ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่4.3 เ รื่ อ ง ก า ร ทำ ก ล้ ว ย เ ชื่ อ ม วิชางานถนอมอาหาร (ง 21204 ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางปรียา หนูเอียด โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง สำนักงานเขตพื้ นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง
คำ นำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การถนอมอาหาร เป็นชุดกิจกรรม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งเป็นชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจและตามโอกาส ทำให้เกิดการเรียนรู้มี ประสบการณ์ในการทำงานตามขั้นตอนและกระบวนการ ทำงานด้วย ความมีประสิทธิภาพประกอบด้วยทั้งหมด 4 ชุด ดังนี้ ชุดที่ 1 เรื่อง ความรู้เบื้องต้นของการถนอมอาหาร ชุดที่ 2 เรื่อง อุปกรณ์เครื่องใช้ในการถนอมอาหารได้ ชุดที่ 3 เรื่อง การบันทึกผลการปฏิบัติงานและการทำบัญชี รายรับ-รายจ่าย ชุดที่ 4 เรื่อง การถนอมอาหารในท้องถิ่น ชุดการสอนที่ 4.1 เรื่อง การทำกล้วยตาก ชุดการสอนที่ 4.2 เรื่อง การทำไข่เค็มสมุนไพร ชุดการสอนที่ 4.3 เรื่อง การทำกล้วยเชื่อม ชุดการสอนที่ 4.4 เรื่อง การทำสับปะรดกวน ชุดการสอนที่ 4.5 เรื่อง การทำมะม่วงแช่อิ่ม ชุดการสอนที่ 4.6 เรื่อง การทำมันฉาบ ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การ ถนอมอาหาร เล่มนี้คงเอื้อประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้ที่สนใจเป็น อย่างดี ปรียา หนูเอียด
ส า ร บั ญ ก ข คำ นำ ค ส า ร บั ญ จ คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ส า ห รั บ ค รู ฉ คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ นั ก เ รี ย น 1 ขั้ น ต อ น ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 2 แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น 1 ม า ต ร ฐ า น ก า ร เ รี ย น รู้ / ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ / ส ม ร ร ถ น ะ 3 ส า ร ะ สำ คั ญ 6 ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ 13 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รี ย น 14 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รี ย น แ ล ะ ห ลั ง เ รี ย น 15 บ ร ร ณ า นุ ก ร ม
คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 1. ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ขั้ น ต อ น ก า ร ดำ เ นิ น ก า ร ใ น แ ต่ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ ใ ห้ ล ะ เ อี ย ด 2. จัดชั้นเรียนโดยแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มๆละ 4 – 5 คน นักเรียนในแต่ละกลุ่ม มีการคละกัน ทั้งเก่ง ปานกลาง และ อ่อน เพื่ อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือกันและมีการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน โดยมีการผลัดเปลี่ยนกันเป็นหัวหน้ากลุ่ม เพื่ อฝึกการทำงานร่วมกันเป็นทีม 3. เตรียมเอกสาร สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการเรียนรู้ใน แต่ละกิจกรรมให้ครบถ้วนและเพี ยงพอต่อจำนวนของ นั ก เ รี ย น 4. ศึกษาเอกสาร วิธีการใช้สื่อ/อุปกรณ์ประกอบการจัดการ เรียนรู้ รวมทั้งเกณฑ์การวัดและ การประเมินผล ให้มีความ เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ชั ด เ จ น แ ล ะ ถู ก ต้ อ ง ก่ อ น นำ ไ ป ใ ช้ ใ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ 5. ทดลองอุปกรณ์ทุกชนิดก่อนการจัดกิจกรรมการเรียน รู้ ใ ห้ แ ก่ นั ก เ รี ย น 6. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เป็นไปตามลำดับขั้นตอนที่ กำหนดในแผนการจัดการเรียนรู้เพื่ อให้นักเรียนเกิดการ เ รี ย น รู้ อ ย่ า ง ต่ อ เ นื่ อ ง 7. อธิบายหรือชี้แจงวิธีการปฏิบัติกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่ อ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ท ร า บ บ ท บ า ท ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ต ร ง กันในการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่ อดำเนินการจัด กิจกรรมการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ โดย เน้นให้นักเรียนมีความซื่อสัตย์ ไม่คัดลอกเพื่ อน หรือให้ เพื่ อนทำให้หรือดูคำตอบก่อนในการทำชุดกิจกรรมการ เ รี ย น รู้
คำ แ น ะ นำ ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ สำ ห รั บ ค รู 8. กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ตามกระบวนการเรียนรู้ ทั้งในการปฏิบัติงานกลุ่ม และงานรายบุคคล และสังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของ นั ก เ รี ย น เ ป็ น ร า ย บุ ค ค ล ห รื อ เ ป็ น ร า ย ก ลุ่ ม อ ยู่ กั บ กิ จ ก ร ร ม ที่ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ป ฏิ บั ติ ใ น บ า ง กิ จ ก ร ร ม อ า จ ใ ห้ นั ก เ รี ย น ไ ป ศึ ก ษ า ห รื อ ป ฏิ บั ติ ด้ ว ย ต น เ อ ง น อ ก เ ว ล า เ รี ย น ไ ด้ 9. ครูคอยดูแล ชี้แนะ และให้คำปรึกษาแนะนำแก่นักเรียนใน ขณะที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้ รวมทั้งคอยสังเกตการณ์ ทำงานนของนักเรียนอย่างใกล้ชิด หากนักเรียนคนใดมี ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ไม่เข้าใจเนื้อหา ครูควรเข้าไปช่วย เ ห ลื อ ทั น ที 10. เวลาที่ใช้ในการเรียนหรือทำกิจกรรมจากชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ของแต่ละคน อาจไม่เท่ากัน ครูผู้ควบคุมควรยืดหยุ่น ไ ด้ ต า ม ค ว า ม เ ห ม า ะ ส ม 11. นักเรียนและครูร่วมอภิปราย เฉลย และตรวจคาตอบ ในแต่ละกิจกรรมหรือแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกับ นักเรียน เพื่ อให้นักเรียนได้ข้อสรุปและคาตอบที่ถูกต้อง ชัดเจนยิ่งขึ้นตามกระบวนการเรียนรู้ รวมทั้งได้ทราบ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ข อ ง ต น เ อ ง 12. ถ้านักเรียนคนใดไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินร้อยละ70 ของคะแนนในแต่ละชุดกิจกรรม การเรียนรู้ ให้นักเรียน ซ่ อ ม เ ส ริ ม น อ ก เ ว ล า เ รี ย น จ า ก ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ นั้ น จ น ก ว่ า จ ะ ผ่ า น เ ก ณ ฑ์ 13. ประเมินผลการปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนทั้งราย ก ลุ่ ม ห รื อ ร า ย บุ ค ค ล ใ น ทุ ก กิ จ ก ร ร ม 14. ประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยการทำแบบทดสอบท้ายชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หลัง จ า ก ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้ เ ส ร็ จ สิ้ น ทั้ ง ห ม ด
คำแนะนำการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักเรียน คำ ชี้ แ จ ง 1 . ก า ร ใ ช้ ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ เ รื่ อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร ชั้น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 1 ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร มี ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ดั ง นี้ 1 . 1 แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น 1 . 2 จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รีย น รู้ 1 . 3 กิ จ ก ร ร ม เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถนอมอาหาร 1 . 4 แ บ บ ฝึ ก ทั ก ษ ะ 1 . 5 แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 1 . 6 เ ฉ ล ย แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น ห ลั ง เ รีย น 2 . ก่ อ น ศึ ก ษ า ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ก่ อ น เ รีย น เ พื่ อ วั ด ค ว า ม รู้ พื้ น ฐ า น 3 . ศึ ก ษ า จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ส า ร ะ สำ คั ญ เ นื้ อ ห า ใ น ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า ร เ รีย น รู้ ชุ ด ที่ 1 เ รื่ อ ง ค ว า ม รู้เ บื้ อ ง ต้ น ข อ ง ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร เ รีย น จ บ แ ล้ ว ใ ห้ทำ แ บ บ ท ด ส อ บ ห ลั ง เ รีย น 4 . ต ร ว จ คำ ต อ บ จ า ก เ ฉ ล ย เ พื่ อ เ ป รีย บ เ ที ย บ พั ฒ น า ก า ร ท า ง ก า ร เ รีย น ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ จ ะ ไ ด้ ท ร า บ ถึ ง พั ฒ น า ก า ร ท า ง ด้ า น ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ค ว า ม เ ข้ า ใ จ จ า ก เ รื่ อ ง ที่ ศึ ก ษ า
ขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรม การเรียนรู้ 1.ชี้แจงชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 2.ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 3.นำเข้าสู่บทเรียน 4.กิจกรรมการเรียนรู้ 5.สรุป 6.ทำแบบทดสอบหลังเรียน 7.ผ่านเกณฑ์ ศึกษาชุดกิจกรรมการ เรียนรู้ชุดต่อไป 8.ไม่ผ่านเกณฑ์ ซ่อม
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุดที่4.3 เ รื่ อ ง ก า ร ทำ ก ล้ ว ย เ ชื่ อ ม คำ ชี้ แ จ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมายถูก / หน้าคำตอบที่ถูกและกาเครื่องหมาย X หน้าคำตอบที่ผิด (...........) 1.กล้วยจัดเป็นไม้ยืนต้น (...........) 2.ประเทศที่มีการปลูกกล้วยมากที่สุดคือประเทศ อินเดีย (...........) 3.ส่วนลำต้นของกล้วยที่ถูกนำมาแปรรูปมากที่สุด (...........) 4.เมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าจะ ให้พลังงานมากที่สุด (............) 5.กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง (............) 6.กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทำให้มีกลิ่นปาก (............) 7.กล้วยน้ำว้าดิบและห่ามมีสารแทนนินเพคตินมีฤทธิ์ ฝาดสมานแผล (...........) 8.การเชื่อมเป็นวิธีถนอมอาหาร โดยอาศัยสาร น้ำตาลป้องกันไม่ให้อาหารนั้นเกิดการบูดเน่าเสียหาย (..........) 9.กล้วยเชื่อม สาเกเชื่อม ลูกตาลเชื่อม ขนุนเชื่อม เป็นวิธีการเชื่อมแบบแช่อิ่ม (...........) 10.แป้งมันเป็นแป้งที่ผสมในกะทิสำหรับราดกล้วย เชื่อม
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ชุดที่4.3 เรื่อง การทำกล้วยเชื่อม 1 . ผ ล ก า ร เ รี ย น รู้ นักเรียนสามารถบอกอุปกรณ์เครื่ องใช้ในการการ ถ น อ ม อ า ห า ร ไ ด้ 2 . จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร เ รี ย น รู้ 2.1 ด้านความรู้ (KNOWLEDGE) - บอกหลักในการเลือกอุปกรณ์ในการถนอม อ า ห า ร แ ล ะ วิธี ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ - อุปกรณ์ในการชั่งตวง 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (PROCES ) - มีทักษะ กระบวนการแก้ปั ญหาในการ ทำ ง า น - มีทักษะในการแสวงหาความรู้ เรื่ อง อุปกรณ์เครื่ องใช้ในการถนอมอาหาร 2.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (ATTITUDE) - มีทัศนคติที่ดีในการเตรียมตัวประกอบ อ า ชี พ - มีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ - มุ่งมั่นในการทำงาน - ซื่อสัตย์สุจริต 3.สมรรถนะ 3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 3.2 ความสามารถในการคิด 3.3 ความสามารถในการแก้ปั ญหา
สาระสำคัญ กล้ วยน้ำว้า กล้วยน้ำว้าเมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าจะให้พลังงานมาก ที่สุด กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูงช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง ป้องกันโรคโลหิตจาง มีแคลเซียม ฟอสฟอรัส และวิตามินซีช่วยบำรุงกระดูก ฟัน และ เหงือกให้แข็งแรง ช่วยให้ผิวพรรณดี มีเบต้าแคโรทีน ไนอาซีนและใยอาหาร ช่วยให้ ระบบขับถ่ายคล่องขึ้น กินกล้วยกินกล้วยน้ำว้าสุก จะช่วยระบายท้องและสามารถ รักษาโรคเลือดออกตามไรฟันในเด็กเล็กได้ ช่วยลดอาการเจ็บคอ เจ็บหน้าอกที่มี อาการไอแห้งร่วมด้วย โดยกินวันละ 4-6 ลูก แบ่งกินกี่ครั้ง ก็ได้ กินกล้วยก่อนแปรง ฟันทุกวันจะทำให้ไม่มีกลิ่นปาก และผิวพรรณดี เห็นผลได้ใน 1 สัปดาห์ กล้วยน้ำว้าดิบ และห่ามมีสารแทนนิน เพคตินมีฤทธิ์ฝาดสมาน รักษาอาการท้องเสียที่ไม่รุนแรงได้ โดยกินครั้งละครึ่งผลหรือ 1 ผล อาการท้องเสียจะทุเลาลง นอกจากนี้จากการศึกษา วิจัยยังพบว่า มีผลในการรักษาโรคกระเพาะได้อีกด้วย กล้วยน้ำว้า เป็นกล้วยพันธุ์พื้น บ้านของไทย เป็นผลไม้ล้มลุก เป็นกล้วยพันธุ์ผสมชนิดหนึ่ง ระหว่างกล้วยป่า กับ กล้วยตานี มีลำต้นเดี่ยวตั้งตรง ลำต้นมีลักษณะกลม มีสีน้ำตาลปนเขียว ใบเป็นใบ เลี้ยงเดี่ยว ใบเป็นแบบขนานมีลักษณะแบนยาวใหญ่มีสีเขียวแก่ ดอกจะออกเป็นช่อ จะมีปลีออกที่ปลายยอด มีเครือยาวมีหวีอยู่ จะมีผลเรียงอยู่ในหวีคล้ายพัด ผลอ่อน เปลือกมีสีเขียว ผลสุกเปลือกมีสีเหลือง มีรสชาติหวานหอม กล้วย มีการปลูกมากในเอเชียใต้ ปัจจุบันประเทศอินเดียมีการปลูกกล้วยมาก ที่สุดในโลก
สาระสำคัญ ประโยชน์และสรรพคุณกล้ วยน้ำว้า มีฟอสฟอรัส มีวิตามินเอ มีวิตามินซี มีวิตามินบี 1 มีวิตามินบี 2 มีวิตามิ นบี 3 มีวิตามิน บี 5 มีวิตามินบี 6 มีวิตามินบี 9 มีแคลเซียม มีเหล็ก มีแมกนีเซียม มี คาร์โบไฮเดรต มีสังกะสี มีไขมัน มีโปรตีน มีโพแทสเซียม มีสังกะสี มีเส้นใย มี พลังงาน มีไฟเบอร์ มีเบต้าแคโรทีน มีสารแทนนิลแทคติน มีกรดอมิโน ช่วยบำรุงผิว พรรณ ช่วยชะลอความแก่ ช่วยบำรุงเลือด ช่วยสร้างเมล็ดเลือดแดง ช่วยรักษาโรค เลือดจาง ช่วยบำรุงสายตา ช่วยบำรุงหัวใจ ช่วยป้องกันโรคหัวใจ ช่วยลดความอ้วน ช่วยลดความดันโลหิตสูง ช่วยลดกรดในกระเพาะ ช่วยรักษาโรคกระเพาะ ช่วยรักษา แผลในลำไส้ ช่วยบรรเทาอาการท้องผูก ช่วยรักษาโรคริดสีดวงทวาร ช่วยรักษาโรค ผิวหนัง รักษาเป็นผื่นแดง ช่วยรักษาแมลงกัดต่อย ลดอาการฝีบวม ช่วยรักษาแผล ไฟไหม้ แก้แผลเป็นหนอง ช่วยสมานแผล แก้เคล็ดขัดยอก แก้ท้องเดิน ช่วยรักษา อาการท้องเสีย แก้ท้องผูก ช่วยระบายท้อง ช่วยบำรุงกระดูก ช่วยบำรุงฟัน ช่วยบำรุง เหงือก แก้เลือดออกตามไรฟัน ช่วยลดกลิ่นปาก แก้แน่นหน้าอก แก้เจ็บคอ แก้ไอ ช่วยห้ามเลือด แก้โรคขัดเบา แก้โรคไส้เลื่อน
การถนอม อาหารด้วยวิธี การเชื่อม การถนอมอาหารด้วยการเชื่ อม การเชื่ อมเป็นวิธีถนอมอาหาร โดยอาศัยสารน้ำตาลป้องกันไม่ให้ อาหารนั้น เกิดการเปลี่ยนแปลงบูดเน่าเสียหาย การถนอมอาหาร โดยการเชื่ อม 3 วิธี ดังนี้ 1.การเชื่ อมแบบธรรมดา อาจเคี่ยวจนน้ำเชื่ อมข้นเหนียว น้ำเชื่ อมแทรกซึมเข้าในเนื้ อของ สิ่งที่เชื่ อมแล้วใช้น้ำเชื่ อมที่เหลือแช่หล่อไว้อีกชั้นหนึ่ ง เช่น กล้วย เชื่ อม สาเกเชื่ อม ลูกตาลเชื่ อม ขนุนเชื่ อม เป็นต้น หรืออาจเคี่ยว ต่อไปจนน้ำเชื่ อมแก่จัด เมื่ อเย็นลงจะแห้งและแข็งตัว 2.การถนอมอาหารด้วยการแช่อิ่ม เป็นการถนอมอาหารโดยใช้น้ำตาลปริมาณมาก คือ นำอาหารมา แช่ในน้ำเชื่ อม และเปลี่ยนเพิ่มความเข้มข้นจนถึงจุดอิ่มตัวแล้วนำ มาทำแห้ง มักใช้กับผลไม้ที่มีรสขม รสขื่ น หรือรสเปรี้ยวจัด ทำให้ สิ่งนั้นรสจืดลงเสียก่อนโดยวิธีต่าง ๆ เช่น แช่น้ำเกลือ แช่น้ำปูน แช่สารส้ม เป็นต้น ผลไม้ที่นิยมนำมาแช่อิ่ม เช่น มะม่วง มะขาม มะกอก มะยม เป็นต้น 3.การฉาบ เป็นการนำเอาผักหรือผลไม้ที่ทำสุกแล้ว เช่น เผือกทอด มันทอด กล้วยทอด เป็นต้น วิธีฉาบคือเคี่ยวน้ำตาลให้เป็นน้ำเชื่ อมแก่จัด จนเป็นเกล็ด แล้วเทลงผสมคลุกเคล้ากับของที่ทอดไว้ ทิ้งไว้ให้ เย็นจนน้ำเชื่ อมเกาะเป็นเกล็ดติดอยู่บนผิวอาหารที่ฉาบ
วัสดุ/อุปกรณ์ ในการ ทำกล้วยเชื่อม วัตถุดิบในการทำกล้วยเชื่อม ขั้นตอนการทำ วั ต ถุ ดิ บ STEP 1 : เตรียมกล้วย - ปอกเปลือกกล้วยแล้วหั่นเป็นสองส่วนนำลงต้มในน้ำเดือดพร้อม 1.กล้วยน้ำว้าห่าม 1 หวี กับใบเตยต้มไว้ประมาณ 15 นาที 2.น้ำตาลทรายสีทอง ½ ถ้วยตวง STEP 2 : เชื่อม 3.น้ำตาลปี๊ บ 1 ถ้วยตวง - หลังจากต้ม 15 นาทีแล้ว ใส่น้ำตาลทรายสีทอง และน้ำตาลปี๊ บ ลงไป ตั้งไฟให้เดือด ช้อนฟองออกแล้วปรับเป็นไฟกลางค่อนอ่อน 4.น้ำเปล่า 1½ ลิตร ตั้งเชื่ อมไว้ ประมาณ 2 ชั่วโมง - เมื่ อกล้วยเริ่มเปลี่ยนสี ให้ใส่น้ำมะนาวลงไป เพื่ อป้องกันไม่ให้ 5.น้ำมะนาว 1 ช้อนชา น้ำตาลตกผลึกเมื่ อน้ำเริ่มงวดปรับเป็นไฟอ่อน เชื่ อมต่อจนกล้วย เปลี่ยนเป็นสีแดง จึงยกขึ้นพักไว้ใส่น้ำตาลทรายสีทอง และน้ำตาล 6.กะทิ 1 ถ้วยตวง ปี๊ บลงไป ตั้งไฟให้เดือดเชื่ อมจนเปลี่ยนเป็นสีแดง 7.เกลือ 1 ช้อนชา STEP 3 : ทำกะทิราด 8.แป้งข้าวเจ้า 1 ช้อนโต๊ะ - ต้มกะทิ ใส่เกลือและแป้งข้าวเจ้าลงไป คนให้กะทิพอข้น แล้วนำ ไปราดบนกล้วยที่เชื่ อมไว้ ใส่เกลือและแป้งข้าวเจ้าลงไป คนให้กะทิ อุปกรณ์ในการทำมันฉาบ พอข้น - ถ้ ว ย ต ว ง -ตาชั่ง -ช้อนตวง -กะละมัง -มีดหั่น -เขียง -กะละมัง -กระทะ - ทั พ พี ภาพขั้นตอนการทำ WWW.REALLYGREATSITE.COM
การวางแผนการทำงาน จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ - เพื่ อให้ผู้เรียนสามารถแบ่งกลุ่มการทำงานตามความถนัดและ ความสามารถ - ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มการเรียนกลุ่มละ 5-6 คน คละชายหญิง - กลุ่มคัดเลือกคณะทำงานตามความสามารถ บันทึกในแบบ ฟอร์มที่กำหนด - นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาและวางแผนการทำงานปฏิบัติ - บันทึกผลการปฏิบัติงานและทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย วิธีการ สมาชิกกลุ่มที่ ...................... 1.......................................................ห้อง...........เลขที่.........หัวหน้ากลุ่ม 2......................................................ห้อง...........เลขที่..........รองหัวหน้ากลุ่ม 3......................................................ห้อง...........เลขที่...........สมาชิก 4......................................................ห้อง...........เลขที่...........สมาชิก 5......................................................ห้อง...........เลขที่............เหรัญญิก 6......................................................ห้อง...........เลขที่............เลขานุการ
การมอบหมายงาน จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ - เพื่ อสร้างความรับผิดชอบให้กับผู้เรียนในการปฏิบัติงานการ ถนอมอาหารในท้องถิ่น
การประเมินผลงาน จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ - เพื่ อให้ทราบถึงผลการปฏิบัติงานตามกระบวนการของกลุ่ม
การบันทึกผลการปฏิบัติงาน
การทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย
แบบทดสอบหลังเรียน ชุดที่ 4.3 เ รื่ อ ง ก า ร ทำ ก ล้ ว ย เ ชื่ อ ม คำ ชี้ แ จ ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมายถูก / หน้าคำตอบที่ถูกและกาเครื่องหมาย X หน้าคำตอบที่ผิด (...........) 1.กล้วยจัดเป็นไม้ยืนต้น (...........) 2.ประเทศที่มีการปลูกกล้วยมากที่สุดคือประเทศ อินเดีย (...........) 3.ส่วนลำต้นของกล้วยที่ถูกนำมาแปรรูปมากที่สุด (...........) 4.เมื่อเทียบกับกล้วยหอมและกล้วยไข่ กล้วยน้ำว้าจะ ให้พลังงานมากที่สุด (............) 5.กล้วยน้ำว้าห่ามและสุกมีธาตุเหล็กในปริมาณสูง ช่วยสร้างเม็ดเลือดแดง (............) 6.กินกล้วยก่อนแปรงฟันทุกวันจะทำให้มีกลิ่นปาก (............) 7.กล้วยน้ำว้าดิบและห่ามมีสารแทนนินเพคตินมีฤทธิ์ ฝาดสมานแผล (...........) 8.การเชื่อมเป็นวิธีถนอมอาหาร โดยอาศัยสาร น้ำตาลป้องกันไม่ให้อาหารนั้นเกิดการบูดเน่าเสียหาย (..........) 9.กล้วยเชื่อม สาเกเชื่อม ลูกตาลเชื่อม ขนุนเชื่อม เป็นวิธีการเชื่อมแบบแช่อิ่ม (...........) 10.แป้งมันเป็นแป้งที่ผสมในกะทิสำหรับราดกล้วย เชื่อม
บรรณานุกรม กล้วยน้ำว้า . สืบค้นจากเวปไซต์ HTTPS://WWW.WONGNAI.COM . วันที่สืบค้น 21 พฤษภาคม 2562. การเชื่ อม . สืบค้นจากเวปไซต์ HTTPS://NATEEKAN5658.WORDPRESS.COM. วันที่สืบค้น 21 พฤษภาคม 2562.
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: