Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่1 ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร

บทที่1 ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร

Published by titima chatri, 2021-10-14 13:45:59

Description: บทที่1 ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร

Search

Read the Text Version

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อาหาร วิชางานถนอมอาหาร (ง 21204 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางปรียา หนูเอียด โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง

คำ นำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การถนอมอาหาร เป็นชุดกิจกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจและตามโอกาส ทำให้เกิดการเรียนรู้มี ประสบการณ์ในการทำงานตามขั้นตอนและกระบวนการ ทำงานด้วย ความมีประสิทธิภาพประกอบด้วยทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ชุดที่ 2 เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้ในการถนอมอาหารได้ ชุดที่ 3 เรื่อง การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย ชุดที่ 4 เรื่อง การถนอมอาหารในท้องถิ่น ชุดการสอนที่ 4.1 เรื่อง การทำกล้วยตาก ชุดการสอนที่ 4.2 เรื่อง การทำไข่เค็มสมุนไพร ชุดการสอนที่ 4.3 เรื่อง การทำกล้วยเชื่อม ชุดการสอนที่ 4.4 เรื่อง การทำสับปะรดกวน ชุดการสอนที่ 4.5 เรื่อง การทำมะม่วงแช่อิ่ม ชุดการสอนที่ 4.6 เรื่อง การทำมันฉาบ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การ ถนอมอาหาร เล่มนี้คงเอื้อประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจเป็น อย่างดี ปรียา หนูเอียด

ส า ร บั ญ คำ นำ ก ส า ร บั ญ ข คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ ค รู ค คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น จ ขั้ น ต อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ฉ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น 1 1 ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้ / ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ / ส ม ร ร ถ น ะ 3 4 ส า ร ะ สำ คั ญ 5 ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ 9 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 11 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น แ ล ะ ห ลั ง เ รี ย น 14 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม 15

คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ก า ร ดำ เ นิ น ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ ล ะ เ อี ย ด 2. จัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน นักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีการคละกัน ทั้งเก่ง ปานกลาง และ อ่อน เพื่ อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือกันและมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยมีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่ อฝึกการทำงานร่วมกันเป็นทีม 3. เตรียมเอกสาร สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการเรียนรู้ใน แต่ละกิจกรรมให้ครบถ้วนและเพี ยงพอต่อจำนวนของ นั ก เ รี ย น 4. ศึกษาเอกสาร วิธีการใช้สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการ เรียนรู้ รวมทั้งเกณฑ์การวัดและ การประเมินผล ให้มีความ เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ก่ อ น นำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 5. ทดลองอุปกรณ์ทุกชนิดก่อนการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น 6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่ กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้เพื่ อให้นักเรียนเกิดการ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 7. อธิบายหรือชี้แจงวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท ร า บ บ ท บ า ท ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ร ง กันในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ โดย เน้นให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ไม่คัดลอกเพื่ อน หรือให้ เพื่ อนทำให้หรือดูคำตอบก่อนในการทำชุดกิจกรรมการ เ รี ย น รู้

คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 8. กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในการปฏิบัติงานกลุ่ม และงานรายบุคคล และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ นั ก เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ห รื อ เ ป็ น ร า ย ก ลุ่ ม อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ใ น บ า ง กิ จ ก ร ร ม อ า จ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ป ศึ ก ษ า ห รื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง น อ ก เ ว ล า เ รี ย น ไ ด้ 9. ครูคอยดูแล ชี้แนะ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรียนใน ขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งคอยสังเกตการณ์ ทำงานนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด หากนักเรียนคนใดมี ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ไม่เข้าใจเนื้อหา ครูควรเข้าไปช่วย เ ห ลื อ ทั น ที 10. เวลาที่ใช้ในการเรียนหรือทำกิจกรรมจากชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ของแต่ละคน อาจไม่เท่ากัน ครูผู้ควบคุมควรยืดหยุ่น ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม 11. นักเรียนและครูร่วมอภิปราย เฉลย และตรวจคาตอบ ในแต่ละกิจกรรมหรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับ นักเรียน เพื่ อให้นักเรียนได้ข้อสรุปและคาตอบที่ถูกต้อง ชัดเจนยิ่งขึ้นตามกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้ทราบ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ต น เ อ ง 12. ถ้านักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70 ของคะแนนในแต่ละชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ให้นักเรียน ซ่ อ ม เ ส ริ ม น อ ก เ ว ล า เ รี ย น จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ นั้ น จ น ก ว่ า จ ะ ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ 13. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนทั้งราย ก ลุ่ ม ห รื อ ร า ย บุ ค ค ล ใ น ทุ ก กิ จ ก ร ร ม 14. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการทำแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หลัง จ า ก ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เ ส ร็ จ สิ้ น ทั้ ง ห ม ด

คำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน คำ ชี้ แ จ ง 1 . ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ชั้น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร มี ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ดั ง นี้ 1 . 1 แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น 1 . 2 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รีย น รู้ 1 . 3 กิ จ ก ร ร ม เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถนอมอาหาร 1 . 4 แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ 1 . 5 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 1 . 6 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ห ลั ง เ รีย น 2 . ก่ อ น ศึ ก ษ า ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น เ พื่ อ วั ด ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น 3 . ศึ ก ษ า จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ส า ร ะ สำ คั ญ เ นื้ อ ห า ใ น ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร เ รีย น จ บ แ ล้ ว ใ ห้ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 4 . ต ร ว จ คำ ต อ บ จ า ก เ ฉ ล ย เ พื่ อ เ ป รีย บ เ ที ย บ พั ฒ น า ก า ร ท า ง ก า ร เ รีย น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ จ ะ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง พั ฒ น า ก า ร ท า ง ด้ า น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้ า ใ จ จ า ก เ รื่ อ ง ที่ ศึ ก ษ า

ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ 1. ชี้แจงชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3. นำเข้าสู่บทเรียน 4. กิจกรรมการเรียนรู้ 5. สรุป 6. ทำแบบทดสอบหลังเรียน 7. ผ่านเกณฑ์ ศึกษาชุดกิจกรรม การ เรียนรู้ชุดต่อไป ไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่อม

แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่1 คำชี้แจง เรื่องความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วทำเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบ (ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1.ข้อใดคือความหมายของการถนอมอาหาร. ก. วิธีการต่างๆที่ทำให้อาหารประเภทพืชและสัตว์เก็บได้นานกว่าปกติโดยไม่บูดเสีย คงสภาพใกล้เคียง กับของสดมากที่สุด ข. กรรมวิธีต่างๆ ที่ทำให้อาหารอยู่ในสภาพใกล้เคียงกับของสดมากที่สุด ค. กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหารเพื่อให้อาหารนั้นมีรูปร่าง รสชาติ แปลกใหม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเกิดเป็นชนิดใหม่ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 2.ชาวตะวันตกที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์ชื่อว่า อะไร. ก. ไมเคิลจอน ข. นิโคลาสแซร์แวส ค. เซอร์จอนเบาริ่ง ง. นิโคบาส 3.บุคคลในข้อ 2 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับอาหารคือเรื่องใด. ก. ในน้ำมีปลาในนามีข้าว ข. ประเทศสยามมีอาหารการกินเป็นจำนวนมาก ค. คนไทยไม่นิยมกินปลาสด ง. คนไทยนิยมการถนอมอาหารที่เหลือจากการรับประทาน 4.จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ระบุว่าชาวอินเดีย แดงได้รู้จักการถนอมอาหารวิธีแรกในข้อใด. ก. การตากแห้ง ข. การเชื่อม ค. การรมควัน ง. การดอง

5.กะปิและปลาร้าเป็นการถนอมอาหารด้วยวิธีการใด. ก. การหมัก ข. การดอง ค. การรมควัน ง. การตากแห้ง 6.กะปิทำมาจากสัตว์ในข้อใด. ก. ปรากระดี่ ข. ปลาช่อน ค. กุ้งเคย ง. ปลาหมอ 7.คนไทยเรียกปลาร้าแต่ฝรั่งเรียกในข้อใด. ก. ปลาเหม็น ข. ปลาเน่า ค. ปลาแห้ง ง. ปลารมควัน 8. เหตุใดจึงมีการถนอมอาหาร ก. เพิ่มผลผลิตให้เกษตรกร ข. ต้องการอาหารรสแปลก ๆ ค. ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้ ง. ต้องการเก็บรักษาอาหารไว้นาน ๆ 9. ข้อใดคือประโยชน์ของการถนอมอาหาร ก. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหารไปในท้องถิ่นที่ไม่มีอาหารชนิดนั้นๆ ข. ช่วยยืดอายุการเก็บอาหารไว้ได้นาน ประหยัดค่าใช้จ่ายมีอาหารนอกฤดูกาล ค. ใช้อาหารที่มากรับประทานไม่หมดให้เกิดประโยชน์ลดปัญหาการขาดแคลนอาหาร ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือคุณสมบัติของการถนอมอาหาร. ก. ช่วยเพิ่มคุณค่าทางอาหาร ข. เป็นการแปรรูปอาหารทำให้อยู่ได้นาน ค. มีวิธีการถนอมอาหารหลายวิธี ง. ช่วยให้อาหารมีรสชาติดีขึ้น

เรื่อง ความรู้เบื้องต้น ชุดกิจกรรม ของการถนอมอาหาร การเรียนรู้ ชุดที่1 1.ผลการเรียนรู้ นักเรียนสามารถบอกความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหารได้ 2.จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้ (KNOWLEDGE) - บอกความเป็นมาของการถนอมอาหารได้ - บอกความหมายของการถนอมอาหารได้ - บอกความสำคัญและประโยชน์ของการถนอมอาหารได้ - บอกวิธีการถนอมอาหารแบบต่างๆได้ 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (PROCES ) - มีทักษะ กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน - มีทักษะในการแสวงหาความรู้เรื่องความรู้เบื้องต้นของ การถนอมอาหาร 2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ATTITUDE) - มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวประกอบอาชีพ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน - ซื่อสัตย์สุจริต 3.สมรรถนะ 3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.2 ความสามารถในการคิด 3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา

ส า ร ะ สำ คั ญ ความเป็นมาของการถนอมอาหาร มนุษย์รู้ถึงความจำเป็นของการถนอมอาหารมานานตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว และ พยายามหาวิธีการต่างๆที่จะเก็บอาหารไว้รับประทานได้นานๆในเวลาที่ขาดแคลน หรือใน ยามต้องย้ายที่อยู่ไปยังที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าเดิม การค้นพบวิธีการต่างๆใน สมัยโบราณนั้นมักเกิดจากความบังเอิญ เริ่มต้นจากมนุษย์บังเอิญรู้วิธีการทำให้เกิดไฟ และนำมาใช้ประโยชน์ในการดำรงชีวิต จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ระบุว่าชนพื้นเมือง อินเดียนแดงรู้จักและใช้วิธีการตากแห้งอาหารมาก่อนที่ชาวผิวขาวจะเข้ามารุกรานส่วน ในทวีปเอเซียปรากกฎหลักฐานการทำนมผง (Dried mik)มากกว่า 700 ปีมาแล้วซึ่งนิโค ลาสแซร์แวส ชาวฝรั่งเศสซึ่งเดินทางเข้ามาในประเทศไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยาได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับอาหารการกินของคนไทยไว้ว่าคน ไทยไม่นิยมกินปลาสด มักคิดค้นหาทางแปรรูปปลาให้เปลี่ยนสภาพใหม่ที่สามารถเก็บไว้ กินนาน ยังกล่าวถึงวิธีการถนอมอาหารอันเกิดจากภูมิปัญญาไทยอีกอย่างหนึ่งนั่นคือ การทำกะปิกุ้งเน่า หรือกุ้งป่นเปียกในบันทึกของชาวตะวันตกผู้นี้ หมายถึงกะปิเป็นการ ถนอมอาหารด้วยวิธีการหมักทำจากกุ้งเคยซึ่งเป็นกุ้งน้ำเค็มที่มีขนาดเล็กมากและมีเป็น จำนวนมากในท้องทะเลรูปร่างคล้ายกุ้งฝอยและซีมอง เดอ ลาลุแบร์ ราชทูตของพระเจ้า หลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส เดินทางเข้ามาในประเทศไทยในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ มหาราชได้บันทึกเรื่องราวว่า ชาวไทยสมัยอยุธยานิยมทำปลาร้าจากปลากระดี่ และปลา อุต อาจเพี้ยนมาจากปลาดุกฝรั่งเรียกกันว่าปลาเน่า คนไทยเรียกว่าปลาร้า การถนอมอาหารแบบไทยเกิดจากภูมิปัญญาในการใช้วัตถุดิบและสิ่งแวดล้อม เป็นเครื่องมือสำคัญต่อมาความเจริญก้าวหน้าในด้านความรู้ทางจุลชีววิทยาเคมีและ ฟิสิกส์มีมากขึ้นมนุษย์จึงนำเอาเทคโนโลยีที่ศึกษาที่ค้นพบได้นำมาใช้ในการเก็บรักษา อาหาร กล่าวคืออาจลดจำนวนน้ำ ความชื้นที่มีอยู่ในอาหารให้มากที่สุดเพื่อช่วยยับยั้ง การเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์อันเป็นสาเหตุของการเน่าเสียได้

ความหมายของการ ถนอมอาหาร การถนอมอาหาร หมายถึง การเก็บรักษาอาหารหรือแปรรูปอาหาร ทำให้อยู่ได้นานโดยไม่บูดเสีย และผลของการถนอมอาหารจะช่วยยืด อายุอาหาร การเปลี่ยนแปลงทั้งในด้านสี กลิ่น รส เนื้อ สัมผัส และ ยังคง คุณค่าทางโภชนาการของอาหารไว้ การถนอมอาหารเป็นกระบวนการ ของการแปรรูป ด้วยวิธีหลายอย่างได้แก่ การดอง การแช่อิ่ม การตาก แห้งและการเชื่อม เป็นต้น ความสำคัญของการ ถนอมอาหาร 1. ช่วยบรรเทาความขาดแคลนอาหาร เช่นการเก็บรักษา และแปรรูป อาหารในยามสงคราม เกิดภัยธรรมชาติ เกิดภาวะแห้งแล้งผิดปกติ 2. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหาร เพราะในบางประเทศผลิตอาหารไม่ เพียงพอต่อความต้องการของประชากรได้ จึงจำเป็นต้องอาศัยอาหาร จากแหล่งผลิตอื่น 3. ช่วยให้มีอาหารบริโภคนอกฤดูกาล เช่นเมื่อพ้นฤดูการผลิตของ การเกษตรนั้นๆ ไปแล้ว ก็ยังสามารถนำผลิตภัณฑ์ที่เก็บไว้มาบริโภคได้ 4. ใช้อาหารเหลือให้เกิดประโยชน์ เช่น กระบวนการแปรรูปผลผลิต การเกษตรจะมีวัตถุดิบเหลือทิ้ง ซึ่งเราสามารถนำส่วนที่เหลือนั้นมา แปรรูปเก็บไว้เป็นอาหารได้ 5. ช่วยให้เกิดความสะดวกในการขนส่ง โดยที่อาหารไม่เน่าเสีย สามารถพกพาไปที่ห่างไกลได้ 6. ช่วยยืดอายุการเก็บอาหารไว้ให้ได้นาน เพราะอาหารที่ผ่านการ แปรรูปเพื่อการถนอมอาหารไว้จะมีอายุการเก็บที่ยาวนานกว่าอาหารสด 7. ช่วยเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร และลดปัญหาผลผลิตล้น ตลาด

ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ถนอมอาหาร 1. ทำให้มีอาหารรับประทานทั้งในเวลาปกติและเวลาที่ขาดแคลน หรือนอกฤดูกาลของอาหารนั้น 2. เป็นการประหยัดทรัพยากรธรรมชาติและรายจ่ายเนื่องจากมี อาหารสดตามฤดูกาลมาก จนรับประทานไม่ทัน ถ้าปล่อยไว้จะเกิด อาการเน่าเสียตามธรรมชาติ แต่ถ้านำมาถนอมไม่ให้เน่าเสีย จะ สามารถเก็บอาหารนั้นไว้รับประทานในเวลาทีอาหารมีราคาแพงหรือ หายากเมื่ออยู่นอกฤดูกาลได้ 3. ทำให้ได้รับประทานอาหารที่มีรูปลักษณะและรสชาติที่แปลก ออกไป เช่น ผลไม้กระป๋อง และผลไม้กวน 4. ทำให้เกิดการกระจายอาหารไปยังชุมชนที่มีความอดอยาก หรือขาดแคลนอย่างทั่วถึง 5. ทำให้มนุษย์สามารถควบคุมผักและผลไม้ให้สุกได้ตามเวลาที่ ต้องการโดยใช้เทคโนโลยีทางอาหาร 6. ทำให้เกิดอาชีพ และการเพิ่มพูนรายได้จากการอุตสาหกรรม การถนอมอาหารเพื่อการค้าขาย

วิธีการ ถนอม อาหาร การตากแห้ง เป็นวิธีที่ง่ายและประหยัดมากที่สุดใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้ อสัตว์ ผัก และผลไม้ เป็นวิธีง่ายและ ประหยัดมากที่สุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้ อสัตว์ ผัก และผลไม้ เป็นวิธีที่ทำให้อาหารหมดความชื้น หรือมีความชื้นอยู่เพียงเล็กน้อย เพื่ อไม่ให้จุลินทรีย์ สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตได้ ทำให้ อาหารไม่เกิดการบูดเน่า โดยการนำน้ำหรือความชื้นออกจากอาหารให้มากที่สุดเช่น ปลาเค็ม กล้วย ตาก เป็นต้น การดอง การถนอมอาหารโดยการดองด้วยการใช้จุลินทรีย์บางชนิดที่ไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์ โดย จุลินทรีย์ นั้นจะสร้างสารบางอย่างขึ้นมาในอาหาร ซึ่งสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ตัวอื่ นๆได้ ดังนั้นผลของการหมักดองจะทำให้อาหารปลอดภัยจากจุลินทรีย์ชนิดอื่ นๆและยังทำให้ เกิดอาหารชนิดใหม่ๆ ที่มีลักษณะแตกต่างไปจากเดิม เป็นการเพิ่มกลิ่น และรสชาติของอาหารให้ แปลกออกไป การกวน การที่นำเนื้ อผลไม้ที่สุกแล้วผสมกับน้ำตาล โดยใช้ความร้อน เพื่ อกวนผสมให้กลมกลืนกัน โดยมีรสหวาน และให้เข้มข้นขึ้น การเชื่อม เป็นการเพิ่มปริมาณน้ำตาลในอาหารให้สูงขึ้น โดยใช้ความร้อนทำให้อาหารสุก และน้ำตาลซึมผ่าน เข้าไปในเนื้ ออาหาร อาหารจะไม่เหี่ยวย่น และเก็บไว้ได้นานน้ำตาลเป็นสารถนอมที่ช่วยยับยั้งการ เ จ ริญ เ ติ บ โ ต ข อ จุ ลิ น ท รีย์ การแช่อิ่ม วิ ธีก า ร นำ อ า ห า ร ม า แ ช่ใ น น้ำ เ ชื่ อ ม แ ล ะ เ พิ่ ม ค ว า ม เ ข้ ม ข้ น ข อ ง น้ำ ต า ล จ น อิ่ ม ตั ว การฉาบ เป็นการนำผักผลไม่ที่ทอดแล้ว ฉาบในน้ำเชื่อมที่เคี่ยวจนเป็นเกล็ดผสมคลุกจนน้ำเชื่อมเกาะเป็น เกร็ดอยู่บนผิวอาหาร

กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (WARM UP) 1. ครูนำรูปภาพการถนอมอาหารวิธีการต่างๆ ให้นักเรียนดู แล้วซักถาม พู ดคุย 2. ครูถามนักเรียนถึงประโยชน์ ความสำคัญ วิธีการของการถนอมอาหาร ชนิดของ อาหารที่ผ่านการถนอมอาหารแล้ว เพื่ อสำรวจความคิดเห็นและได้ทราบความรู้พื้ นฐานของ ผู้เรียน ขั้นฝึกปฏิบัติ (PRACTICE) 3. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) จำนวน 10 ข้อ เวลา 10 นาที 4. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4–5 คน ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการถนอมอาหาร จากชุด กิจกรรมการเรียน ชุดที่ 1 เรื่องความรู้เบื้ องต้นของการถนอมอาหารในหัวข้อ - ความเป็นมาของการถนอมอาหาร - ความหมายของการถนอมอาหาร - ความสำคัญของการถนอมอาหาร - ประโยชน์ของการถนอมอาหาร - วิธีการถนอมอาหาร 5. นักเรียนแสดงความคิดเห็นและระดมความรู้แต่ละหัวข้อที่ศึกษามาในการทำแบบ ฝึ ก หัด ร่ว ม กั น 6. นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมองช่วยกันวิเคราะห์แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ ชนิดของ อาหารถนอมที่นักเรียนรู้จักและการถนอมอาหารในท้องถิ่นตนเองเพื่ อวางแผนการถนอม อาหารต่อไป ขั้นสรุป (WRAP UP) 7. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปเป็นแผนที่ความคิด 8. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความรู้เบื้ องต้นของการถนอมอาหารจากนั้นครูเปิด โอกาสให้นักเรียนซักถามข้อสงสัย

แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่1 คำชี้แจง เรื่องความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ให้นักเรียนเลือกข้อที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วทำเครื่องหมาย (X) ลงในกระดาษคำตอบ (ใช้เวลา 10 นาที คะแนนเต็ม 10 คะแนน) 1.ข้อใดคือความหมายของการถนอมอาหาร. ก. วิธีการต่างๆที่ทำให้อาหารประเภทพืชและสัตว์เก็บได้นานกว่าปกติโดยไม่บูดเสีย คงสภาพใกล้เคียง กับของสดมากที่สุด ข. กรรมวิธีต่างๆ ที่ทำให้อาหารอยู่ในสภาพใกล้เคียงกับของสดมากที่สุด ค. กระบวนการที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงคุณลักษณะของอาหารเพื่อให้อาหารนั้นมีรูปร่าง รสชาติ แปลกใหม่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมเกิดเป็นชนิดใหม่ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 2.ชาวตะวันตกที่เดินทางเข้ามาในประเทศไทยสมัยสมเด็จพระนารายณ์ชื่อว่า อะไร. ก. ไมเคิลจอน ข. นิโคลาสแซร์แวส ค. เซอร์จอนเบาริ่ง ง. นิโคลาส แซร์แวส 3.บุคคลในข้อ 2 ได้บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับอาหารคือเรื่องใด. ก. คนไทยนิยมการถนอมอาหารที่เหลือจากการรับประทาน ข. คนไทยไม่นิยมกินปลาสด ค. ประเทศสยามมีอาหารการกินเป็นจำนวนมาก ง. ในน้ำมีปลาในนามีข้าว 4.จากบันทึกทางประวัติศาสตร์ของประเทศสหรัฐอเมริกาได้ระบุว่าชาวอินเดีย แดงได้รู้จักการถนอมอาหารวิธีแรกในข้อใด. ก. การดอง ข. การเชื่อม ค. การรมควัน ง. การตากแห้ง

5.กะปิและปลาร้าเป็นการถนอมอาหารด้วยวิธีการใด. ก. การหมัก ข. การดอง ค. การรมควัน ง. การตากแห้ง 6.กะปิทำมาจากสัตว์ในข้อใด. ก. กุ้งเคย ข. ปลาช่อน ค. ปรากระดี่ ง. ปลาหมอ 7.คนไทยเรียกปลาร้าแต่ฝรั่งเรียกในข้อใด. ก. ปลาเหม็น ข. ปลาแห้ง ค. ปลาเน่า ง. ปลารมควัน 8. เหตุใดจึงมีการถนอมอาหาร ก. เพิ่มผลผลิตให้เกษตรกร ข. ต้องการอาหารรสแปลก ๆ ค. ช่วยให้เกษตรกรมีรายได้ ง. ต้องการเก็บรักษาอาหารไว้นาน ๆ 9. ข้อใดคือประโยชน์ของการถนอมอาหาร ก. ช่วยให้เกิดการกระจายอาหารไปในท้องถิ่นที่ไม่มีอาหารชนิดนั้นๆ ข. ช่วยยืดอายุการเก็บอาหารไว้ได้นาน ประหยัดค่าใช้จ่ายมีอาหารนอกฤดูกาล ค. ใช้อาหารที่มากรับประทานไม่หมดให้เกิดประโยชน์ลดปัญหาการขาดแคลนอาหาร ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดคือคุณสมบัติของการถนอมอาหาร. ก. เป็นการแปรรูปอาหารทำให้อยู่ได้นาน ข. ช่วยให้อาหารมีรสชาติดีขึ้น ค. มีวิธีการถนอมอาหารหลายวิธี ง. ช่วยเพิ่มคุณค่าทางอาหาร

บรรณานุกรม การถนอมอาหาร.สืบค้นจากเวปไซต์https://th.wikipedia.org/wiki/.วันที่สืบค้น 4 พฤษภาคม 2562. ความหมายของการถนอมอาหาร.สืบค้นจากเวปไซต์https://pirun.ku.ac.th/.วันที่สืบค้น 4 พฤษภาคม 2562. ยุทธ ไกยวรรณ์และคณะ.2522.หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นานการงานอาชีพและเทคโนโลยีชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1. พิมพ์ครั้งที่ 2 บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ(วพ.)จำกัด,กรุงเทพฯ. วิธีการถนอมอาหาร.สืบค้นจากเวปไซต์ http://www. http://signuphowto.blogspot.compost วันที่สืบค้น4 พฤษภาคม 2562.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook