาน เพ่ือช่วยกนั ทดแทน ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ การนาไปใช้- ใชส้ ่งเสริมกิจการดา้ นแพทย์ และอนามยั- ใชส้ ถานท่ีบาบดั โรคระบาดเป็นสถานที่ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั โรค 1.4 การพระราชทานพระมหากรุณาธคิ ุณแก่สภากาชาดไทย ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ -เพม่ิ การบริจาคโลหิต จากส่ือในดา้ นต่างๆ -ป้ องกนั วณั โรคในเดก็ -ป้ องกนั โรคเร้ือนในเด็ก -ทาใหค้ นเห็นความสาคญั ของการบริจาคโลหิต -ทาใหค้ นทราบปริมาณความตอ้ งการโลหิตในปัจจุบนั -ทาใหผ้ คู้ นทราบถึงประโยชน์ของการบริจาคเลือด -จดั ต้งั สถานบริการในการบริจาคเลือดทาใหง้ ่ายตอ่ การบริจาค การนาไปใช้ -บริจาคโลหิต -ช่วยรณรงคใ์ หผ้ คู้ นทราบถึงความตอ้ งการของการบริจาคโลหิต 1.5 การพระราชทานแนวคดิ เกย่ี วกบั การควบคุมโรคคอพอกและโรคขาดสารไอโอดนี ประโยชน์ทไี่ ด้รับ การนาวธิ ีการที่มีการนาเกลือไปรักษาโรคคอพอก การนาไปใช้ การเผยแพร่ความรู้ใหก้ บั ผคู้ นต่างๆ เพ่อื ป้ องกนั และรักษาโรคคอพอก

44 1.6 การพระราชทานความช่วยเหลอื ผู้ปฏบิ ัตหิ น้าทป่ี ้ องกนั ประเทศชาติ ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ - ไดน้ อ้ มสานึกในพระมหากรุณาธิคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่9 - ทราบประวตั ิความเป็ นมาของการพระราชทานความช่วยเหลือผปู้ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีป้ องกนั ประเทศชาติ - โรงงานทาแขนขาเทียมและฝึกอาชีพ เป็นโรงงานพระราชทาน การนาไปใช้ - ผปู้ ระสบภยั จากเหตุการณ์ที่ไดร้ ับบาดเจบ็ ไดร้ ับการดูแลรักษา - ผพู้ กิ ารมีแขนและเทา้ เทียมไวใ้ ช้2 การพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์แก่โรงพยาบาล ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ - ทราบถึงพระราชกรณียกิจดา้ นการพระราชทานพระบรมราชูปถมั ภแ์ ก่โรงพยาบาลตา่ งๆ ของ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 - ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 ไดพ้ ระราชทานทุน ตา่ งๆ สาหรับมูลนิธิ เครื่องมือทาการวจิ ยั ตา่ งๆ - ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดท้ รงพระราชทานรายไดจ้ ากการ ฉายภาพยนตร์ส่วนพระองค์ เพ่อื จดั ต้งั โครงการต่างๆของทางโรงพยาบาล การนาไปใช้ - ใชส้ ่งเสริมกิจกรรมดา้ นการแพทย์ - ใชส้ ถานท่ีต่างๆ เป็นสถาบนั เพ่อื การวจิ ยั - ใชเ้ ป็นสถานท่ีบริการประชาชนดา้ นการดูแลสุขภาพ

453 พระราชกรณยี กจิ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ 3.1 การกฬี า ประโยชน์ทไี่ ด้รับ 1.ทราบถึงความสามารถของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี 9 2.ทราบถึงหลกั การของการสร้างเสริมสุขภาพ 3.ทราบถึงความสาคญั ของการหาความรู้รอบตวั การนาไปใช้ 1.ใชใ้ นดา้ นการเรียนโดยสามารถใชใ้ นการเพิม่ ความขวนขวายหาความรู้ 2.ใชด้ า้ นการทางานโดยสามารถประบตวั ประกอบกบั การสร้างความอดทนในการทางานร่วมกนั กบั ผอู้ ่ืน 3.2 โภชนาการ ประโยชน์ทไี่ ด้รับ - ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ีพระเจา้ อยหู่ วั รัชกาลท่ี9 ทรงห่วงใยดา้ นโภชนาการของประชาชน -ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณท่ีพระเจา้ อยหู่ สั รัชกาลที่9 ทรงให้ความสาคญั กบั โภชนาการ พระองคท์ รงเห็นประโยชนข์ องขา้ วกลอ้ ง -ไดค้ วามรู้เก่ียวกบั ประโยชน์ของขา้ วกลอ้ ง การนาไปใช้ - ใชส้ ่งเสริมกิจการดา้ นโภชนาการ - ใชส้ ่งเสริมการรับประทานขา้ วกลอ้ งเพื่อสุขภาพ 3.3 ดนตรี ประโยชน์ทไี่ ด้รับ ทราบถึงพระอจั ฉริยภาพทางดา้ นการดนตรีของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชฯซ่ึงทรงพระราชนิพนธ์เพลงที่คงเป็ นอมตะจนถึงปัจจุบนั นาไปใช้ ดนตรีนอกจากจะใหค้ วามบนั เทิงไดแ้ ลว้ น้นั ยงั สามารถส่งเสริมสุขภาพจิตใหด้ ีไดอ้ ีกดว้ ย

46 3.4 ด้านสุขศึกษา ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ ไดร้ ับความรู้เก่ียวการแพทยแ์ ละการสาธารณสุขวา่ มีความสาคญั และเป็นมาอยา่ งไร การแกไ้ ขปัญหาดา้ นสาธารณสุข การแพทยส์ ามารถเขา้ ใจโรคตา่ งๆและการรักษาท่ียงุ่ อยา่ งได้ การนาไปใช้ ทาใหเ้ ขา้ ใจโรคตา่ งๆและสามารถทาการรักษาเบ้ืองตน้ สามารถสงเสริมสุขภาพของตนเองและสามารถสอนหรืออบรมใหก้ บั ผอู้ ื่นได้4 การพฒั นาบุคลากรทางการแพทย์ และการยกย่องผู้มผี ลงานดีเด่นของโลกด้านการแพทย์ และการสาธารณสุข ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ โครงการน้ีเกิดข้ึนเพ่ือให้ผูส้ าเร็จการศึกษาระดบั ปริญญาตรีคณะแพทยศาสตร์ในประเทศไทย ผูม้ ีคุณสมบตั ิดีเด่นท้งั ด้านวิชาการและคุณธรรม ไปศึกษาต่อในสาขาวิชา ทาให้เป็ นประโยชน์ต่อวงวิชาการแลว้ นากลบั มาถ่ายทอดแก่ชนรุ่นหลงั เป็ นการรับใช้ชาติบา้ นเมือง ตลอดจนช่วยในการพฒั นาประเทศชาติใหเ้ จริญอีกดว้ ย การนาไปใช้ -ทางการแพทยท์ ่ีมีคุณภาพมากข้ึน -เพม่ิ คุณภาพของวงการแพทยใ์ หม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึน

47 บทท่ี 5 สรุปผลการศึกษาประโยชน์ทไี่ ด้รับ ทราบถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลท่ี9เกี่ยวกบั ด้านการแพทยแ์ ละสาธารณสุขไทยอย่างหาที่สุดมิได้ พระองคท์ รงทาดว้ ยความรัก ความห่วงใยความเสียสละ เพื่อใหป้ ระชาชนของทา่ นในทุกภมู ิภาคมีชีวติ ความเป็นอยแู่ ละสุขอนามยั ที่ดีข้ึนการนาไปใช้ - ส่งเสริมกิจการดา้ นแพทย์ และอนามยั - การเผยแพร่ความรู้ใหก้ บั ผคู้ นต่างๆ เพอ่ื ป้ องกนั และรักษาโรค - ใชใ้ นดา้ นการเรียนโดยสามารถใชใ้ นการเพิ่มความขวนขวายหาความรู้ - ใชด้ า้ นการทางานโดยสามารถปรับตวั ประกอบกบั การสร้างความอดทนในการทางานร่วมกนั กบั ผอู้ ื่น - เพ่มิ คุณภาพของวงการแพทยใ์ หม้ ีประสิทธิภาพมากข้ึน ข้อเสนอแนะ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระปรมิทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ รัชกาลที่ 9 น้นั มีหลายพนั โครงการมิไดม้ ีเพียงแต่ดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสุข ยงั มีอีกหลายโครงการที่น่าสนใจและน่าศึกษา อาทิเช่น หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงสามารถนาแนวคิดมาเป็ นหลกั ในการ ดาเนินชีวติ ใหม้ ีความเป็นอยทู่ ี่ดีข้ึนไดแ้ บบยงั่ ยนื ควรค่าแก่การศึกษาอยา่ งยงิ่

48บรรณานุกรมเกษตร สนิทวงศ,์ หม่อมหลวง. “ประวตั ิมูลนิธิอานนั ทมหิดล.” ใน เรื่องน่ารู้สาหรับประชาชน. พิมพเ์ พือ่ เฉลิมฉลองในวนั มหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ครบปี ที่ 48 ของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช 5 ธนั วาคม 2518.ขวญั ใจ วชั โรทยั . “งานปราบวณั โรคในพระบรมราชูปถมั ภ.์ ” ใน หนังสือครบรอบ 72 ปี นายแพทย์ สงคราม ทรัพย์เจริญ. จดั ทาโดยสมาคมปราบวณั โรคแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถมั ภ,์2545.คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. 50 ปี ในหลวงกบั ศิริราช.กรุงเทพฯ: บริษทั ทรี-ดี สแกน จากดั , 2539.คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหิดล. 100 ปี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดช วกิ รม พระบรมราชชนก.2534.โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั .สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภเิ ษก. กรุงเทพมหานคร : บริษทั ด่านสุทธาการพมิ พ์ จากดั , 2539.จาลอง สาลีสังข,์ พ.อ.(พิเศษ), สมชาย พมุ่ สะอาด และ วรัญชยั โคไคยคหบดี. อนุสร 50 ปี แห่งการ ครองราชย์ ภูมิพลมหาราช. นนทบุรี : สานกั พมิ พป์ ระชาราษฎร์, 2539.นานาสาระสาหรับประชาชาน : ชมรมผู้รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ รุงเทพ, 2546.พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัวกบั แพทย์เฉพาะทาง. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ ุรุสภา, 2545.พระราชอจั ฉริยภาพในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช. กรุงเทพฯ :เครือข่ายกาญจนาภิเษก, 2546.สุขภาพดีถ้วนหน้าเพราะพระบารมี. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข, 2540.40 ปี มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์. กรุงเทพฯ : บริษทั อมรินทร์พริ้นติง้ แอนด์ พบั ลิชชิ่ง จากดั (มหาชน), 2547.

49 ภาคผนวกภาพการทางานกลุ่ม

50