ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี (Best Practice) ชอื่ ผลงาน การติดตามผเู้ รียนรายบุคคลเพ่อื เพ่มิ ผลสัมฤทธ์กิ ารทดสอบทางการศกึ ษา 1 ระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
คานา เอกสารผลการปฏิบัติงานท่ีดี (Best Practice) เร่ืองการติดตามผู้เรียนรายบุคคลเพ่ือเพ่ิม ผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET) เล่มนี้ จัดทาข้ึนเพื่อให้ เห็นแนวทางในการนาเสนอผลการปฏบิ ตั ิทด่ี ี (Best Practice) ตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมม่ิง (Deming Cycle : PDCA) เร่อื งการตดิ ตามผู้เรยี นรายบุคคลเพอื่ เพิ่มผลสมั ฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน การศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET) ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) เร่ืองการติดตาม ผ้เู รยี นรายบุคคลเพอื่ เพมิ่ ผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET) เล่มนี้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อสถานศึกษาและบุคลากร นาไปใช้เปน็ แนวทางและนาไปปรบั ใชใ้ ห้เหมาะสม ตอ่ ไป นายดนพุ ล เจยี ร์สคุ นธ์ ครู กศน.ตาบลทุง่ อรณุ ผู้จัดทา ผลการปฏบิ ัติงานท่ดี ี (Best Practice) ช่ือผลงาน การติดตามผูเ้ รียนรายบคุ คลเพอื่ เพมิ่ ผลสมั ฤทธิก์ ารทดสอบทางการศึกษา 2 ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET)
สารบญั หนา้ ก คานา ข สารบญั 1 ชอื่ ผลงาน การติดตามผเู้ รยี นรายบุคคลเพอื่ เพิ่มผลสมั ฤทธิก์ ารทดสอบทางการศกึ ษา 1 ระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET) 2 ความเป็นมา 2 วตั ถปุ ระสงค์ 2 กลุ่มเปา้ หมาย 4 กระบวนการและขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน 4 ผลการดาเนินงาน 5 บทเรียนท่ีได้รับ 5 เงอ่ื นไขสคู่ วามสาเร็จ 7 การเผยแพร่/การไดร้ ับการยอมรับ/รางวลั ทีไ่ ด้รับ 8 ภาคผนวก 10 ภาพกจิ กรรม คณะผจู้ ัดทา ผลการปฏิบตั งิ านท่ีดี (Best Practice) ช่อื ผลงาน การติดตามผเู้ รยี นรายบุคคลเพ่อื เพม่ิ ผลสมั ฤทธก์ิ ารทดสอบทางการศึกษา 3 ระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
ชอื่ ผลงาน การตดิ ตามผเู้ รยี นรายบคุ คลเพอื่ เพม่ิ ผลสมั ฤทธกิ์ ารทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) ชือ่ เจา้ ของผลงาน : นายดนพุ ล เจียร์สคุ นธ์ ครู กศน.ตาบล สงั กดั : ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอโชคชัย จงั หวัดนครราชสมี า 1. ความเปน็ มา การจัดการเรยี นรู้ ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งเนน้ การจัดการเรยี นรู้ตามปรชั ญา \"คิดเปน็ \" และยึดหลักว่าผเู้ รียนทกุ คนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรยี นแตล่ ะคนมีธรรมชาติทแ่ี ตกตา่ งกัน ทง้ั ดา้ นวัย วฒุ ภิ าวะ ความถนัด ความสนใจ วิธีการเรียนรู้ ตลอดจน มีการดาเนินชวี ติ และส่งิ แวดล้อมทีแ่ ตกต่างกนั ซ่ึงสง่ ผลต่อการเรยี นร้ขู องผู้เรียน ดังนัน้ การจัดการเรียนรู้จงึ ต้อง ยดึ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญเพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเอง ตามธรรมชาติ เต็ม ตามศกั ยภาพท่ีมอี ยู่ และเรียนรู้อย่างมีความสุข ตามท่ีหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดให้ สถานศึกษาดาเนินการจดั การศกึ ษาทั้ง 3 ระดบั คือ ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย ซ่ึงนักศึกษาทุกคนท่ีจะจบหลักสูตรได้นั้น ต้องผ่านเกณฑ์ การจบหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ตามเกณฑ์ดังน้ี 1. ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ การเรียนรรู้ ายวิชาในแต่ละระดบั การศึกษา ตามโครงสรา้ งหลกั สตู ร - ระดบั ประถมศึกษา ไม่นอ้ ยกวา่ 48 หนว่ ยกิต - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ไม่นอ้ ยกวา่ 56 หน่วยกติ - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายไม่นอ้ ยกว่า 76 หน่วยกิต 2. ผ่านการประเมนิ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ (กพช.) ไม่น้อยกวา่ 200 ชั่วโมง 3. ผ่านการประเมินคุณธรรม ในระดบั พอใช้ขึน้ ไป 4. เข้ารบั การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-NET) และด้วย กศน.อาเภอโชคชัย มีนโยบายต้องการที่จะยกระดับจานวนนักศึกษา ผู้เข้ารับ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของจานวนนักศึกษาทั้งหมดที่มใี น กศน.ตาบล แตด่ ้วยสภาพปัญหาในปัจจุบันนักศึกษา มีนักศึกษาบางส่วนไม่ ใสใ่ จในการเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นการสอน และไม่เข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ ส่งผลให้จานวนผู้เข้า รบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ กศน.ตาบล โชคชัย ลดลง และมีผลต่อการจบการศึกษาตามโครงสรา้ งหลักสตู รของตัวนักศึกษาเอง ผลการปฏบิ ตั ิงานท่ีดี (Best Practice) ช่ือผลงาน การตดิ ตามผูเ้ รียนรายบุคคลเพ่ือเพิม่ ผลสมั ฤทธ์กิ ารทดสอบทางการศึกษา 4 ระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET)
ซ่ึงปญั หาดังกล่าวได้ถูกนามาพิจารณา และดาเนินการเพ่ือออกแบบระบบติดตามและประสาน นกั ศึกษาเพ่อื ใช้เปน็ เครื่องมอื ในการติดตามและประสานนักศึกษา ในการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่ กศน . ตาบลทงุ่ อรุณ จัดขนึ้ และเพ่ือเป็นการเพิ่มจานวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) และสอดคล้องกับนโยบายยกระดับจานวนนักศึกษาและผู้เข้ารับการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ กศน.อาเภอโชคชัย กศน.ตาบลโชคชัย จึงไดอ้ อกแบบและจดั ทาระบบการติดตามและประสานนกั ศึกษา น้ีขน้ึ 2. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อตดิ ตามให้นักศึกษา กศน.ตาบลโชคชัย เขา้ รบั ทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติด้าน การศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และเพิ่มผลสัมฤทธ์ิ 3. กลมุ่ เปา้ หมาย 3.1 เชิงปรมิ าณ นกั ศกึ ษา กศน.ตาบลทุ่งอรุณ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย จานวน 11 คน 3.2 เชิงคณุ ภาพ นักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งอรณุ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอน ปลาย เข้ารับทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) รอ้ ยละ 100 4. กระบวนการและขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน จากดาเนินการจัดทาระบบการติดตามผู้เรียนรายบุคคลเพื่อเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET) มีการวางแผนการดาเนนิ งาน และติดตามงานอย่าง เปน็ ระบบเพือ่ ให้ไดข้ อ้ มลู ถูกตอ้ งและแม่นยา โดยใช้วงจรคุณภาพ (Deming Cycle) หรือ PDCA ขน้ั ตอนที่ 1 ขน้ั วางแผน (Plan) จากข้อมูลการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน จานวนผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาตดิ ้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ในปีที่ผ่านมาพบว่า จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียน การสอนและการเข้าสอบยังไม่เป็นท่ีน่าพอใจ จึงได้กาหนดแผนในการดาเนินงาน ระบบการติดตามผู้เรียน รายบุคคลเพื่อเพ่มิ จานวนผเู้ ข้าสอบไว้ดังน้ี ผลการปฏิบัตงิ านท่ดี ี (Best Practice) ช่อื ผลงาน การตดิ ตามผเู้ รยี นรายบคุ คลเพ่อื เพิม่ ผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบทางการศกึ ษา 5 ระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
PDCA ผ้บู รหิ ารสถานศึกษา คณะครูและบุคลากร ครู กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล ประชุมช้แี จงแนว กศน.อาเภอยางชุมนอ้ ย ดาเนินการรวบรวม ดาเนนิ การตดิ ตาม ทางการดาเนนิ งาน ตาเนินการออกแบบ ข้อมูลและจัดทาคู่มอื นกั ศึกษาโดยใช้ ใหก้ ับคณะครแู ละ การจดั เก็บขอ้ มูลใน การติดตามผู้เรยี น คูม่ อื การตดิ ตาม บุคลากรทางการ การติดตามผู้เรยี น รายบคุ คลเพ่อื เพ่ิม ผูเ้ รียนรายบุคคล ศกึ ษาทราบ รายบุคคลเพอ่ื เพิ่ม ผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบ เพ่อื เพมิ่ ผลสัมฤทธิ์) ผลสัมฤทธ์ิ ทางการศกึ ษา และสรปุ ผลการ ระดับชาติดา้ น ดาเนนิ การติดตาม การศกึ ษานอกโรงเรยี น นักศกึ ษา (N-NET) ขน้ั ตอนที่ 2 ขน้ั ดาเนนิ งาน (Do) ปฏิบัติงานตามแผนทว่ี างไว้ โดยดาเนินการตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. จัดทาแบบสารวจข้อมูลเพ่ือการติดตามผู้เรียนรายบุคคลเพ่ือเพ่ิมผลสัมฤทธิ์การทดสอบ ทางการศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET) 2. ประชมุ ชี้แจงกบั นักศกึ ษาเพ่ือกรอกแบบสารวจข้อมูลเพือ่ การติดตามผู้เรียนรายบคุ คล เพ่ือเพ่มิ ผลสัมฤทธก์ิ ารทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) 3. บันทกึ ข้อมูลทไ่ี ด้จากใบสมัครและแบบสารวจข้อมลู 4. จัดทาค่มู อื เพ่อื การตดิ ตามและประสานนักศกึ ษา 5. ให้นกั ศึกษาเข้ากลุ่ม Line กศน.ตาบลโชคชยั 6. เพ่ิมนกั ศกึ ษาเป็นเพ่ือนใน Facebook 7. เชญิ นักศึกษากดถูกใจ และติดตาม Fan page Facebook กศน.ตาบลโชคชยั 8. ประชาสมั พนั ธก์ ารจดั กิจกรรมท่ี กศน.จะดาเนินการผ่านทาง Facebook สว่ นตวั ของครู และ Fan page Facebook กศน.ตาบลทงุ่ อรณุ 9. แจ้งวันเวลาและสถานที่สอบ N-NET ให้นักศึกษาทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน โดยการโทรประสาน แจ้งไปใน Line กศน.ตาบลโชคชัย Line สว่ นตวั ของนักศึกษา Facebook Messenger ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี (Best Practice) ชื่อผลงาน การตดิ ตามผเู้ รียนรายบุคคลเพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบทางการศกึ ษา 6 ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
ขน้ั ตอนที่ 3 ขนั้ ตรวจสอบ (Check) แบ่งการตรวจสอบขอ้ มลู ออกเป็น 2 ชว่ ง คือ 1. ระหวา่ งการสอบ N-NET ตรวจสอบจานวนนักศึกษาที่เขา้ สอบในแต่ละหอ้ ง โดยการเดินสงั เกต และดูจากบัญชี ลงเวลาการเขา้ สอบของนกั ศกึ ษา 2. ภายหลงั การสอบ N-NET ตรวจสอบจากรายงานผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติต้านการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) และรายงานจานวนผูเ้ ขา้ สอบ ขนั้ ตอนท่ี 4 ขนั้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (Action) จากการติดตามผู้เรียนรายบุคคลเพ่ือเพิ่มผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) ถือว่าระบบการติดตามดังกล่าวมีประสิทธิภาพอยู่พอสมควร โดยอ้างอิง จากรายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ท่ีนักศึกษา กศน.ตาบลท่งุ อรุณ เข้ารับการทดสอบ ร้อยละ 100 ของจานวนนักศึกษาท่ีเข้ารับการทดสอบทั้งหมด ซึ่งเป็น จานวนท่ีเพม่ิ ข้นึ จากภาคเรียนท่ผี ่านมาอย่างไรก็ตามการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) ท่ี กศน.ได้ดาเนินการจัดขึ้น ยังมีนักศึกษา กศน.ตาบลทุ่งอรุณ เข้ารับการทดสอบ เป็นไปตามจานวนเปา้ หมายท่ีกาหนดเอาไว้ จึงต้องมีการพัฒนาปรบั ปรุงระบบการติดตามผู้เรียนรายบุคคลทุก ภาคเรยี น เพื่อเพิ่มผลสมั ฤทธิ์การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET) ให้มี ประสทิ ธภิ าพทด่ี ียง่ิ ขึ้น 1. วเิ คราะห์ขอ้ มลู ของนักศกึ ษา 2. ทบทวนข้อมูลให้มีความครอบคลมุ 3. สรุปผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 4. รวบรวมข้อมูลเพอ่ื ประกอบการจัดทาระบบการติดตามและประสานนักศกึ ษาในครัง้ ตอ่ ไป 5. รายงานผลการดาเนินงานต่อผบู้ รหิ าร 5. ผลการดาเนนิ งาน 5.1 ผลทเ่ี กดิ กบั ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ กศน.ตาบลทุ่งอรุณ มีจานวนนักศึกษาที่เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ร้อยละ 100 ครู กศน.ตาบล มีระบบการติดตามผู้เรียนรายบุคคล เพ่ือเพม่ิ ผลสมั ฤทธิก์ ารทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรียน (N-NET) ทีม่ ีประสิทธิภาพ สะท้อนถึงการปฏิบัติงานของครู กศน.ตาบล ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี ี (Best Practice) ชอื่ ผลงาน การตดิ ตามผู้เรยี นรายบคุ คลเพอ่ื เพิ่มผลสมั ฤทธกิ์ ารทดสอบทางการศกึ ษา 7 ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
5.2 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 1. นักศกึ ษา กศน.ตาบลทุ่งอรณุ เกิดกระบวนการบริหารจัดการวงจรเดมมง่ิ (PDCA) นาไปสู่ การกาหนดแนวทางในการพัฒนาปรับปรุง 2. นักศึกษา กศน.ตาบลทงุ่ อรณุ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย เขา้ รับทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) มากกวา่ ร้อยละ 100 6. บทเรยี นทไ่ี ดร้ บั 1. การวิเคราะหข์ อ้ มูล ต้องศึกษาหลกั การ แนวคิด และวิธีการที่หลากหลาย เพื่อให้สามารถ นาไปประยกุ ต์ได้อย่างเหมาะสมกบั ตามสภาพของหน่วยงาน 2. การวางแผน เป็นกระบวนการสาคญั ท่จี ะชว่ ยใหม้ ีแนวทางในการปฏิบัตงิ านชัดเจนถกู ตอ้ ง 3. ความสาเรจ็ ของงาน เกดิ จากการมีสว่ นร่วมของทุกฝ่ายในองค์การ ดังนั้น ควรให้โอกาสใน การปฏบิ ัตงิ านเสนอแนะความคดิ เหน็ รวมถึงสร้างขวญั กาลังใจแกบ่ คุ ลากรอย่างต่อเน่ือง 4. การมีช่องทางการติดต่อกับนักศึกษาที่หลากหลาย เป็นสิ่งท่ีจาเป็นอย่างยิ่งในการติดต่อ และประสานนกั ศกึ ษาในการเข้ารบั การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N- NET) 7. เงอื่ นไขสคู่ วามสาเรจ็ 1. ผู้บริหารให้ความสนใจ มอบนโยบายแต่งตั้งคณะกรรมการในการเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ และสนับสนนุ การจัดกระบวนการตดิ ตามนกั ศกึ ษา เพื่อเพอ่ื เพ่ิมผลสัมฤทธิก์ ารทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET) 2. ครู ส่งเสรมิ สนบั สนุนผ้เู รียน ติดตามผู้เรยี น อย่างต่อเนอื่ ง 3. นกั ศกึ ษา ให้ความรว่ มมอื ในการติดตาม 8. การเผยแพร/่ การไดร้ บั การยอมรบั /รางวลั ทไ่ี ดร้ บั ได้รับประกาศนียบัตรจากผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชัย เป็นครูที่มีคะแนนเฉลี่ยของ นักศึกษา เข้ารับการทดสอบการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้ังที่ 2 ปี การศกึ ษา 2564 เป็นลาดับที่ 1 (รอ้ ยละ 100) 9. ขอ้ เสนอแนะ ระบบการติดตามผู้เรียนรายบุคคลเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET) จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการติดตามผู้เรียน นักศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.ตาบลโชคชัย ใน การติดตามผู้เรียน Line กศน.ตาบลโชคชยั Line ส่วนตัวของนกั ศึกษา Facebook Messenger ครูผู้สอนนนั้ ต้องคอยตดิ ตามให้ ผลการปฏิบตั งิ านท่ดี ี (Best Practice) ช่ือผลงาน การตดิ ตามผู้เรียนรายบคุ คลเพอื่ เพิม่ ผลสัมฤทธิ์การทดสอบทางการศึกษา 8 ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน (N-NET)
คา ปรึ กษ าแ ละ คา แน ะ นา กับ ผู้เ รีย น อ ยู่เ ส มอ เพ่ื อใ ห้ผู้ เรี ยน เข้ า รับ กา รท ดส อบ ทา ง กา รศึ กษ าร ะ ดั บช า ติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ผลการปฏิบัติงานที่ดี (Best Practice) ชื่อผลงาน การตดิ ตามผู้เรียนรายบคุ คลเพอื่ เพิม่ ผลสัมฤทธกิ์ ารทดสอบทางการศกึ ษา 9 ระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
ภาคผนวก ผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ี (Best Practice) ชือ่ ผลงาน การติดตามผูเ้ รยี นรายบุคคลเพ่อื เพ่มิ ผลสมั ฤทธ์กิ ารทดสอบทางการศึกษา 10 ระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
การตดิ ตามผ้เู รยี นรายบคุ คลเพอื่ เพม่ิ ผลสมั ฤทธิ์ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) ผลการปฏิบัติงานทีด่ ี (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน การติดตามผเู้ รยี นรายบคุ คลเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศกึ ษา 11 ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
การตดิ ตามผ้เู รยี นรายบคุ คลเพอื่ เพม่ิ ผลสมั ฤทธิ์ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) ผลการปฏิบัติงานทีด่ ี (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน การติดตามผเู้ รยี นรายบคุ คลเพื่อเพิม่ ผลสัมฤทธ์ิการทดสอบทางการศกึ ษา 12 ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกโรงเรยี น (N-NET)
รางวลั ทไี่ ดร้ บั ซึ่งเปน็ ผลทเี่ กดิ จากระบบการตดิ ตามผเู้ รยี นเพอ่ื เพม่ิ ผลสมั ฤทธ์ิ การทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET) ผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ี (Best Practice) ชื่อผลงาน การติดตามผูเ้ รียนรายบคุ คลเพ่อื เพิ่มผลสมั ฤทธิ์การทดสอบทางการศกึ ษา 13 ระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
คณะผจู้ ดั ทา ทป่ี รกึ ษา นางจีระภา วฒั นกสกิ าร ผูอ้ านวยการ กศน.อาเภอโชคชัย นางสวุ มิ ล หาญกล้า บรรณารักษช์ านาญการพิเศษ นายสมชาย มุ่งภ่กู ลาง ครอู าสาสมัคร กศน. นางจงรกั ษ์ เชื่อปญั ญา ครูอาสาสมัคร กศน. วิเคราะห์ขอ้ มลู เรยี บเรยี งและทาตน้ ฉบบั นายดนุพล เจยี รส์ ุคนธ์ ครู กศน.ตาบล บรรณาธกิ าร ผู้อานวยการ กศน.อาเภอโชคชยั เจ้าหนา้ ทีธ่ ุรการ นางจรี ะภา วฒั นกสกิ าร นางสาวอรอนงค์ เนื่องกระโทก ผลการปฏบิ ัติงานที่ดี (Best Practice) ช่อื ผลงาน การติดตามผ้เู รยี นรายบุคคลเพอื่ เพ่ิมผลสมั ฤทธ์ิการทดสอบทางการศกึ ษา 14 ระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
ผลการปฏบิ ัติงานที่ดี (Best Practice) ชอ่ื ผลงาน การติดตามผู้เรียนรายบคุ คลเพ่อื เพ่มิ ผลสัมฤทธ์กิ ารทดสอบทางการศกึ ษา 15 ระดับชาติ ด้านการศกึ ษานอกโรงเรยี น (N-NET)
Search
Read the Text Version
- 1 - 15
Pages: