หน่วยที่ 1 ระบบอวยั วะของรา่ งกาย ครพู นั ธรกั ษ ์ ลำดวนหอม
ระบบกล้ามเนื้อ ระบบกล้ามเนื้อ (Muscular System) เป็นระบบเก่ียวกบั การเคลือ่ นไหวของรา่ งกายของมนุษยท์ ่อี าศัยการทางานร่วมกับ ระบบกระดูก โดยการหดและคลายตวั ของมดั กลา้ มเนอ้ื ในแตล่ ะครั้งนนั้ จะส่งผลให้ กระดกู ขอ้ ต่อ และเอ็นตา่ ง ๆ เกิดการเคลือ่ นไหวและทางานได้ กล้ามเนื้อหวั ใจ กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อเรียบ
ความสาคญั ของระบบกล้ามเนื้อ ๑. ช่วยให้ร่างกายสามารถเคลื่อนไหวได้จากการทางาน ซึ่งในการ เคลื่อนไหวของร่างกายนี้ ต้องอาศยั การทางานของระบบโครง กระดกู และข้อต่อต่างๆ โดยอาศยั การยืดและหดตวั ของกล้ามเนื้อ ๒. ช่วยให้อวยั วะภายในต่างๆ เช่น หวั ใจ ปอด กระเพาะอาหาร ลาไส้ เลก็ ลาไส้ใหญ่ หลอดเลือด ทางานได้ตามปกติและมีประสิทธิภาพ เน่ืองจากการบีบรดั ตวั ของกล้ามเนื้อของอวยั วะดงั กล่าว
ความสาคญั ของระบบกล้ามเนื้อ ๓. ช่วยป้องกนั อวยั วะภายในไม่ให้ได้รบั ความกระทบกระเทือน ๔. เป็นท่ีเกิดพลงั งานของร่างกาย ๕. ผลิตความร้อนให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ซ่ึงความรอ้ นนี้ เกิดจากการหดตวั ของกล้ามเนื้อแล้วเกิดปฏิกิริยาทางเคมี
กล้ามเนื้อลายหรือ กล้ามเนื้อเรียบหรือ กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) กล้ามเนื้อทอี่ ยู่ใต้อานาจ กล้ามเนื้อทีอ่ ยู่นอกอานาจจติ ใจ จติ ใจ(striated muscle or (smooth muscle voluntary muscle) or involuntary muscle)
กล้ามเนื้อลาย เป็นกลา้ มเน้ือ กล้ามเนื้อเรียบ เป็นกลา้ มเน้ือ กล้ามเนื้อหัวใจ ท่ีเกาะติดกบั กระดกู มีลกั ษณะ ท่ีพบในผนงั ของอวยั วะภายใน พบเฉพาะบริเวณหวั ใจเทา่ น้นั มี เป็นแถบลายขาว ๆ ดา ๆ เซลล์ ลกั ษณะเป็นลายขวาง มีหลาย หน่ึงมีหลายนิวเคลียส ทางาน มีลกั ษณะแบนยาวหวั ทา้ ย นิวเคลียส ทางานโดยการควบคุมดว้ ย แหลม เซลลห์ น่ึงมีนิวเคลียส โดยการควบคุมดว้ ยระบบ ระบบประสาทอตั โนมตั ิ ประสาทส่วนกลาง อนั เดียวทางานโดยการควบคุม ดว้ ยระบบประสาทอตั โนมตั ิ
หนา้ ที่และการทางานของกล้ามเนื้อ ระบบกระดกู และระบบกลา้ มเนอื้ ทาหนา้ ทป่ี ระสานงานรว่ มกนั เสมอ โดยอาศัยการทางานของเน้อื เย่อื กลา้ มเน้อื ท่มี ีการหดตวั และขยายตวั
โครงสร้างของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อจะประกอบไปด้วยนา้ ร้อยละ ๗๕ โปรตีนรอ้ ยละ ๒๐ อีกร้อยละ ๕ เปน็ คารโ์ บไฮเดรต ไขมัน และเกลอื ของอนินทรียสาร สามารถแบง่ ออกได้เป็น ๓ ประเภท ดงั น้ี • กลา้ มเนือ้ ลาย (Skeletal muscle) เปน็ เนอ้ื เยอ่ื กลา้ มเนือ้ ท่ีมีเซลล์ ยาวๆ ท่เี รียกวา่ เสน้ ใยกลา้ มเนอ้ื รวมตวั กนั เปน็ มัดกลา้ มเนื้อ และเสน้ ใยกล้ามเน้อื แต่ละเส้นจะมลี กั ษณะเปน็ ทางยาว โดยส่วนท่ีเหมอื น ทรงกระบอกเลก็ ๆ เรียกวา่ ไฟบรลิ (Fibriln) หรือ ไมโอไฟบริล (Myofibriln) เปน็ สว่ นทท่ี าใหเ้ กดิ การหดตวั เมอ่ื เส้นใยไดร้ บั การ กระต้นุ จากกระแสประสาท ในไฟบริลน้นั จะประกอบไปด้วยเส้นใย เล็กๆ จานวนมาก เรยี กวา่ ไมโอฟิลาเมนต์ (Myofilament) ซึ่งประกอบดว้ ย โปรตีน ๒ ชนิด คอื แอกทนิ (Actin)และไมโอซิน (Myosin
มีลายตามขวางตลอดความยาว เกาะติดกบั กระดกู หรือโครงกระดกู ช่วย ทาให้เป็ นรปู ร่างของร่างกายและอยู่ภายใต้อานาจจิตใจหน้าที่เป็ นโครงร่าง ของร่างกาย กล้ามเนื้ อลายนับว่าเป็ นกล้ามเนื้ อท่ีใช้ในการเคลื่อนไหวของ ร่างกายทงั้ หมด เช่น กล้ามเนื้อแขน กล้ามเนื้อขา กล้ามเนื้อ ทรวงอก เป็นต้น และเป็นกล้ามเนื้อที่แขง็ แรงท่ีสุด • การเรยี งตวั ของใยกลา้ มเนอ้ื ในมดั กล้ามเนอื้ ลายมหี ลายแบบ เมอ่ื กล้ามเนอ้ื ลายหดตวั จะสง่ แรงผ่านไปยงั กระดกู ทาให้เกดิ การทางานของขอ้ ต่อขนึ้ แบ่งออกตามบรเิ วณของร่างกาย ได้เปน็ ๔ กลุ่มใหญ่ คือ กล้ามเนอื้ ของศรี ษะ กล้ามเนื้อบรเิ วณ ลาคอ กล้ามเนอ้ื ของลาตวั และกล้ามเนื้อรยางค์
กล้ามเนื้อเรยี บ (Smooth Muscle) • กล้ามเนอ้ื เรยี บ (Smooth muscle) เป็นเนอ้ื เยือ่ กล้ามเนื้อชนิดหนงึ่ ทป่ี ระกอบเป็นสว่ นของกลา้ มเน้อื อวยั วะภายใน โดยมีรูปร่างคลา้ ยกระสวยและส้ันกว่า เสน้ ใยกล้ามเนอื้ ของกลา้ มเนอื้ ลาย ประกอบด้วยเส้นใย ของโปรตนี ชนิดแอกทนิ และไมโอซนิ เหมอื นกบั กลา้ มเนื้อลาย ซง่ึ พบว่ากลา้ มเน้อื เรยี บก็จะถูกกระตุ้น ดว้ ยกระแสประสาทเชน่ เดียวกนั
เป็ นกล้ามเนื้อท่ีมีลกั ษณะเรียบ ไม่มีลาย และไม่อยู่ในอานาจ ของจิตใจเป็นส่วนประกอบของอวยั วะภายในของร่างกาย เช่น กล้าม เนื้อที่หลอดลมปอด กล้ามเนื้อในกระเพาะอาหาร ลาไส้ และมดลกู
กล้ามเนื้อหวั ใจ (Cardiac Muscle) • กล้ามเนอื้ หวั ใจ (Cardiac muscle) เปน็ เนอื้ เยอ่ื กล้ามเนอื้ ลายชนดิ หนึ่งที่อยนู่ อกอานาจจิตใจ ควบคมุ โดย ระบบประสาทอตั โนมตั ิ จากบรเิ วณก้านสมอง (Brainstem) ดว้ ยเสน้ ประสาท จากสมอง ๒ ชนดิ คือ เสน้ ประสาทซมิ พาเธตคิ และเส้นประสาทเวกสั มีลักษณะ เปน็ เซลลร์ ปู ทรงกระบอก มลี ายตามขวางเปน็ แถบสที ึบ สลับกับสจี าง • เซลลก์ ลา้ มเน้อื ตอนปลายของเซลล์จะมกี ารแตกแขนง เพือ่ ไปประสานกบั แขนงของเซลลใ์ กลเ้ คยี ง เซลล์ทงั้ หมด จงึ หดตวั พร้อมกัน และหดตวั และคลายตัวเปน็ จงั หวะ ตลอดระยะเวลาท่ียังมีชีวติ อยู่ โดยกล้ามเน้ือหัวใจจะมี จังหวะการเต้นของหัวใจทสี่ ม่าเสมอ ซ่งึ เกดิ จากการ กระตนุ้ ที่บรเิ วณเฉพาะกลา้ มเนื้อนี้ และจะทาการสร้าง กระแสประสาทในรูปของคล่นื ไฟฟ้า ทาใหอ้ ัตราการเตน้ ของหัวใจต่าลงหรอื เพิม่ ขึ้น ทาหน้าท่ีในการสูบฉีดโลหติ ไป ยงั ระบบไหลเวยี นโลหิต โดยการหดตัวของกลา้ มเนอ้ื
กล้ามเนื้อหวั ใจจะพบท่ีบริเวณหวั ใจและผนังเส้นเลือดดาใหญ่ ที่นาเลือดเข้าส่หู วั ในเท่านัน้
กล้ามเนื้อยดึ ติดกระดูก ได้อย่างไร??? เอน็ ร้อยหวาย กล้ามเนื้อยดึ กระดูก กระดูก เอน็ ยึดระหวา่ งกลา้ มเน้ือกบั กระดกู ตรงน่องและขอ้ เทา้
เรื่องน่ารู้: มหัศจรรย์กล้ามเนื้อ * กลา้ มเน้ือที่กน้ เป็นกลา้ มเน้ือที่มีความแขง็ แรงที่สุดของกลา้ มเน้ือ อื่น ๆ ในร่างกาย * กลา้ มเน้ือที่มีขนาดเล็กที่สุด คือ กลา้ มเน้ือในกระดูกรูปโกลนใน หูช้นั กลาง * กลา้ มเน้ือหวั ใจเป็นกลา้ มเน้ือท่ีมีการหดและคลายตวั ติดตอ่ กนั ได้ ยาวนานมากที่สุดกวา่ กลา้ มเน้ือทุกชนิดของร่างกาย
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอเป็ นประจา พกั ผ่อนให้เพยี งพอ จะช่วยคลายความเม่ือยล้าของกล้ามเนื้อ 18
ทาจติ ใจให้ร่าเริงอยู่เสมอ ระมัดระวงั การบาดเจบ็ กล้ามเนื้อ จากการเล่นกีฬาและอุบตั เิ หตุต่าง ๆ
การสร้างเสริ มและดารงประสิ ทธิ ภาพ การทางานของระบบกล้ามเนื้อ ๑. รบั ประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ๒. ออกกาลงั กายอย่างสมา่ เสมอ ๓. ทาจิตใจให้รา่ เริงแจม่ ใส ๔. ควรมีเวลาพกั ผอ่ นท่ีเพียงพอ ไม่ทางานหนักหรือหกั โหมจนเกินไป ๕. เมื่อเกิดความผิดปกติเก่ียวกบั ระบบกล้ามเนื้อ เช่น มีอาการปวดหลงั เรอื้ รงั กล้ามเนื้อกระตกุ เป็นประจา ควรรบี ไปปรกึ ษาแพทย์
การสร้างเสริ มและดารงประสิ ทธิ ภาพ การทางานของระบบกล้ามเนื้อ ๖. ระมดั ระวงั และป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตุที่ทาให้กลา้ มเนื้อได้รบั อนั ตราย เช่น การรบั แรงกระแทกโดยตรงจนเกิดการฟกชา้ หรอื การถกู กระทบกระแทกอย่างรนุ แรง ๗. ระมดั ระวงั การเล่นกีฬาที่หกั โหมรนุ แรง ท่ีอาจทาให้กล้ามเนื้อ หรือเอ็นกล้ามเนื้อถกู ยืดออก กล้ามเนื้อฉีกขาดซ่ึงเกิดจากการ เคล่ือนไหวอย่างรวดเรว็
หน่วยที่ 1 ระบบอวยั วะของรา่ งกาย
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: