Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR 2563

SAR 2563

Published by mt4singburi, 2021-11-28 10:39:02

Description: SAR 2563

Keywords: sar

Search

Read the Text Version

40 ในปกี ารศึกษา 2563 (16 พฤษภาคม 2562 – 15 พฤษภาคม 2563) โครงการส่งเสริมพฒั นา กฬี าเปตองสู่ความเป็นเลศิ ของโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ มีผลการดาเนินการ ดงั น้ี 1) การพัฒนาหลกั สูตรกีฬาเปตอง กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา มีหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมกีฬาเปตอง เพ่ือ ใช้ในการจัดการเรียนการสอน ต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ครบทุก ระดับชั้น ให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาในชุมชน สังคม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เพ่ือให้เป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ เหมาะสมกับ ความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผู้เรียน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ท้ังน้ีอาจ เป็นผลมาจาก ครูผู้สอนมีความรู้ความเข้าใจต่อสภาพปัญหาในการจัดการเรียนการสอน ครูในยุค ปฏิรูปการศึกษาจะต้องปรับเปลี่ยนจากการเป็นผู้สอน เป็นผู้อานวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ของ ผเู้ รียน โดยการชี้แนวทางการนาความรจู้ ากแหลง่ ต่างๆ มาใชป้ ระโยชน์ กลา่ วคอื ทาให้ผู้เรยี นรวู้ ิธีการ เขา้ ถงึ แหล่งขอ้ มลู มที กั ษะในการใช้สอื่ ท้งั สื่อสง่ิ พิมพ์และส่อื อิเลก็ ทรอนกิ สใ์ นการสืบค้นขอ้ มลู มาใชไ้ ด้ สะดวก วิธีการที่ครูสามารถทาได้ในฐานะผอู้ านวยความสะดวกท่ีดี นอกจากน้ี ครูยังตอ้ งปรับบทบาท จากการเป็นผู้ป้อนข้อมูล เป็นผู้ให้คาแนะนาปรึกษา โดยครูจะต้องตระหนักเสมอว่าตนเองไม่ใช่ผู้ กาหนดความรู้ แต่เป็นผู้สอนแก่นความรู้ในวิชาที่สอนและแนะวิธีคิด ให้กรอบในการวิเคราะห์เน้ือหา วชิ าการ แนะนาการพิจารณาขอ้ มูลท่ีจะเลือกนามาใช้ แนะนาเร่ืองท่วั ๆ ไปที่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต ของผู้เรียนดว้ ย รวมถงึ การท่ีครจู ะทาหนา้ ท่ีเป็นผู้ให้คาปรึกษา คาแนะนาแกน่ ักเรยี นและเปน็ ผู้เอือ้ ต่อ การเรียนรู้ของผู้เรียนได้ก็ต่อเม่ือครูเป็นผู้เรียนรู้มาก่อน นั่นหมายความว่า ครูจะต้องปรับเปลี่ยน พฤติกรรมให้กระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้เพ่ิมเติมอยู่เสมอ เป็นคนช่างสังเกตและคิดแตกฉาน กบั ข้อมูลและความรู้ทีผ่ ่านเข้ามาในสมองด้วยการตั้งคาถามและหาทางพสิ ูจน์เรื่องเหล่าน้ีให้ได้ข้อสรุป ท่ชี ัดเจน วิธีการพัฒนาหลักสูตรเพ่ิมเติมวิชาเปตอง ได้ดาเนินการโดยเริ่มจาก 1) การวิเคราะห์ ขอ้ มูลที่ได้จากการสารวจสภาพปัญหาชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพอื่ เป็นสมาชิกท่ีดขี องครอบครัว ชมุ ชน สงั คมและประเทศชาติ ความสามารถ ความถนดั ความสนใจ และความแตกต่างระหว่างผู้เรียน 2) กาหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ที่จะนาไปใช้จัดกระบวนการ เรียนรู้ โดยคานึงถึงประเภทและหลักเกณฑ์การกาหนดสาระการเรียนรู้ 3) จัดแบ่งเน้ือหาสาระการ เรยี นรู้ออกเป็นช่วงช้นั รายชัน้ ปี หรือรายภาค ตามความเหมาะสม 4) กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ช่วง ช้ัน หรือผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวังรายปีและรายภาค 5) จัดทาคาอธิบายรายวิชา 6) จัดทาหน่วยการ เรียนรู้ 7) จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 2) ความเป็นเลิศจากการแขง่ ขันในระดบั ภาค ประเทศและนานาชาติ รายการแข่งขนั ทอง รางวัล เงนิ ทองแดง รวม เปตองเยาวชนอายไุ ม่เกิน 17 ปี ชงิ แชมปโ์ ลกท่ปี ระเทศกมั พูชา 11 เปตองเยาวชนชิงแชมป์เอเชียอายุไม่เกิน 17 ปี ท่ีประเทศ 11 มาเลเซยี 40

41 เปตองการแขง่ ขนั กฬี าแหง่ ชาติ 112 เปตองการแขง่ ขนั กีฬาเยาวชนแห่งชาติ 11 เปตองการแข่งขนั กฬี านกั เรียนนักศึกษาแหง่ ประเทศไทย 11 2 เปตองกฬี านกั เรียนองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ระดับประเทศ 8 4 3 15 เปตองกีฬานักเรยี นองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคกลาง 5 5 3 13 3) การพฒั นาครผู ู้ฝึกสอน โรงเรียนได้ดาเนนิ การอบรมเชิงปฏบิ ัติการให้กับครูและบุคลากรทางการศกึ ษา จานวน 4 เร่ือง ประกอบด้วย 1) การพัฒนาหลักสูตร 2) การจัดทาแผนพัฒนา 3) การวิเคราะห์และจัดทาคลัง ข้อสอบ และ 4) การจัดทามาตรฐานของชมรม ส่งผลให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความ เข้าใจและสามารถพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีสูงขึ้น ทั้งน้ีอาจเป็นผลมาจาก ปัจจัยสาคัญที่ทาให้การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาประสบความสาเรจ็ กค็ ือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผ้ทู ่เี กย่ี วขอ้ งในการพฒั นาหลกั สูตร ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทั้งผู้บริหาร ครูผู้สอน นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน เนื่องจากหลักสูตร สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นหลักสูตรท่ีกระจายอานาจการจัดการศึกษาแก่สถานศึกษา ทั้งในด้านการ บริหารวิชาการ การบริหารจัดการและการใช้หลักสูตร เป็นกระบวนการนาหลักสูตรแกนกลางใน ระดบั ชาติไปส่กู ารปฏบิ ัตใิ นสถานศึกษา จึงต้องได้รับการสนับสนุน ส่งเสริมและร่วมมือจากบุคลากรที่ เก่ียวข้องทุกระดับ โดยท่ีการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเน้นความสาคัญในการ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ ซ่ึงที่ต้องการให้เกิดการเปล่ียนแปลงตาม พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 22 กาหนดแนวทางไว้ว่า “การจัดการศึกษา ต้องยึดหลกั ว่าผู้เรยี นทกุ คนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญ ที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตาม ศกั ยภาพ” 4) เปน็ ศนู ย์กลางการพฒั นากีฬาเปตองในจังหวัด โรงเรียนได้รับความร่วมมือจาก สมาคมส่งเสริมกีฬาแห่งจังหวัดสิงห์บุรี สานักงานการ กีฬาแห่งประเทศไทยจังหวัดสิงห์บุรี และสานักงานการท่องเท่ียวและกีฬาจังหวัดสิงห์บุรี ให้เป็น เจ้าภาพจัดการแข่งขันชิงชะเลิศแห่งจังหวัด รวมถึงการจัดแข่งขันกีฬาเปตองชายหาดให้กับชุมชน นอกจากน้ียังได้รับดาเนินการจัดแข่งขันตามที่หน่วยงานต่างๆ ขอความร่วมมือ รวมถึงด้านการให้ ความรดู้ า้ นวทิ ยากรและการจดั ทาหลกั สูตร 4. ปัจจัยเกื้อหนนุ /ปจั จยั แห่งความสาเร็จ การดาเนินโครงการส่งเสริมและพัฒนากีฬาเปตองสู่ความเป็นเลิศ มีปัจจัยท่ีเอ้ือต่อ ความสาเร็จในการดาเนินงาน 10 ดา้ น ประกอบด้วย 41

42 1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ วธิ ดี าเนินการ มกี ารประชุมคณะกรรมการชมรม มีแผนการ ดาเนินงานท้ังระยะส้ันและระยะยาว มีนโยบายที่ชัดเจน มีการจดั ทาฐานข้อมูลนักกฬี า เปิดโอกาสให้ ทุกภาคส่วนเขา้ มามีส่วนร่วม 2) ปัจจัยด้านบุคลากร วิธีดาเนินการ จัดให้มีผู้ฝึกสอนที่มีความสามารถและเช่ียวชาญ ผู้ ฝึกสอนมีความทุ่มเทในการฝึกซ้อม มีการพัฒนาบุคลากรที่ต่อเน่ืองเพ่ือให้มีความรู้และทักษะในการ ปฏิบัติงาน มีบุคลากรที่เพียงพอ ผบู้ ริหารมีนโยบายที่ชัดเจนและมีความเอาใจใส่ ผู้บริหารมีศักยภาพ สามารถขอความร่วมมือจากองคก์ รภาคตี ่างๆ ได้เป็นอย่างดี โรงเรียนเห็นคุณค่าของความรู้ท่เี กิดจาก การเรียนรูแ้ ละประสบการณ์ของบุคลากร 3) ปัจจัยด้านงบประมาณ วิธีดาเนินการ จัดทาแผนงานด้านงบประมาณท่ีชัดเจน มีการได รับการสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก 4) ปัจจัยด้านโครงการของชมรมกีฬา วิธีดาเนินการ จัดโครงสร้างของชมรมอย่างชัดเจน จัดทาแผนพัฒนาสร้างนักกีฬาใหม่ข้ึนมาทดแทนอย่างต่อเน่ือง มีสถานท่ีตั้งชมรมเป็นสัดส่วน มีการ สร้างแรงกระตุน้ ใหบ้ คุ ลากรเขา้ มามีส่วนร่วม 5) ปัจจัยด้านการสนับสนุน วิธีดาเนินการ มีภาคส่วนราชการให้การสนับสนุนด้านต่างๆ มี นโยบายใหร้ างวลั แกน่ ักกฬี าท่ปี ระสบความสาเรจ็ 6) ปัจจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิธีดาเนินการ มีการเผยแพรข้อมูลและองค์ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาแก่นักกีฬา มีข้อมูลหรือสารสนเทศทางเทคโนโลยีที่สามารถนามาใช้ ประโยชนไ์ ด้ 7) ปจั จยั ด้านกระบวนการจัดการแข่งขัน วิธดี าเนนิ การ มีการใหค้ วามรู้เรื่องกฎ กติกาอย่าง ตอ่ เนอื่ ง มีการวางแผนการจดั ระบบการแขง่ ขนั 8) ปจั จยั ดา้ นกฎระเบยี บข้อตกลง วธิ ดี าเนินการ มกี ารกาหนดกฎระเบยี บของชมรม 9) ปัจจัยด้านสถานท่ีและส่ิงอานวยความสะดวก วิธีดาเนินการ มีสนามฝึกซ้อมและแข่งขัน อย่างเพียงพอ มีอุปกรณ์ที่ใช้ในการฝึกซ้อมและแข่งขันท่ีได้มาตรฐานสากล มีสถานท่ีพักนักกีฬาที่ เหมาะสม มีการจัดอาหารตามหลักโภชนาการ 10) ปัจจัยด้านการพัฒนานักกีฬา วิธีดาเนินการ มีการจัดระบบนักกีฬาตามรูปแบบพ่ีดูแล น้อง เปิดโอกาสให้นักกีฬาไปร่วมแข่งขันในนามสโมสรหรือจังหวัดอื่นๆ ในรายการแข่งขันที่สูงขึ้น มี การพัฒนาทกั ษะให้กบั นักกฬี าอยา่ งสม่าเสมอ มีการพฒั นาดา้ นจติ วทิ ยาใหก้ ับนกั กฬี า 5. แนวทางการพฒั นาให้ยง่ั ยืน แนวทางการพัฒนาส่งเสริมความเป็นเลิศด้านกีฬาเปตองของโรงเรียนมัธยมเทศบาล ๔ ยึด หลักการพฒั นาสคู่ วามยั่งยนื ดังนี้ 1) เข้าใจ มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) สารวจสภาพท่ีแท้จริง โดยการศึกษาสภาพปัจจุบัน ปญั หาและความต้องการของนักเรยี น ผู้ปกครองและชุมชนต่อการส่งเสริมและพัฒนา 2) การวางแผน การจัดการ โรงเรียนกาหนดแนวทางการบริหารจัดการ เช่น บุคลากร งบประมาณ สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ ส่ิงอานวยความสะดวก และอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้อง 3) ศึกษาเรียนรู้จัดการเรียนการสอนตาม 42

43 หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา รายวิชาเพิ่มเติม 4) ฝึกฝนเพื่อพัฒนา วาง แผนการเรยี นร้แู ละฝึกซอ้ มใหก้ ับนกั กฬี า 2) เข้าถึง มี 3 องค์ประกอบ คือ 1) สร้างวสิ ัยทัศนร์ ่วมกัน สรา้ งกรอบความคิดของการที่จะ ก้าวไปให้ถึงความเป็นเลิศด้านกีฬาเปตอง 2) กาหนดเป้าหมายเดียวกันสร้างปัญหา สรุปทัศนคติท่ีดี ร่วมกันเพอ่ื ไปสเู่ ป้าหมายและความสาเรจ็ 3) พฒั นา ยึดหลักการสาคัญคือ 1) เมล็ดพันธ์ุที่ดี การพัฒนาตนเองให้เต็มตามศักยภาพ 2) ฟาร์มสาเร็จ การพัฒนาชมรมและโรงเรียนให้ไปสู่ความสาเร็จจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 3) ตน้ แบบของความเปน็ เลศิ แบบอย่างทด่ี ีงามตอ่ การพัฒนาส่คู วามเป็นเลศิ อีกด้านหน่งึ 6. การเปน็ ต้นแบบใหก้ ับหนว่ ยงานอน่ื /การขยายผล และ/หรือรางวลั ทไี่ ด้รับ เป็นสถานท่ีศึกษาดูงานด้านการพัฒนากีฬาเปตองให้กับหน่วยงานทางการศึกษาในสังกัด องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และสานกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา เป็นสถานท่ีส่งเสริมและพฒั นาการจดั แข่งขันกีฬาเปตองของจังหวัดสงิ หบ์ ุรี จดั วิทยากรใหค้ วามรู้กบั หน่วยงานต่างๆ ท่ีเสนอขอรับความอนเุ คราะห์ นักกฬี าได้รบั รางวัลจากการแข่งขันต้งั แต่ระดับจังหวดั จนถึงระดับโลก 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook