Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาษาไทย ภาษาถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

ภาษาไทย ภาษาถิ่น ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

Published by Krusonya, 2020-08-17 15:40:41

Description: ภาษาไทย ภาษาถิ่น
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

จัดทำโดย
นางสาวยูลียะห์ แม้เร๊าะ
นางสาวโซเฟีย แวมามะ

ครูโรงเรียนบ้านยี่งอ
สพป.นราธิวาส เขต ๑

Keywords: ภาษาไทย,ภาษาถิ่น

Search

Read the Text Version

ช้ั น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี ๖ ภาษาไทย สนุกเรยี น เขยี นอา่ นคลอ่ ง ถิน่ เหนือ ถิน่ กลาง ถน่ิ อีสาน ถ่ินใต้

ภาษาไทย ภ า ษ า ถิ่ น

คำนำ ผลงานนวัตกรรมสื่อการสอนสาหรับชั้นประถมศึกษา ปีที่ 6 เร่ือง ภาษาถิ่น 4 ภาค เป็นสื่อสาหรับใช้การจัดการเรียน การสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ซึ่งผู้จัดทาได้รวบรวม ความรู้เกี่ยวกับความหมายของภาษาถ่ิน ความเป็นมาของภาษา ถิ่น ประเภทของภาษาถิ่น สาเหตุท่ีเกิดภาษาถ่ิน และประโยชน์ ของภาษาถิ่น อีกท้ังยังมีส่ือมัลติมีเดีย อาทิเช่น วีดิทัศน์ ภาพประกอบและตัวอย่างคาภาษาถิ่น ไว้ในผลงานนวัตกรรมนี้ สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้สาหรับผู้ท่ีสนใจนาไปใช้ในการจัดการ เรียนการสอน ผู้ จั ด ท า ห วั ง เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ว่ า น วั ต ก ร ร ม นี้ ค ง เ ป็ น ประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 เป็นอย่างดี หากผิดพลาด ประการใดของอภัย ณ โอกาสนีด้ ว้ ย ผู้จัดทา ยลู ยี ะห์ แมเ้ รา๊ ะ โซเฟยี แวมามะ ก

สำรบญั หน้า เรอ่ื ง ก ข คานา 1 สารบัญ ๑ มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วดั ๒ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๓ ความหมายของภาษาถ่ิน ๕ ความเปน็ มาของภาษาถนิ่ ๗ สาเหตกุ ารเกิดภาษถ่ิน ๘ ประเภทของภาษาถิ่น ๙ ๑๐ • ภาษาถ่ินกลาง ๑๑ • ภาษาถ่ินเหนอื • ภาษาถ่ินอสี าน ข • ภาษาถ่นิ ใต้

สำรบัญ หน้า (ตอ่ ) ๑๒ ๒๔ เรอ่ื ง ๒๖ ๒๗ ตัวอยา่ งภาษาถ่ิน ๒๘ แบบทดสอบ เรือ่ ง ภาษาถิน่ เกณฑก์ ารประเมิน ๓๘ ตวั อยา่ งแบบทดสอบ วดิ โี อตัวอย่างภาษาถิน่ ประวัติผูจ้ ดั ทา ค

มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชีว้ ดั ท ๔.๑ ป.๖/๒ ใชค้ าไดเ้ หมาะสมกบั กาลเทศะและบุคคล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นั ก เ รี ย น มี ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่นิ ได้ ๒. นกั เรยี นสามารถนาความรู้ เร่ือง ภาษาไทย มาตรฐานและภาษาถิ่น ไปประยุกต์ใช้ใน การเรียนได้ ๓. นักเรียนสามารถนาคาภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถ่ินไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ อย่างเหมาะสม ๑

ความหมายภาษาถ่นิ ภาษาถ่ิน หมายถึง ภาษาท่ีใช้อยู่ ในท้อง ถ่ินใดท้องถิ่นหนึ่งของประเทศ ใน ประเทศไทยมภี าษาถนิ่ อสี าน ภาษาถน่ิ ใต้ และ ภาษาถิ่นเหนือท่ีเรียกกันว่า ภาษาล้านนา ภาษาถ่ินเป็นภาษาเดียวกันกับภาษาไทย แต่มี ลักษณะบางอย่างแตกต่างผิดเพี้ยนไปจาก ภาษากลาง และความแตกต่างนั้นมักเป็น ระบบ เช่น คาท่ีภาษากรุงเทพฯ ใช้ ร ภาษา เหนือจะเป็น ฮ เช่น คาว่า รัก เป็น ฮัก คาว่า เรือน เป็น เฮอื น คาวา่ รอ้ ง เป็น ฮอ้ ง เปน็ ต้น ๒

ความเปน็ มาของภาษาถิ่น ภาษาถิ่น เป็นภาษาย่อยท่ีใช้พดู จา กันในท้องถ่ินต่าง ๆ ซึ่งเกิดจากการใช้ภาษา เพื่อการสื่อความหมาย ความเข้าใจกัน ระหว่างผู้คนท่ีอาศัยอยู่ตามท้องถ่ินนั้น ๆ ซึ่ง อาจจะแตกต่างไปจากมาตรฐาน หรือภาษาท่ี คนส่วนใหญ่ของแต่ละประเทศใช้กัน และ อาจจะแตกต่างจากภาษาในท้องถ่ินอื่นทั้ง ทางดา้ นเสียง คาและ การใช้คาภาษาถิ่น เป็น ภาษาท่ีมีลักษณะเฉพาะ ท้ังถ้อยคาและ ส า เ นี ย ง ภ า ษ า ถ่ิ น จ ะ แ ส ด ง ถึ ง เอกลกั ษณ์ ลักษณะความเป็นอยู่ และวถิ ีชีวิต ของผู้คน ในท้องถ่ินของแต่ละภาค ของ ประเทศไทย บางทเี รียกว่า ภาษาท้องถ่นิ ๓

และหากพื้นท่ีของผู้ใช้ภาษานั้นกว้างก็จะมี ภาษาถิ่นหลากหลาย และมีภาถิ่นย่อยๆ ลง ไปอีก เช่นภาษาถิ่นใต้ ก็มีภาษาสงฃลา ภาษา นคร ภาษาตากใบ ภาษาสุราษฎร์ เป็น ต้น ภาษาถ่ินทุกภาษาเป็นภาษาที่สาคัญใน สงั คมไทย เ ป็ น ภ า ษ า ที่ บั น ทึ ก เ รื่ อ ง ร า ว ประสบการณ์ และวัฒนธรรมทุกแขนงของ ท้องถิ่น เราจึงควรรักษาภาษาถ่ินทุกถิ่นไว้ใช้ ให้ถูกต้อง เพ่อื เป็นสมบตั ิมรดกของชาติต่อไป ซึง่ ภาษาถ่ินจะเป็นภาษาพูด หรือ ภาษาท่าทางมากกว่าภาษาเขียนภาษาถ่ินของ ไทยจะแบ่งตาม ภูมิศาสตร์หรือท้องถิ่นที่ผพู้ ูด ภาษา นัน้ อาศัยอย่ใู นภาคตา่ ง ๆ ๔

สาเหตกุ ารเกดิ ภาษาถ่ิน สาเหตุสาคัญ ท่ีทาให้เกิดภาษาถิ่นต่างๆ หรอื ภาษาถนิ่ ย่อยมาน้นั เรืองเดช ปันเขื่อนขัตย์ ไดใ้ ห้เหตผุ ลใหญ่ ๆ อยู่ 3 ประการคอื ๑. ภูมศิ าสตร์อยคู่ นละท้องถิ่น ขาดการไปมา หาสู่ซ่ึงกันและกันเป็นเวลานาน หลายช่ัว อายุคน ถ้าต่างถิ่นต่างไม่ไปมาหาสู่กันเป็น เวลานาน ๆ ทาให้กลุ่มชนชาติไทย รวมทั้งภาษาของกลุ่มเขาเปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นภาษาถิ่นอ่ืน ๆ ซ่ึงไม่เหมือนกัน กับภาษาดั้งเดมิ ในท่สี ดุ ๕

2. กาลเวลาท่ีผ่านไปจากสมัยหน่ึงไปสู่อีก สมัยหน่ึง ทาให้ภาษาเปล่ียนแปลงไป ตามกาลเวลาและตามเทคโนโลยีต่าง ๆ ท่ี เปลี่ยนไป กล่าวคือ มีการเปลี่ยนแปลง คาศัพท์ที่เรียกยากกว่าไปเรียกคาศัพท์ท่ี เรียกง่ายกวา่ กะทัดรัดกว่า 2. อิทธิพลของภาษาอ่ืนที่อยู่ใกล้เคียง ซ่ึง เป็นชนหมู่มากมีอิทธิพลกว่ามีการยืม คาศพั ทจ์ ากภาษาทีม่ ีอทิ ธิพลกว่า ๖

ประเภทของภาษาถนิ่ การแบ่งภาษาถ่ิน ท่ีใช้พูดกันในท้องถ่ิน ต่าง ๆ ของประเทศไทยนั้น ถ้าแบ่งตามความ แตกต่างของภูมิศาสตร์ หรือท้องท่ีท่ีผู้พูดภาษา นน้ั ๆ อาศยั อยู่ อาจแบง่ เปน็ 4 กลุม่ ภาษาถ่นิ กลาง ภาษาถิ่นเหนอื ภาษาถิ่นอีสาน ภาษาถ่ินใต้ ๗

ภาษาถิ่นกลาง ภาษาถ่ินกลาง ท่ีใช้สื่อสารอยู่ในบาง จั ง ห วั ด ข อ ง ภ า ค ก ล า ง เ ช่ น เ พ ช ร บุ รี กาญจนบุรี สุพรรณบุรีราชบุรี นครปฐม อ่างทอง และพระนครศรอี ยุธยา เป็นต้น ภาษาถ่ินที่ใช้สื่อสารอยู่ในจังหวัด เหล่าน้ี มีสาเนียงพูดท่ีแตกต่างกันออกไป จะ มีลักษณะเพี้ยนเสียงไปจากภาษากลางที่เป็น ภาษามาตรฐานภาษาถ่ินกลางนอกจากภาษา ราชการของชาวกรุงเทพฯแล้ว เรายังสามารถ ได้ยินสาเนียงภาษาเหน่อของคนจังหวัด นครปฐม และสุพรรณบรุ ดี ว้ ย ๘

ภาษาถน่ิ เหนือ ภาษาถ่ินเหนือ หรือภาษาถิ่นพายัพ (คาเมือง) ได้แก่ ภาษาถ่ินที่ใช้สื่อสารอยู่ใน บางจังหวัดของภาคเหนือตอนบน หรือภาษา ในอาณาจักรล้านนาเดิม มักจะพูดกันมากใน จังหวัดเชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน เชียงราย พะเยา ลาปาง นา่ น ลาพนู ตาก แพร่ เปน็ ตน้ ภาษาถิ่นเหนือ เป็นภาษาท่ีมีสาเนียงการ ออกเสียงทีโ่ ดดเดน่ นา่ รักไมเ่ หมือนใคร เช่น คาวา่ เดิ๋ก แปลวา่ ดกึ ปวดตอ้ ง แปลวา่ ปวดทอ้ ง วนั พ่กู หมายถึง พรงุ่ นี้ ตนี๋ หมายถึง เทา้ และมักลงท้ายประโยคพูดอย่างอ่อนหวาน ดว้ ยคาว่า “เจ้า” ๙

ภาษาถ่ินอสี าน ภาษาถิ่นอีสาน ของประเทศไทยมี ลักษณะใกล้เคียงกับภาษาท่ีพูดที่ใช้กันใน ประเทศลาว แต่ภาษาอีสานก็ยังถือว่าเป็น ภาษาถิ่นของภาษาไทย ภาษาถ่ินอีสานมี ภาษาถิ่นย่อยหลายภาษา ได้แก่ ภาษาท่ีชน กลุ่มใหญ่ในภาคอีสานใช้พูดจากัน ซ่ึงใช้ ส่ื อ ส า ร อ ยู่ ใ น จั ง ห วั ด ต่ า ง ๆ ข อ ง ภ า ค อีสาน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น สกลนคร หนองคาย นครพนม ขอนแก่น อดุ รธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด เลย ชัยภมู ิ มหาสารคาม กาฬสินธ์ุ เป็นต้น ภาษาถิ่น อสี านกม็ กั เปน็ คาหรอื สาเนยี งท่เี ราไดย้ นิ คนุ้ หู เช่นคาว่า ไปบ่ แปลว่า ไปหรือเปล่า, ชั่วโมง พูดวา่ ซัวโมง, ข้างแรมพูดวา่ เดอื นด๋ับ ฯลฯ ๑๐

ภาษาถ่ินใต้ ภาษาถิ่นใต้ ได้แก่ ภาษาถิ่นที่ใช้ส่ือสาร อยู่ในจังหวัดต่างๆ ของภาคใต้ของประเทศ ไทย ลงไปถึงชายแดนประเทศมาเลเซีย รวม 14 จังหวัด เช่น ชุมพร ระนอง สุ ร า ษ ฎ ร์ ธ า นี ภู เ ก็ ต พั ท ลุ ง ส ง ข ล า นครศรีธรรมราช เป็นต้น ภาษาถิ่นใต้มักจะ เปน็ คาพดู หว้ ๆ ส้นั ๆ เช่น คาวา่ • ตะกร้า พูดวา่ กรา้ • กระทะ พดู ว่า ทะ • ถงั น้า พูดวา่ ทุงน้า • เมษายน พดู วา่ เมษรา เป็นต้น ๑๑

ตวั อยา่ ง ภาษาถิ่น ๑๒

ตวั อยา่ งภาษาถ่ิน คาสวสั ด/ี ทกั ทาย ภ า ค เ ห นื อ ส วั ส ดี เ จ้ า ภาคกลาง ส วั ส ดี ภ า ค อี ส า น ไปไส พ รื อ ภ า ค ใ ต้ ๑๓

ตวั อย่างภาษาถน่ิ การขยับตวั ภ า ค เ ห นื อ ขด การขยับตัวไปดา้ นใดดา้ นหนึ่ง ภาคกลาง เ ห ยิ บ การขยบั ตวั ออกไปด้านใดด้านหนึ่ง (สุโขทัย) ภ า ค อี ส า น ตู้ ด การยกกน้ ขยบั ตัวไปด้านหนา้ ภ า ค ใ ต้ ถด การยกกน้ ขยบั ตัวไปด้านหลงั ๑๔

ตัวอย่างภาษาถ่นิ ยอดเยย่ี ม,ดมี าก ภาคเหนือ ดีประลา่ ประเหลอื ภาคกลาง วา้ ย ดีจริงๆ ภ า ค อี ส า น ปดั โธ่ ! ช่างแม่นเหลือใจ กแู ทห้ นอ ภ า ค ใ ต้ แม่เอ๊ย แม่ และ ฉาดไดแ้ รงอกกูเกนิ นิ ๑๕

ตัวอยา่ งภาษาถ่ิน อร่อย,อรอ่ ยมาก ภาคเหนือ ลาแต้ แต้ ภาคกลาง อร่อยแทๆ้ ภ า ค อี ส า น แซบ่ อีหลี ภ า ค ใ ต้ ฉาดเข้าลึกถึงหัวใจ ๑๖

ตวั อย่างภาษาถ่นิ ฟกั ทอง ภาคเหนือ บะน้าแกว้ , ฟักแกว้ ภาคกลาง ฟกั ทอง ภ า ค อี ส า น บกั อ๊ึ ภ า ค ใ ต้ นา้ เตา้ ๑๗

ตัวอย่างภาษาถน่ิ มะละกอ ภ า ค เ ห นื อ บะกลว้ ยแตด้ ภาคกลาง มะละกอ ภ า ค อี ส า น บกั หุง่ ลอกอ ภ า ค ใ ต้ ๑๘

ตัวอยา่ งภาษาถ่ิน สบั ปะรด บะขะนดั สับปะรด ภ า ค เ ห นื อ บักนัด ภาคกลาง ยานดั ภ า ค อี ส า น ภ า ค ใ ต้ ๑๙

ตัวอย่างภาษาถิน่ ฝรั่ง ภ า ค เ ห นื อ บะแกว (ภาษาท้องถิ่น แพร่) ภาคกลาง ฝร่ัง ภ า ค อี ส า น บักสีดา ภ า ค ใ ต้ ชมพู่ ๒๐

ตวั อยา่ งภาษาถิ่น นอ้ ยหนา่ ภาคเหนือ บะแน , บะนอแน ภาคกลาง น้อยหน่า ภาคอีสาน บกั เขยี บ ภ า ค ใ ต้ น้อยหนา่ ๒๑

ตวั อย่างภาษาถิ่น รองเทา้ เกิบ อีแตะ ภ า ค เ ห นื อ เกบิ ภาคกลาง เกอื ก ภ า ค อี ส า น ภ า ค ใ ต้ ๒๒

มนต์เสนห่ ์ของภาษาถิ่น เสน่ห์ที่สาคัญของภาษาถ่ิน นอกจากจะ ใช้สื่อความหมายกับบุคคลที่อยู่ในท้องถ่ินเดียวกันให้ เข้าใจตรงกันแล้ว ภาษาถ่ินยังมีความโดดเด่นในการ ช่วยรักษาวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ของท้องถิ่นน้ันๆ ไว้ด้วย อาทิ การแสดงโนราห์ของ ภาคใต้ ที่ต้องใช้ภาษาถ่ินใต้ ถ้าเราใช้ภาษาถ่ินอื่น หรือ ภาษากรงุ เทพฯ กจ็ ะไมส่ ื่อ หมดอรรถรสโดยสนิ้ เชิง การศึกษาและเรียนรู้ภาษาถ่ินน้ันนับว่ามี ความสาคัญอย่างย่ิง โดยนอกจากทาให้เราได้สัมผัสกับ ความงดงามของภาษาถ่ินในแต่ละท้องถ่ินแล้ว การท่ี เรารู้และเข้าใจภาษาถิ่น ยังช่วยทาให้เราได้เรียนรู้ วัฒนธรรมท้ังในอดีตและปัจจุบันของแต่ละท้องถ่ินน้ันๆ โดยปริยาย และที่สาคัญยังทาให้ผู้รู้ภาษาถ่ินน้ัน สามารถอ่านศิลาจารึกสมัยก่อนซ่ึงมักมีภาษาถ่ินเขียน ไวไ้ ด้อย่างคล่องแคลว่ ทม่ี า : http://www.ipesp.ac.th/learning/thai/chapter4-2.html ๒๓

แบบทดสอบ เรื่อง ภาษาถ่นิ ๒๔

๒๕

แบบทดสอบ เรือ่ ง ภาษาถนิ่ เกณฑ์การประเมนิ การตอบถกู (คา) 16 – 20 ดีมาก 11 - 15 ดี 6 - 10 พอใช้ 1 -5 ปรบั ปรุง ๒๖

ตวั อย่าง เน้อื เพลง : น้องเป็นสาวขอนแก่นยังบ่เคยมีแฟนบ้าน อยแู่ ดนอสี าน ภาษาถน่ิ : บเ่ คย = ? เฉลย ภาษาถนิ่ : บ่เคย = ไม่เคย ๒๗

ตัวอย่างเพลงภาษาถน่ิ ท่มี าของเพลง : https://www.youtube.com/watch?v=6gQ95IBolvk ๒๘

ข้อท่ี ๑ เนือ้ เพลง : ข้าเจ้า เป็นสาวเจียงใหม่ แหมบ่เต้าใดก็จะเป็นสาว แลว้ ตึงวนั น้ีบา่ วมาแอ่วมาอมู้ าแจว เป็นคนละปูน... ภาษาถ่นิ : ขา้ เจา้ = ? เจยี งใหม่ = ? บเ่ ต้าใด = ? ตึง = ? บ่าว = ? แอว่ = ? อู้ = ? แจว = ? คนละปูน = ? ๒๙

ตวั อย่างเพลงภาษาถน่ิ ขอ้ ที่ ๑ ท่มี าของเพลง : https://www.youtube.com/watch?v=ZmTXdbUDitk ๓๐

ขอ้ ท่ี ๑ เน้ือเพลง : ข้าเจ้า เป็นสาวเจียงใหม่ แหมบ่เต้าใดก็จะเป็นสาว แลว้ ตงึ วันนี้บ่าวมาแอว่ มาอมู้ าแจว เปน็ คนละปนู ... เฉลย ภาษาถนิ่ : ข้าเจา้ = ฉัน เจยี งใหม่ = เชียงใหม่ บเ่ ต้าใด = ไม่เท่าไร ตงึ = ถึง บา่ ว = ชายหนุ่ม แอว่ = เทีย่ ว อู้ = พูดคุย แจว = แซว คนละปูน = คนลาพนู ๓๑

ขอ้ ที่ ๒ เนือ้ เพลง : คาว่าฮักเกิดข้ึนที่ใด เกิดกับไผมันบ่สาคัญ มันจะอยู่ตรงน้ัน บ่หายตามกาลเวลา วา่ สิผ่านมาดนปานใด๋ ในหัวใจบ่เคยร้าง ลา ยังจดจาทุกถอ้ ยวาจา ท่เี ฮาเวา้ ตอ่ กัน ภาษาถ่ิน : ฮกั = ? ไผ = ? บส่ าคัญ = ? บ่หาย = ? ปานใด๋ = ? บ่เคย = ? เฮา = ? เว้า = ? ๓๒

ตวั อย่างเพลงภาษาถน่ิ ขอ้ ที่ ๒ ท่มี าของเพลง : https://www.youtube.com/watch?v=ScjUtiD_akg ๓๓

ข้อท่ี ๒ เน้อื เพลง : คาว่าฮักเกิดขึ้นที่ใด เกิดกับไผมันบ่สาคัญ มันจะอยู่ตรงน้ัน บ่หายตามกาลเวลา วา่ สิผ่านมาดนปานใด๋ ในหัวใจบเ่ คยร้าง ลา ยังจดจาทุกถอ้ ยวาจา ท่ีเฮาเว้าต่อกนั เฉลย ภาษาถ่ิน : ฮัก = รกั ไผ = ใคร บ่สาคัญ = ไมส่ าคญั บห่ าย = ไม่หาย ปานใด๋ = แค่ไหน บเ่ คย = ไมเ่ คย เฮา = เรา เว้า = พดู ๓๔

ขอ้ ที่ ๓ เนอ้ื เพลง : ไมร่ อู้ ทิ าพรือไดแ้ ค่หยบแล เขา้ แค่ แค่ กไ็ ม่กลา้ รักเกิดจากใจ อยากให้ รวู้ ่า เวลาเหน็ หนา้ แล้วมนั ตื่นเตน้ ได้แต่มองแลว้ เดินผ่านไป ไมโ่ ร้ตอใด ไดบ้ อกให้ฟัง ว่าใครคนหน่ึงชอบเธอจงั แตภ่ าพของฉนั ไม่น่ามอง ภาษาถ่ิน : =? ไม่รอู้ ทิ าพรือ =? แค่ แค่ =? ไม่โรต้ อใด ๓๕

ตวั อยา่ งเพลงภาษาถิ่น ขอ้ ที่ ๓ ท่มี าของเพลง : http://youtube.com/watch?v=O4LPMp1qTSg ๓๖

ข้อท่ี ๓ เนื้อเพลง : ไมร่ ้อู ทิ าพรอื ไดแ้ ค่หยบแล เขา้ แค่ แค่ ก็ไม่กลา้ รกั เกดิ จากใจ อยากให้ ร้วู า่ เวลาเห็นหน้าแล้วมนั ตนื่ เตน้ ได้แต่มองแลว้ เดินผ่านไป ไมโ่ ร้ตอใด ไดบ้ อกใหฟ้ งั ว่าใครคนหนง่ึ ชอบเธอจงั แตภ่ าพของฉนั ไม่นา่ มอง เฉลย ภาษาถนิ่ : = ไม่รูจ้ ะทาอย่างไร ไม่รู้อทิ าพรอื = ใกล้ๆ แค่ แค่ = ไม่รตู้ อนไหน ไม่โรต้ อใด ๓๗

ประวัติผ้จู ดั ทา นางสาวยูลียะห์ แมเ้ รา๊ ะ นางสาวโซเฟยี แวมามะ ครูชานาญการโรงเรียนบา้ นยีง่ อ ครูผู้ชว่ ยโรงเรียนบา้ นยี่งอ กลมุ่ สาระฯ คณิตศาสตร์ กลุม่ สาระฯ ภาษาไทย E-mail : E-mail : [email protected] [email protected] โรงเรียนบ้านยี่งอ สานักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานราธิวาส เขต ๑ ๓๘


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook