Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore king 2

Description: king 2

Search

Read the Text Version

ส่วนทด่ี กี ค็ วรจะรกั ษาไว้ “…โดยมากผู้ทีไ่ ปต่างประเทศ ไปเห็นต่างประเทศ เขาดีหรือไม่ดี เมือ่ มากเกินไป เหน็ ดีเกินไปกม็ ี เห็นไม่ดีมากเกินไปกม็ ี ไม่เข้าใจว่าแต่ละประเทศ เขาก็มีดีมีไม่ดี และเมืองไทยก็มีดีมีไม่ดี ส่วนทีด่ ีก็ควรจะรักษาไว้ ส่วนที่ไม่ดีก็ควรจะแก้ไข คือจิตใจอย่างนี้ทีจ่ ะต้องรักษาและจะต้องอบรมไว้ ถึงจะได้ประโยชน์ทีไ่ ด้ตั้งไว้ ถ้าหากว่าเอาหลกั วิชา ”มาเอาชนะกนั ก็ทำ�ให้ความเปน็ อยู่ส่วนรวม ต้องเสียไปมากกว่าได้… พระราชดำ�รสั ในโอกาสทีป่ ระธานชมรมนักเรียนทนุ มูลนิธิอานันทมหิดล พร้อมด้วยคณะเฝ้าฯ ทูลเกล้าฯ ถวายเงิน โดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทนุ มลู นิธิอานนั ทมหิดล ณ พระตำ�หนักจิตรลดารโหฐาน ๔ กนั ยายน ๒๕๓๓ 100

ชดั เจน ถูก ตรง การปฏิบัติราชการให้ดีนั้น กล่าวอย่างสั้น ง่าย และตรงที่สดุ คือทำ�ให้สำ�เร็จทันการ และให้ได้ผลเปน็ ประโยชน์แต่ทางเดียว ซึ่งจะทำ�ได้เมื่อบุคคลมีวิชาความสามารถ และมีปญั ญาความรู้คิดพิจารณา เห็นสิ่งทีเ่ ปน็ คุณเป็นโทษ เป็นประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ อย่างชดั เจน ถกู ตรง พระบรมราโชวาท เนื่องในวนั ข้าราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๓๔ 101

ทุกคนมีหนา้ ท่ี คนทกุ คนมีหน้าทีต่ ้องทำ� แม้เปน็ เด็กกม็ ีหน้าที่อย่างเดก็ คือศึกษาเล่าเรียน หมายความว่าจะต้องเรียนให้รู้วิชา ฝึกหดั ท�ำ การงานต่างๆ ให้เปน็ อบรมขดั เกลาความประพฤติและความคิด จิตใจให้ประณีต ให้สุจริต แจ่มใส และเฉลียวฉลาด มีเหตุผล เพือ่ จักได้เติบโตขึ้นเป็นคนทีม่ ีความรู้  ความสามารถและมีประโยชน์ต่อชาติบ้านเมือง พระบรมราโชวาท พระราชทานเพือ่ เชิญลงพิมพ์ในหนงั สือวันเด็ก ประจำ�ปี ๒๕๓๕ พระตำ�หนกั จิตรลดารโหฐาน ๕ ธันวาคม ๒๕๓๔ 102

ท�ำ นบุ ำ�รงุ บา้ นเมอื ง “…การท�ำ นุบำ�รงุ บ้านเมืองน้ัน เป็นงานส่วนรวมของคนท้ังชาติ จึงเปน็ ธรรมดาอยู่เอง ที่จะต้องมีความขัดแย้งเกิดขึ้นบ้าง จะให้ทกุ คนทุกฝ่ายมีความคิดเห็นสอดคล้องต้องกนั ตลอดทกุ ๆ เรื่องไป ย่อมเปน็ การผิดวิสัย เพราะฉะน้ัน แต่ละฝ่าย แต่ละคน จึงควรจะคำ�นึงถึงจดุ ประสงค์ร่วมกนั ”คือความเจริญไพบลู ย์ของชาติ เปน็ ข้อใหญ่… พระราชด�ำ รัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๓๕ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๓๔ 103

มีสติร้ตู วั “…จิตใจที่สะอาดปลอดโปร่งจากสิง่ รบกวนนี้สำ�คัญมาก เพราะเปน็ จิตใจสงบระงับและเยือกเยน็ ทำ�ให้บคุ คลมีสติรู้ตวั มีความคิดเที่ยงตรงเป็นกลาง มีวิจารณญาณ ละเอียด กว้างขวาง และถกู ต้องตรงจดุ ความคิดวิจารณญาณที่เกิดจากจิตใจทีส่ งบนี้ มีศกั ยภาพสูง อาจน�ำ ไปใช้คิดอ่านสร้างสรรค์ สิ่งที่จะอำ�นวยประโยชน์สุข ความเจริญก้าวหน้า ตลอดจนชือ่ เสียงเกียรติคุณ ”อันเปน็ สิง่ ปรารภปรารถนา ของแต่ละคนให้สมั ฤทธิผ์ ลได้… พระราชด�ำ รสั พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๓๖ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๓๕ 104

การทำ�งานกับการเลา่ เรยี น “…การทำ�งานกับการเล่าเรียนนั้น ไม่ได้แตกต่างกนั มากนัก การเรียนก็เปน็ งานอย่างหนึ่ง คืองานสร้างสมความรู้ความคิด ให้เพิ่มพูนและพฒั นางอกงามขึ้นในตนเอง จัดเปน็ กิจขั้นต้นที่แต่ละคนต้องทำ�เพือ่ ประโยชน์เฉพาะตัว ส่วนการท�ำ งานนั้น เป็นการนำ�วิชาความรู้ ”และความคิดที่มีอยู่ไปประกอบการ ให้สำ�เร็จประโยชน์ทีก่ ว้างขวางยิ่งขึ้น… พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่บณั ฑิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๘ กรกฎาคม ๒๕๓๖ 105

ศกึ ษาคน้ คว้า “…การศึกษาในระบบ ผู้ศึกษาจะได้รับความรู้ ถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์ และจากการศึกษาค้นคว้า ทางต�ำ รบั ตำ�ราเป็นหลกั ต่อเมื่อได้ออกไปท�ำ การงาน ได้ประสบเหตกุ ารณ์และปญั หาต่างๆ ให้ต้องขบคิดมากมายแล้ว จึงเกิดความรู้ความเข้าใจที่ถ่องแท้ในสิ่งท้ังปวง ทีเ่ รียกว่าประสบการณ์ในชีวิตเพิม่ ขึ้น ประสบการณ์ในชีวิตนี้เป็นบ่อเกิดแห่งความรอบรู้ และความฉลาดจัดเจนที่มีค่า ซึ่งถ้าได้รู้จกั นำ�มาใช้ ด้วยความรู้เท่าถึงเหตผุ ล และด้วยความรอบคอบ ”ระมดั ระวงั แล้ว จะยังประโยชน์ให้แก่ตนเอง และสงั คมอย่างวิเศษสุด… พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่บัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ๑๖ ธันวาคม ๒๕๓๖ 106

107

108

พรอ้ มทุกเวลา “…เหตไุ ม่ปรกติท้ังนี้ควรจะช่วยให้ท่านทั้งหลาย ได้ข้อคิดสำ�คญั ประการหนึง่ ว่าวิถีชีวิตของบุคคลนั้นย่อมมีภัยอันตราย มีอปุ สรรค และเคราะห์ดีเคราะห์ร้าย ผ่านเข้ามาเนืองๆ ไม่มีผู้ใดจะอยู่เปน็ ปรกติสุขอย่างเดียวได้ ทุกคนจ�ำ เปน็ ต้องเตรียมกายเตรียมใจให้พร้อมทกุ เวลา ที่จะเผชิญและต่อสู้แก้ไขความไม่ปรกติ เดือดร้อนต่างๆ ด้วยเหตผุ ลหลักวิชา ”ความถูกต้องรอบคอบ และสามัคคีธรรม… พระราชดำ�รัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาสขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๓๗ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๓๖ 109

รับผดิ ชอบร่วมกนั “…ความเจริญและความเสื่อมของบ้านเมืองนั้น ขึ้นอยู่กบั ผลงานการกระทำ�อันเป็นส่วนรวม ของคนทั้งชาติ ซึ่งต่างมีหน้าทีแ่ บ่งปนั กัน ทำ�ตามความรู้ความสามารถ ตามโอกาส และความถนัดของแต่ละบุคคล ดังนั้น ถ้าบุคคลยังเหน็ ว่ามีชาติมีประเทศ เปน็ ทีพ่ ึง่ ที่อาศยั ก็จะต้องรบั ผิดชอบร่วมกนั ”ในการท�ำ งานส่วนรวมของชาติให้ดี เพือ่ ธำ�รงรกั ษาประเทศชาติไว้… พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผู้สำ�เรจ็ การศึกษา ของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ครั้งที่ ๒๘ ประจำ�ปีการศึกษา ๒๕๓๕ – ๒๕๓๖ ณ ศาลาอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๔ มกราคม ๒๕๓๗ 110

ความเปน็ ไทย “…ความเป็นไทยน้ัน กเ็ ป็นสมบัติอย่างหนึง่ ทีม่ ีค่าประดบั โลกอยู่ ไม่ควรทีใ่ ครจะละเลยทำ�ลายเสีย เพราะจะท�ำ ให้สูญเสียสมบตั ิมีค่านั้นไป คนที่จะรักษาความเป็นไทยได้มั่นคงทีส่ ุด ดีและเหมาะทีส่ ุด ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะอยู่ ณ แห่งใด คนไทยมีหน้าที่ต้องรกั ษาความเปน็ ไทยเสมอ ”ทั้งทางวัตถุ ทางจริยธรรม และภมู ิปัญญา... พระบรมราโชวาท พระราชทานสมาคมนกั เรียนไทยในประเทศญี่ปุ่น ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในการประชุมสามญั ประจ�ำ ปี ณ ห้องประชุมสมาพนั ธ์เยาวชนญี่ปุ่น กรงุ โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ๒๗ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๓๗ 111

แก้ไขด้วยเหตแุ ละผล “…คนจำ�นวนมากย่อมมีความคิดที่แตกต่างกันไป ตามพื้นฐานภมู ิรู้และภมู ิธรรมของแต่ละคน ปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆ ในการท�ำ งาน ก็อาจเกิดขึ้นได้เสมอ เมื่อมีปญั หาเกิดขึ้น ทกุ คนชอบที่จะท�ำ ความคิดความเหน็ ให้สอดคล้องกนั ร่วมกันพิจารณาหาทางแก้ไขด้วยเหตแุ ละผล ตามเปน็ จริงบนพื้นฐานอันเดียวกนั ”กจ็ ะเห็นแนวทางปฏิบัติแก้ไขได้อย่างเที่ยงตรง ถูกต้อง และเหมาะสม… พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๓๗ 112

การพดู ดี “…การพดู ดี คือดีด้วยเนื้อหาสาระ พอดีกับกาละเทศะ เหมาะสมกบั ฐานะ และบคุ คล ไม่มากหรือน้อยเกินไป คนฟังสบาย จับเรื่องราวได้ชดั และถูกต้องตามความประสงค์ เมื่อพูดจาสือ่ สารกันได้ไม่ติดขดั กจ็ ะมีความเข้าอกเข้าใจกัน และสามารถร่วมมือกันท�ำ งานสร้างสรรค์  ความสขุ ความเจริญให้เกิดขึ้นได้ ปัญหาต่างๆ กจ็ ะไม่เกิดขึ้น หรือหากจะเกิดขึ้นบ้าง ”กส็ ามารถพดู จาท�ำ ความเข้าใจกนั ได้โดยไม่ยากนัก… พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลยั เชียงใหม่ ณ ศาลาอ่างแก้ว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ๒๔ มกราคม ๒๕๓๘ 113

เอ้อื เฟ้ือเกอื้ กลู “ สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟือ้ เกื้อกูลกัน ด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน ”สังคมน้ันย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจิตมิตรภาพ มีความร่มเยน็ เปน็ สุข น่าอยู่… พระราชดำ�รสั พระราชทานเพือ่ เชิญลงพิมพ์ในนิตยสารทีร่ ะลึกครบ ๓๖ ปี ของสโมสรไลออนส์แห่งกรงุ เทพฯ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ พระต�ำ หนักจิตรลดารโหฐาน ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๘ 114

ประโยชน์อันยง่ั ยืน “ งานที่ท�ำ เพือ่ ประโยชน์อนั ยงั่ ยืน ของแผ่นดินอย่างแท้จริง แม้จะไม่มีผู้ใดรู้เหน็ หรือยกย่องสรรเสริญก็ตาม แต่ผลของงาน ทีป่ รากฏเป็นความเจริญม่นั คงของประเทศชาติน้ัน ”เป็นสิ่งทีผ่ ู้กระท�ำ จะชืน่ ชมยินดีได้ทกุ เมื่อ... พระราชด�ำ รสั พระราชทานเพือ่ เชิญลงพิมพ์ในหนังสือ เนือ่ งในโอกาสวันคล้ายวันสถาปนากรมทางหลวงครบ ๘๔ ปี พระต�ำ หนกั จิตรลดารโหฐาน ๕ มีนาคม ๒๕๓๙ 115

ผลมาจากเหตุ “…เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ขอย้�ำ ว่าเปน็ ท้ังเศรษฐกิจ และความประพฤติ ทีท่ �ำ อะไรเพือ่ ให้เกิดผล โดยมีเหตุและผล คือเกิดผลมาจากเหตุ ถ้าทำ�เหตทุ ีด่ ี ถ้าคิดให้ดี ผลที่ออกมา คือสิ่งทีต่ ิดตามเหตุ เช่นการกระทำ� กจ็ ะเป็นการกระท�ำ ที่ดี และผลของการกระท�ำ นั้นก็จะเป็นการกระทำ�ทีด่ ี ดี แปลว่ามีประสิทธิผล ”ดี แปลว่ามีประโยชน์ ดี แปลว่าทำ�ให้มีความสุข... พระราชดำ�รสั พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดุสิต ๔ ธนั วาคม ๒๕๔๓ 116

117

118

พอเพยี ง “…พอเพียงคืออะไร ไม่ใช่เพียงพอ คือว่าไม่ได้หมายความว่าให้ทำ�ก�ำ ไรเล็กๆ น้อยๆ เท่าน้ันเอง ท�ำ ก�ำ ไรกท็ �ำ ถ้าเราท�ำ กำ�ไรได้ดี มันกด็ ี แต่ว่าขอให้มันพอเพียง ”คือถ้าเอากำ�ไรหน้าเลือดมากเกินไป มนั ไม่ใช่พอเพียง… พระราชดำ�รสั พระราชทานแก่คณะบคุ คลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล เนือ่ งในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดสุ ิดาลยั สวนจิตรลดา พระราชวงั ดสุ ิต ๔ ธันวาคม ๒๕๕๐ 119

ปวงข้าพระพทุ ธเจ้า ขอน้อมเกล้าน้อมกระหม่อม ร�ำ ลึกในพระมหากรณุ าธิคุณหาที่สดุ มิได้ ขา้ พระพทุ ธเจา้ บริษทั กสท โทรคมนาคม จำ�กดั (มหาชน) 120

121

122

เทดิ ไวŒเหนอื เกลาŒ ขา พระพทุ ธเจา บรษิ ทั กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook