Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E book

E book

Published by varunya._.bsru, 2021-11-30 02:17:22

Description: E book

Search

Read the Text Version

วัดสุวรรณคีรีวิหาร หรือที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดหน้าเมือง เดิมชื่อ วัดสุวรรณคีรีทาราม เป็นพระอารามหลวง ชั้นตรี ชนิดสามัญ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ตั้งอยู่เลขที่ ๘ ถนนชาติเฉลิม ตาบลเขานิเวศน์ อาเภอเมือง จังหวัดระนอง เป็นวัดแห่งแรกในจังหวัดระนอง เดิมวัดตั้งอยู่บริเวณ ริมคลองหาดส้มแป้นตาบลบางร้ินอาเภอเมืองระนอง แต่เนื่องจากเป็นที่ลุ่มต่าริมคลองในฤดูฝนจึงเกิดน้า ท่วม ทาให้พระ-เณร ต้องย้ายวัดเมื่อน้าลดจึงกลับมาแต่ต้องเจอสภาพน้าขุ่นไม่สามารถใช้ได้ ด้วยมีการ ทาเหมืองแร่เหนือคลองทาให้วัดมีสภาพเหมือนวัดร้าง ต่อมาเมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ เสด็จประพาสเมืองระนอง เมื่อวันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๔๓๓ ทรงทราบเหตุการณ์ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระ ยารัตนเศรษฐีหรือคอซิมก๊อง เจ้าเมืองระนอง ในสมัยนั้น ดาเนินการหาที่ดินสร้างวัดขึ้นใหม่แทนวัดเก่า ที่ชารุดทรุดโทรมแล้วพระราชทานที่เขตพระอุโบสถยาว ๑๔ วา ๒ ศอก กว้าง ๘ วา ๒ ศอก ให้เป็นท่ี วิสุงคามสีมา ยกเป็นแผนกหนึ่งต่างจากราชอาณาจักรเป็นที่วิเศษสาหรับพระสงฆ์ได้อาศัยทาสังฆกรรม และโปรดเกล้าฯให้อาราธนาพระสงฆ์จากวัดสุวรรณคีรีทารามมาสวดถอนและผูกพัทธสีมาและ พระราชทานนามว่า“วัดสุวรรณคีรีวิหาร”ปรากฏตามประกาศพระบรมราชโองการ ฉบับลงวันที่ ๒๒ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๓๗

“พระธรรมธาตุเจดีย์ศรีระนอง” เนื่องด้วย สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก สมเดจ็ พระสังฆราชพระองคท์ ่ี ๑๙ แห่งกรุงรตั นโกสนิ ทร์ ได้ทรงประทานพระบรมสารีริกธาตุ แก่วัฒนธรรมจังหวัดทุก จังหวดั เมือ่ วนั ที่ ๕ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙ ณ พุทธมณฑล จังหวดั นครปฐม เนื่องในโอกาสฉลองสิริราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณในมหามงคลวโรกาสในครั้งนั้น พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมท้ังคณะกรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา จึงปรึกษาร่วมกันแล้วมีความเห็นตรงกันว่าควรสร้าง อนสุ รณ์ไว้เพอ่ื ประดิษฐานพระบรมสารรี กิ ธาตุ ใหเ้ ปน็ อนสุ ตแิ กช่ าวพทุ ธในกาลสบื ไป วัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง จึงได้ดาเนินการได้จัดสร้างองค์พระเจดีย์ นามว่า “พระธรรมธาตุเจดีย์ศรี ระนอง” เป็นท่ีประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีการวางศิลาฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๖ เวลา ๑๑.๔๗ น. การก่อสร้างเจดีย์นั้นมีขนาดองค์เจดีย์ มีความสูง ๒๙ เมตร รอบองค์เจดีย์ มีขนาด ๙.๙๙ × ๙.๙๙ เมตร ส่วนรอบฐาน มขี นาด ๑๓.๐๕ × ๑๓.๐๕ เมตร ใช้งบประมาณในการก่อสร้าง จนแลว้ เสร็จเป็นจานวนเงิน ๑๕ ล้านบาท

พระธรรมธาตุเจดีย์ศรีระนอง เป็นเจดีย์ท่ีพุทธศาสนิกชนชาวระนองร่วมกันสร้างขึ้น เพื่อไว้ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่ได้รับประทานสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก สมเด็จพระสังฆราชพระองค์ท่ี ๑๙ เนื่องในโอกาส ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี ของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร ในหลวงรัชกาลท่ี ๙ และด้วยสานึกในพระมหากรุณาธิคุณ ในมหามงคลวโรกาสในครั้งนั้น พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมทั้ง คณะกรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา จึงปรึกษาร่วมกัน แล้วมีความเห็นตรงกันว่า ควรสร้างอนุสรณ์ไว้เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ซึ่งเป็นแนวความคิดร่วมกัน ของพุทธศาสนิกชนชาวระนองที่จะให้มีการสร้างขึ้น เพื่อประดิษฐานพระบรม สารีริกธาตุและให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน สืบต่อไป

ประวัตพิ ระบรมสารรี ิกธาตุ เมือ่ วันที่ ๕ มถิ นุ ายน ๒๕๔๙ กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรมได้จัดประชมุ สมั มนาเชงิ วิชาการ ส่งเสริมและสนับสนนุ พระพุทธศาสนา เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี โดยนายปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนาและเจ้าหน้าท่ี สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดทุกจังหวัดเข้าร่วมการประชุมคร้ังนี้ ณ หอประชุมใหญ่พุทธมณฑล อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวดั นครปฐม ในการน้ี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้เสด็จไปยัง หอประชุมใหญ่พุทธมณฑล เม่ือเวลา ๑๖.๓๐ น. เพื่อประทานพระบรมสารีริกธาตุ แก่วัฒนธรรม จังหวดั ทกุ จงั หวัด เพือ่ เป็นสริ มิ งคลและเป็นม่ิงขวัญของจังหวัด จากนั้นได้เสด็จไปสักการะองค์พระ ศรีศากยะทศพลญาณประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์และได้ทรงเจริญพระพุทธมนต์เจริญจิตตภาวนา ร่วมกบั คณะสงฆภ์ าค ๑๔ จากจังหวัดนครปฐม สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และสมุทรสาคร จานวนกว่า ๒,๐๐๐ รูป ที่มาพร้อมกัน ณ รอบบริเวณลานองค์พระประธาน พุทธมณฑลเพื่อถวายเป็น พระราชกุศลและถวายพระพรชัยแด่พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราชบรมนาถบพิตร เนื่องในวโรกาสทรงครองสิรริ าชสมบตั ิครบ ๖๐ ปี พระระณังคมุนีวงศ์ เจ้าอาวาสวัดสุวรรณคีรีวิหาร พระอารามหลวง พร้อมทั้ง คณะกรรมการวัด อุบาสก อุบาสิกา จึงปรึกษาร่วมกัน แล้วมีความเห็นตรงกันว่าควรสร้างที่ ประดิษฐานอนุสรณ์ไว้เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ และพุทธศาสนิกชนชาวระนอง มีความเห็นร่วมกันให้สร้างที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุขึ้นให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของ พทุ ธศาสนกิ ชนสบื ต่อไปโดยจะนาไปประดษิ ฐานไว้ภายในองค์ \"พระธรรมธาตเุ จดียศ์ รีระนอง”

{\"A?\":\"B\",\"a\":5,\"d\":\"B\",\"h\":\"www.canva.com\",\"c\":\"DAEv2YB0t98\",\"i\":\"il21oRmlbeavdTsazfUOYA\",\"b \":1638154473983,\"A\":[{\"A?\":\"K\",\"A\":432.11840521028046,\"B\":69.69252183518319,\"D\":644.638186 826234,\"C\":570.6733267929687,\"a\":{\"A\":[{\"A?\":\"A\",\"A\":\" พระเจดยี ด์ าธุ เป็นเจดีย์ทมี่ ี สถาปัตยกรรมแบบพมา่ รูปทรงกลมยกฐานสงู จากพนื ้ ประมาณ ๘๐ เซนติเมตร ตงั้ อยบู่ นฐานแปดเหลย่ี ม จากฐานถึงยอด ฉตั รสงู ประมาณ ๑๓ เมตร มีกาแพงโดยรอบทงั้ สดี่ ้านสงู ประมาณ ๑ เมตร แตล่ ะด้านของกาแพงมปี ระตทู างเข้ากว้าง ประมาณ ๒ เมตร ตวั เจดยี ์และกาแพงฉาบด้วยปนู ทาสขี าว สว่ นยอดฉตั รของเจดยี ์ทาด้วยทองเหลอื งและประดบั เพชรที่ ฉตั รเป็นสถาปัตยกรรมแบบพมา่ เจดยี ์นมี ้ อี ายปุ ระมาณ ๑๐๐ ปีเศษ \\nผ้สู ร้างคือ นางพวั่ ไซข่ า่ ย มสี ามี ช่ือออู าวเม ซง่ึ เป็น โหรในราชสานกั พมา่ ตอ่ มาได้อพยพมาอยใู่ นจงั หวดั ระนอง และด้วยเป็นผ้ทู มี่ ฐี านะดีมคี วามศรัทธาในพระพทุ ธศาสนา จงึ ได้สร้างเจดีย์นี ้ถวายโดยใช้ทนุ ทรัพย์สว่ นตวั เพราะมคี วามเช่ือวา่ หากผ้ใู ดได้สร้างเจดยี ์ถวายในพระพทุ ธศาสนาแล้วจะ เป็นการสร้างบญุ บารมใี ห้กบั ผ้สู ร้างในทกุ ภพทกุ ชาติ ปัจจบุ นั ทายาทของทา่ น รวมทงั้ พทุ ธศาสนกิ ชนชาวพมา่ ที่ได้อพยพ จากพมา่ มาอยทู่ จ่ี งั หวดั ระนองรวมถงึ ชาวพมา่ ได้มาทางานในจงั หวดั ระนองจะชว่ ยกนั ทาความสะอาดและบรู ณะองค์พระ เจดยี ์โดยตลพอดรทะาเใจหด้พียระ์ดเจาดธยี ุ ์มคี เวปา็นมสเวจยดงีายม์ทเี่มป็ีนสทถเ่ี ชาิดปหัตน้ยาชกตู รารขอมงแชาบวบระพนอมง่าแรลูปะนทบั รเปง็นกโบลรมายณกสถฐาานนอสีกแูงหจง่ าหกนงึ่พื้น ปขรองะจมงั หาวณดั ระ๘นอ๐ง โดเ ซยปนัจจตบุ ิเนัมกตรมรศิลตปั้งากอรยไดู่บ้ขนึน้ ทฐะเาบนยี นแไปว้ ด เ ห ลี่ย ม จ า ก ฐ า น ถึง ย อ ด ฉัต ร สูง ป ร ะ ม า ณ ๑แ๓ล้ว\\เnม\\ตn\\รn\"ม}]ีก,\"าBแ\":พ[{\"งAโ?ด\":ย\"Aร\"อ,\"บAท\":ั้{ง\"สleี่ดa้dาiนngส\"ูง:{ป\"Bร\"ะ:\"ม13า4ณ0.0๑\"},\"เfมonตtร-weigแhตt\"่ล:{\"ะBด\"้:า\"นboขldอ\"ง},ก\"fาoแntพ- งมีปร ะตู ทsาizงeเ\"ข:{้\"าBก\"ว:\"้า21ง.ป33ร3ะ3ม\"}า,\"ณfon๒t-fเaมmตilรy\":ต{\"ัวBเ\"จ:\"ดYAียD์แvล3lะuกbา1แhYพ,0ง\"ฉ},า\"tบraดc้kวiยngป\"ูน:{\"ทBา\":ส\"7ีข7า.0ว\"},ส\"่tวeนxtย- อดฉัตรของ เจalดigียn\"์ท:{า\"Bด\"้ว:\"ยjuทstอifงy\"เ}ห}}ล,{ือ\"Aง?แ\":ล\"Bะ\"ป,\"รAะ\":ด2}ับ,{เ\"Aพ?ช\":ร\"Aท\"ี่ฉ,\"ัตA\"ร:เ{\"ปfo็นnสt-ถา ปัต ยกร รมแบบ พม่า เ จดีย์นี้มีอา ยุ ปfรamะมilyา\"ณ:{\"A๑\":๐\"Y๐ADปvีเ3ศluษb1hผYู้ส,0ร\"้า}}ง},ค{\"ือA?น\":า\"Bง\"พ,\"ั่วAไ\":ซ1่6ข}่า,{ย\"A?ม\"ีส:\"าAม\",ี \"ชAื่\"อ:{อ\"ูอcoาloวrเ\"ม:{\"ซB\"ึ่ง:\"เ#ป0็น01โห68รfใ\"}น}}ร,{า\"Aช?ส\"า:\"นBัก\", พ\"มA\"่ า:13ต}่ อ,{\"มAา?\"ไ:ด\"A้ อ\"พ,\"Aย\"พ:{\"มcoาlอorย\"ู ่:ใ{\"นAจ\":ั ง\"#ห0ว0ั 1ด6ร8ะf\"น,\"อB\"ง:\"#แfลf5ะ75ด7้ ว\"}ย}}เ,ป{\"็ Aน?ผ\"ู:้ ท\"Bี ่ ม\"ี ฐ,\"Aา \"น:3ะ},ด{\"ี มAี ค?\"ว:\"าAม\",ศ\"Aร\"ั ท:{\"ธcาolใoนr พ\"ร:{\"ะAพ\":ุท\"#ธffศ5า75ส7น\"}า}},{จ\"ึAง?ไ\"ด:\"้สBร\",้า\"Aง\"เ:จ37ด2ีย},์น{\"ี้Aถ?\"ว:\"าAย\",โ\"ดA\"ย:{ใ\"ชfo้ทnุtน- ท รัพ ย์ส่วน ตัว เ พ ร า ะ มีค วา ม เ ชื่อ ว่า ทหfffุ ากaaammmกภผiiiพlllyyyู้ ใท\"\"\"ด:::ุ ก{{{ไ\"\"\"ชดBBA้\"\"\"สา:::ต\"\"\"รYYY้ิ าAAAปงDDDั จเvvvจจ333ดุ llบluuuี ยั นbbb์ ถ111ทวhhhาYYYาย,,,ย000า\"\"\"ใ}}ท}น}}}}}}ขพ,,,{{{อ\"\"\"รAAAงะ???ทพ\"\"\"่ า:::ุ\"\"\"ทนBBBธ\"\"\",,,รศ\"\"\"วAAAา\"\"ม\"ส:::116ทน}}3้ั ง,,า6{{พ\"\"แ}AA,ุ ทล{??\"้ วธ\"\"A::?จศ\"\"\"AAาะ:\"\"\"สเ,,A\"\"ปน\"AA็ น,ิ ก\"\"\"::Aกช{{\"\"\"านfl:eo{รช\"anสfdาotร-inวn้ าtgพ-ง\"มบ:{่\"าุ ญAท\"บี่ ไ:\"าด1ร้ อ3ม4พ0ี ใย.ห0พ้ \"ก}จั บ,\"าtผrกู้aสพcรkม้ าin่ างgมใ\"น:า{ อ\"ยAู่ ท\":ี่ จ\"7ั ง7ห.0ว\"ั,ด\"Bร\"ะ:\"น3อ1.ง0ร\"}ว}}ม,{ถ\"Aึ ง?ช\":า\"Bว\"พ,\"มA่\"า:ไ1ด},้{ม\"Aา?ท\"า:\"งAา\",น\"Aใ \"น:{จ\"tั งeหxtว-ั ด ร ะ น อ ง จ ะ ช่ ว ย กั น ทา ค ว า ม ส ะ อ า ด แtลraะnบsfูรoณrmะ\"อ:{\"งBค\"์พ:\"nรoะnเeจ\"ด},ี\"ยc์โoดloยr\"ต:{ล\"Bอ\"ด:\"#ท0า00ให00้พ0\"ร}ะ,\"เleจaดdียin์มgี\"ค:{ว\"Bา\"ม:\"ส1ว40ย0ง.า0\"ม},\"เfปon็นt-ที่เ ชิดหน้าชูตาของ ชsาtyวleร\"ะ:{น\"Bอ\"ง:\"แnลoะrmนัaบl\"เ}ป}}็น,{โ\"Aบ?ร\"า:\"ณB\"ส,\"ถAา\":น1}อ,{ีก\"Aแ?ห\":่ง\"หA\"น,\"ึ่งAข\":อ{\"งfoจnังtห-wวeัดigรhะtน\":{อ\"งA\"โ:\"ดbยolปdั\"จ},จ\"ุfบoันntก- รมศิลปากร ไ sดi้zขe้ึ น\":ท{\"ะAเ\"บ:\"ี ย21น.3ไ 3ว3้ แ3ล\"้ }ว,\"tracking\":{\"A\":\"31.0\"},\"text-align\":{\"A\":\"justify\"},\"font- family\":{\"A\":\"YADv3lub1hY,0\"},\"text- transform\":{\"A\":\"none\"},\"color\":{\"A\":\"#000000\"},\"leading\":{\"A\":\"1400.0\"},\"font- style\":{\"A\":\"normal\"}}}]},\"b\":{},\"d\":\"C\",\"g\":false,\"h\":\"A\"}],\"B\":793.7007874015748,\"C\":1122.5196850 3937} ประวัติพระบรมสารีริกธาตุ เมอื่ วันท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๔๙ กรมการศาสนา กระทรวงวฒั นธรรมไดจ้ ดั ประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ สง่ เสริมและสนับสนุนพระพุทธศาสนา เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี โดยนายปรีชา กันธิยะ อธิบดีกรมการศาสนาและเจ้าหน้าท่ี สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดทุกจังหวัดเข้าร่วมการประชุมคร้ังนี้ ณ หอประชุมใหญ่พุทธมณฑล อาเภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม ในการน้ี สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก ได้เสด็จไปยัง หอประชุมใหญ่พุทธมณฑล เมื่อเวลา ๑๖.๓๐ น. เพ่ือประทานพระบรมสารีริกธาตุ แก่วัฒนธรรม จังหวัด ทกุ จังหวดั เพอ่ื เป็นสิรมิ งคลและเป็นม่ิงขวัญของจังหวัด จากน้ันได้เสด็จไปสักการะองค์พระ ศรศี ากยะทศพลญาณประธานพุทธมณฑลสุทรรศน์และได้ทรงเจริญพระพุทธมนต์เจริญจิตตภาวนา

จวนเจ้าเมืองระนอง เป็นสถานท่ีอีกแห่งหนึ่งที่น่าสนใจสาหรับผู้ที่ต้องการทราบเรื่องราวของ เมืองระนองและตระกลู ณ ระนอง จวนเจ้าเมอื งแหง่ นสี้ รา้ งขน้ึ เมอ่ื ปี ๒๔๒๐ ในสมัยพระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอชู้เจียง) เจ้าเมืองระนองคนแรกและเป็นต้นตระกูล ณ ระนอง ผู้สร้างคือ ลูกชายของท่านมีราชทินนาม เหมือนท่าน คือ พระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอซิมก๊อง) เป็นบุตรคนที่ ๒ ของท่านเจ้าเมือง มีเนื้อที่ประมาณ ๓๓ ไร่เศษ ต้ังอยู่ในเขตเทศบาลเมืองระนองเดิมชาวระนองรู้จักในชื่อ“บ้านค่ายเจ้าเมืองระนอง” จวนเจ้าเมือง ระนองกรมศลิ ปากร ไดป้ ระกาศขึน้ ทะเบียนเป็นโบราณสถานเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ภายในบ้าน มีกาแพงก่อด้วยอิฐ ถือปูนล้อมรอบท้ัง ๔ ด้าน มีป้อมเชิงเทิน มีบ้านขนาดใหญ่ ๓ หลัง ติดกันทาเป็นเรือนรับรองสาหรับ เจ้าเมืองระนอง มโี รงเกบ็ สนิ คา้ โรงช้าง โรงม้า โรงต้มกลั่นสุรา โรงต้มฝนิ่ และฉางขา้ ว

{\"A?\":\"B\",\"a\":5,\"d\":\"B\",\"h\":\"www.canva.com\",\"c\":\"DAEv2YB0t98\",\"i\":\"il21oRmlbeavdTsazfUOYA\",\"b \":1638154473983,\"A\":[{\"A?\":\"K\",\"A\":152.48206437869544,\"B\":54.70699274459406,\"D\":671.197848 4253029,\"C\":234.63334915527344,\"a\":{\"A\":[{\"A?\":\"A\",\"A\":\" \\n วดั วารีบรรพต (Wat Wareebanphot) หรือ วดั บางนอน (Wat Bang Non) เป็นวดั ท่ีมชี ื่อเสยี งแหง่ หนงึ่ ของจงั หวดั ระนอง ตงั้ อยบู่ นเนนิ เขา ล้อมรอบไปด้วยภเู ขา วดั แหง่ นสี ้ ร้างโดยหลวงพอ่ ดว่ น ถามวโร ทา่ นเป็นพระธดุ งค์ทม่ี าจากจงั หวดั สงขลา ชาวบ้าน เลอื่ มใสและศรัทธาในตวั ทา่ นจงึ ได้พากนั นมิ นต์ทา่ นให้ จาพรรษา ณ ที่วดั แหง่ นี ้หลวงพอ่ ดว่ น ถามวโร อดีตเจ้า อาวาสวดั วารีบรรพต พระสงฆ์ผ้สู ร้างปาฏหิ าริย์ คอื เผาสงั ขารไมไ่ หม้วนั พระราชทานเพลงิ ศพ จนเป็นขา่ วดงั ไปทว่ั ประเทศ\\n\"}],\"B\":[{\"A?\":\"A\",\"A\":{\"text- transform\":{\"B\":\"none\"},\"spacing\":{\"B\":\"0.0\"},\"color\":{\"B\":\"#000000\"},\"font- weight\":{\"B\":\"bold\"},\"leading\":{\"B\":\"1400.0\"},\"font-size\":{\"B\":\"21.3333\"},\"font- family\":{\"B\":\"YADv3lub1hY,0\"},\"font- style\":{\"B\":\"normal\"},\"tracking\":{\"B\":\"0.0\"}}},{\"A?\":\"B\",\"A\":11},{\"A?\":\"A\",\"A\":{\"text- align\":{\"B\":\"justify\"}}},{\"A?\":\"B\",\"A\":467},{\"A?\":\"A\",\"A\":{\"text- transform\":{\"A\":\"none\"},\"spacing\":{\"A\":\"0.0\"},\"color\":{\"A\":\"#000000\"},\"font- weight\":{\"A\":\"bold\"},\"leading\":{\"A\":\"1400.0\"},\"font-size\":{\"A\":\"21.3333\"},\"font- family\":{\"A\":\"YADv3lub1hY,0\"},\"font-style\":{\"A\":\"normal\"},\"tracking\":{\"A\":\"0.0\"},\"text- align\":{\"A\":\"justify\"}}}]},\"b\":{},\"d\":\"A\",\"g\":false,\"h\":\"A\"}],\"B\":793.7007874015748,\"C\":1122.5196850 3937} วัดวารีบรรพต (Wat Wareebanphot) หรือ วัดบางนอน (Wat Bang Non) เป็นวัดท่ีมีชื่อเสียงแห่ง หนึ่งของจังหวัดระนอง ตั้งอยู่บนเนินเขา ล้อมรอบไปด้วยภูเขา วัดแห่งน้ีสร้างโดยหลวงพ่อด่วน ถามวโร ท่านเป็นพระธุดงค์ที่มาจากจังหวัดสงขลา ชาวบ้านเลื่อมใสและศรัทธาในตัวท่าน จึงได้พากันนิมนต์ ท่านให้ จาพรรษา ณ ที่วัดแห่งนี้ หลวงพ่อด่วน ถามวโร อดีตเจ้าอาวาสวัดวารีบรรพต พระสงฆ์ผู้มีปาฏิหาริย์ คือใน วนั พระราชทานเพลงิ ศพเผาสังขารไมไ่ หม้ จนเปน็ ข่าวดังไปทวั่ ประเทศ

“หลวงพ่อด่วน” ถามวโร หรือพระครูประภัสรวิริยคุณ อดีตเจ้าอาวาสวัดวารีบรรพต (วัดบางนอน) ตาบลบางนอน อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง พระเกจทิ วี่ ัดบางนอน และสร้างพระพุทธไสยาสนใ์ หญส่ ดุ ในภาคใต้ วัตถุมงคล ท่ีมีชื่อเสียง คือ เหรียญหลวงพ่อด่วน รุ่นแรกปี พ.ศ.๒๕๐๖ ลักษณะเหรียญรูปไข่ หูเช่ือมพร้อมห่วง ด้านหน้าเหรียญเป็นรูปเหมือนเขียนข้อความว่า “หลวงพ่อด่วน ถามวโร วัดวารีบรรพต” ด้านหลังเหรียญ เป็นพระพทุ ธรปู ปางไสยาสน์ เขยี นข้อความว่า “(บางนอน)จังหวัดระนอง” เหรียญรุ่นนี้หายากและราคาขึ้นสูง อยา่ งรวดเร็ว “พระพุทธไสยาสน์” หรือพระนอน เป็นพระพุทธไสยาสน์ที่ใหญ่ที่สุดในภาคใต้ ยาว ๒๒ เมตร สร้างขึ้นเม่ือ ๒๕๐๗ เพ่ือเป็นสัญลักษณ์ของบ้านบางนอน ประดิษฐานอยู่ในวิหารพระพุทธไสยาสน์ บนเนินเขาบางนอน โดยมีนายช่างจากกรมศิลปากรเป็นผู้ควบคุมการก่อสร้างเมื่อการก่อสร้างใกล้แล้ว เสร็จ กรมศิลปากรแนะนาให้พระครูประภัสรวิริยะคุณทูลเกล้าฯ ขอพระราชทานดวงพระเนตร พระพุทธรูปปางไสยาสน์ผ่านทางสานักพระราชวัง เมื่อทางสานักพระราชวังนาความกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทานดวง พระเนตรพระพุทธไสยาสน์ท้ังสองดวง

บา้ นเทียนสอื หรือบ้านรอ้ ยปเี ทยี นสอื ตงั้ อยู่บนถนนดับคดี ตรงข้ามศาลจังหวัด ใกล้ชุมชนตลาดใหม่ อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง บ้านหลังดังกลา่ วสร้างข้ึนในสมัยรชั กาลที่ ๕ มีประวัตคิ วามเป็นมายาวนานกว่าหน่ึงร้อยปีนับถึงปัจจุบัน แต่เดิมเรื่องราวต่างๆ เป็นที่รับรู้และ ภูมใิ จเพยี งในครอบครวั หากแต่ปัจจุบันเร่ืองราวต่าง ๆ พร้อมที่จะเผยแพร่สู่ผู้มาเย่ียมเยือน ทุกท่านได้ร่วมนึกถึงภาพความหลัง และหวังเพียง เพ่ือเป็นจุดเร่ิมต้นของแรงบันดาลใจให้ผู้มาเยี่ยมเยือนทุกท่านได้กลับไปร่วมค้นหาและบันทึกเร่ืองราว ความเป็นมาของบรรพบุรุษของตนเอง “เทยี นสอื ” เป็นชายชาวจนี แผ่นดินใหญ่ เกิดในยคุ ปลายราชวงศช์ ิง (หรอื ราชวงศ์ แมนจู ปกครองประเทศจีนในช่วงปี ค.ศ. ๑๖๖๔-๑๙๑๒) ตามหลักฐานที่ปรากฏของป้ายวิญญาณและสุสานรวมไปถึงคาบอกเล่าจากญาติผู้ใหญ่ นายเทียนสือ ได้เดินทางอพยพมายัง สยามเม่ือราวร้อยกว่าปีก่อน และมีโอกาสได้รับตาแหน่ง เป็นผู้ช่วยของพระยารัษฎานุประดิษฐ์มหิศรภักดี (คอซิมบี้ ณ ระนอง) ข้าราชการชาวสยาม บุตรคนสุดท้องของพระยาดารงสุจริตมหิศรภักดี (คอ ซูเจียง) ต้นตระกูล ณ ระนอง

“พระตปิ ุกะพุทธมหาศากยมุนีศรีระณังค์” สักการระ “หลวงพ่อดีบุก”หรือ “พระประธานในอุโบสถ” เป็น พระพุทธรูปท่ีสร้างข้ึนใหม่ในอุโบสถ ถือเป็นพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ใช้แร่ดีบุกซึ่งเป็นโลหะธาตุหล่อองค์พระพุทธรูป อันมีนัยแห่งความดี หมายถึง “ความ “ดี” ที่ “บุก” เอาชนะความชั่ว” หรือ “ดี บุก ชั่ว” แร่ดีบุกมีอยู่มากมายในจังหวัด ระนอง จนได้ชื่อว่า “เมืองแร่นอง” และต่อมาเพี้ยนกร่อนคามาเป็น “ระนอง” ประกอบกับตาบลหงาวก็เป็นแหล่งแร่ ดบี ุก อดุ มสมบูรณแ์ หง่ หนึ่ง การสร้างพระประธานในอุโบสถดว้ ยดีบุกทาใหค้ นรนุ่ ใหม่รู้จักแร่ดีบุก องค์พระประธานที่หล่อ ด้วยแร่ดีบุกข้ึนน้ี มีชื่อสามัญว่า “หลวงพ่อดีบุก” ส่วนชื่อที่เป็นทางการคือ “พระติปุกะพุทธมหาศากยมุนีศรีระณังค์” อนั มีความหมายว่า “พระพทุ ธรูปดีบกุ องค์ใหญเ่ ปน็ สริ มิ งคลและศักด์ิศรีของเมอื งระนอง” พระประธานในอุโบสถวัดบ้านหงาว สร้างเมื่อวันท่ี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๑ ตรงกับวันข้ึน ๙ ค่า เดือน ๙ มหาฤกษ์ ๑๓.๓๙ น. ขนาดพระประธานหลวงพ่อดีบกุ เป็นตัวเลขล้วนมคี วามหมายลึกซึ้งในแง่ของธรรมะและประวัติศาสตร์ คือ หน้าตักกว้าง ๙ ฟุต หมายถึง สร้างในสมัยรัชกาลที่ ๙ หรือมงคล ๙ สูงสุดแห่งมงคล ส่วนสูงจากฐานถึงเกตุมาลา ๔ เมตร หรืออริยสัจ ๔ ท่ีพระพุทธองค์แสดงปฐมเทศนา หรืออีกความหมายหน่ึงในอดีตพระมหากษัตริย์ ได้เคยเสด็จ เมืองระนองถึง ๔ พระองค์ คือ รัชกาลที่ ๕ รัชกาลท่ี ๖ รัชกาลที่ ๗ และรัชกาลที่ ๙ นับว่าเป็นพระประธานที่ หล่อด้วยแร่ดีบุกองค์แรกท่ีใหญ่ท่ีสุดในโลก ใช้แร่ดีบุกถึง ๓ ตัน รวมถึงพระสารีบุตรและ พระโมคคัลลานะ รวม ค่าใช้จ่ายประมาณ ๔ ล้านบาท หลวงพ่อดีบุกวัดบ้านหงาว แม้จะไม่ได้เป็นพระพุทธรูปเก่าแก่ แต่เป็นพระพุทธรูป ศกั ดิ์สิทธิ์ แร่ดีบกุ ที่ใชใ้ นการสร้างองคพ์ ระประธานเป็นแร่ที่มีนัยแห่งความดี คือ ดีบุก หมายถึง “ความดีที่บุกเอาชนะ ความช่ัว” พุทธศาสนิกชนท้ังในจังหวัดระนอง และต่างจังหวัด รวมทั้งนักท่องเท่ียว จะเข้ามาสักการะของพรส่ิง

แหล่งเรยี นรกู้ ารทาผา้ มดั ยอ้ มจากไมโ้ กงกางชุมชนคณุ ธรรมวดั บา้ นหงาว การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ๑. มัดด้วยยางให้แน่น ตามลวดลายที่ต้องการ แล้วนาไปล้างนา้ สะอาด ให้ท่ัวก่อนนาไปใส่หม้อย้อม ๒. การย้อมด้วยนา้ จากไม้โกงกาง ต้มนา้ ให้ร้อน ใช้ไฟปานกลาง ใช้เวลา ๑๕ นาที ๓. นาออกจากหม้อย้อม แช่นา้ ปูนใส ใช้เวลา ๕ นาที ๔. นามาซักล้าง แกะไม้ ยาง ที่มัดออก และนาไปซัก ล้าง ๕. การตาก เวลาตากให้ตากลมหรือแดดอ่อน ๆ หรือในท่ีแดดส่องไม่ถึง เพ่ือไม่สีซีดเร็วเกินไป ชุมชนคณุ ธรรมวดั บา้ นหงาว หมู่ ๑ ตาบลหงาว อาเภอเมืองระนอง จังหวัดระนอง

แหลง่ เรยี นรหู้ ัตถศลิ ป์ดน้ิ โบราณ แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ จากแจกันดอกไม้ดิ้นโบราณอายุกว่าร้อยปี ซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากตระกูล ณ ระนอง ที่จวนเจ้าเมืองระนองเก่า เมื่อครั้งสมัยที่จังหวัดระนองได้รับวัฒนธรรมเปอรานา กัน จากปีนัง ประเทศมาเลเซีย เนื่องจากมีการติดต่อทั้งด้านเศรษฐกิจและด้านการศึกษา โดยเป็นศิลปะท่ีหาชมได้ยาก และเลือนหายไปจากระนองไปแล้ว ในอดีตผลิตภัณฑ์ดิ้นโบราณ ได้นามาประดิษฐ์เป็นมงกุฏประดับศีรษะ เจ้าสาวในพิธีแต่งงาน ดอกไม้ติดเสื้อสาหรับเจ้าบ่าว แล ะ ไ ด้พัฒ น า รูป แบ บ ผ ลิต ภัณ ฑ์ใ ห้มีเ อ ก ลัก ษ ณ์ข อ ง จัง ห วัด ร ะ น อ ง แล ะ ส อ ด ค ล้อ ง กับ ส มัย นิย ม เช่น นามาตกแต่งทรงผม เป็นเข็มกลัด ตกแต่งเครื่องแต่งกาย เคร่ืองประดับต่าง ๆ ผลิตภัณฑ์เข็มกลัดหงส์ แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ มีแน วคิดมาจากค วา มเ ชื่อของกลุ่มชาติพัน ธ์ชาวบ่าบ๋า หรือจีน ฮกเ กี้ยน ที่อาศัยอยู่ใ น จังหวัดระนอง ซึ่งเข้ามาตั้งถิ่นฐานในสมัยรัชกาลที่ ๓ ชาวจีนฮกเกี้ยนได้นารูปหงส์มาเป็น ส่วนประกอบต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น นามาเป็นลวดลายในเคร่ืองแต่งกาย เคร่ืองประดับ หงส์มีเสียงร้อยไพเราะ กังวานไกล ดุจเสียงขลุ่ย หงส์จะปรากฏตัวอยู่ในดินแดนที่สงบร่มสุข ความสง่างามและเจรญิ เสรมิ มงคล เจรญิ รุ่งเรอื ง

ศาลหลกั เมอื งระนอง ต้งั อย่หู นา้ เทศบาลเมอื งระนอง มีลกั ษณะเปน็ ศาลา จตั รุ มขุ ทรงไทย มียอดศาลาตามลักษณะภูมสิ ถาปตั ย์แบบพระธาตไุ ชยา จานวนห้า ยอดมีความสูงถึงยอด ๑๓.๖๐ เมตร ตัวศาลมีขนาดกว้างยาวด้านละ ๖ เมตร เป็น ศาลหลักเมืองทีม่ ีความสวยงามและเปน็ ทีเ่ คารพสกั การะของชาวระนอง เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เทศบาลเมืองระนอง จึงได้ริเริ่มโครงการสร้าง ศาลหลักเมืองขึ้น ณ บริเวณที่เคยเป็นบ้านพักเก่าของพระยารัตนเศรษฐี เจ้าเมือง ระนอง ริมคลองหาดสม้ แปน้ เมื่อวันท่ี ๒๑ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๓ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จแทน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร มาประกอบพิธยี กเสาหลักเมอื ง และทรงเปิดศาลหลกั เมอื ง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook