Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาจังหวัดเลย

แผนพัฒนาจังหวัดเลย

Published by earthvasu.se, 2022-01-02 05:08:51

Description: แผนพัฒนาจังหวัดเลย

Search

Read the Text Version

- 51 - 1.5.4 ดา้ นสาธารณสุข20 สถานบรกิ ารสาธารณสุข ข้อมูล ณ ปี 2560 จังหวดั เลยมสี ถานบริการสาธารณสขุ ภาครฐั จานวน 147 แห่ง ใหบ้ รกิ ารประชาชนครอบคลุมทกุ อาเภอทกุ ตาบล เปน็ สถานบรกิ ารสาธารณสุข สังกัดกระทรวง สาธารณสขุ จานวน 144 แห่ง โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงกลาโหม 1 แหง่ ศนู ยบ์ ริการสาธารณสขุ เทศบาลเมอื ง 1 แหง่ ศนู ยค์ วบคุมโรคติดต่อนาโดยแมลง ท่ี 8.2โรงพยาบาลเอกชน 1 แห่ง และ คลนิ ิกเอกชนด้านต่างๆ 196 แห่ง และรา้ นขายยา จานวน 134 แห่ง สถานบริการทางการแพทย์และสาธารณสขุ จาแนกตามสงั กัดในจังหวดั เลย สถานพยาบาล/สังกัด จานวน (แห่ง) จานวนเตยี ง หมายเหตุ กระทรวงสาธารณสขุ 1 402 เตียง กรมสขุ ภาพจติ - โรงพยาบาลทวั่ ไป(รพ.เลย) 1 90 เตยี ง - โรงพยาบาลชุมชน 90 เตียง 2 120 เตียง - โรงพยาบาลชุมชน 60 เตยี ง 10 300 เตยี ง - โรงพยาบาลชมุ ชน 30 เตียง 1 124 เตยี ง - โรงพยาบาลจติ เวชเลยราชนครินทร์ 127 - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 2 30 เตยี ง - ศนู ย์สุขภาพชมุ ชนเมือง (รพ.เลย) 1 100 เตยี ง 1. กระทรวงกลาโหม 1 - โรงพยาบาลค่ายศรีสองรัก 1 2. ศนู ยบ์ รกิ ารสาธารณสุขเทศบาลเมอื งเลย 1 3. ศูนยค์ วบคมุ โรคตดิ ตอ่ นาโดยแมลง ท่ี 8.2 เลย 57 11 สถานบรกิ ารเอกชน 117 - โรงพยาบาลเอกชน 3 - คลินกิ แพทยเ์ วชกรรม 3 - คลนิ ิกทนั ตแพทย์ 2 - คลินกิ การพยาบาลและผดงุ ครรภ์ 2 - คลนิ กิ เทคนิคการแพทย์ 1 - คลนิ ิกผดุงครรภ์ - คลินกิ แพทยแ์ ผนไทย - คลินกิ สหคลินิก - คลินกิ กายภาพบาบัด 20 ท่ีมา : สานกั งานสาธารณสขุ จงั หวัดเลย

- 52 - ข้อมูลบคุ ลากรด้านสาธารณสุข สังกดั สานกั งานสาธารณสุขจงั หวัดเลยและ โรงพยาบาลเลยปีงบประมาณ 2560 ลาดับ ประเภทบุคลากร สสจ.เลย รพ.เลย รวม ร้อยละ 1 ข้าราชการ 1,412 541 1,953 50.93 2 ลกู จา้ งประจา 142 80 222 5.79 3 พนักงานราชการ 41 34 75 1.96 4 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข 700 231 931 24.28 5 ลูกจา้ งชัว่ คราว (รายเดอื น) 289 365 634 17.05 รวม 2,584 1,251 3,835 100 อัตราส่วนบคุ ลากรสังกดั สานักงานสาธารณสขุ จงั หวดั เลยและโรงพยาบาลเลย ตอ่ ประชากร แยกตามสายงานสาคญั จงั หวัดเลย ปงี บประมาณ 2560 (ประชากร 639,801คน) ลาดับ ประเภทบุคลากร จานวน อตั ราสว่ น : หมายเหตุ ประชากร 1 แพทย์ 116 1 : 5516 2 ทนั ตแพทย์ 53 3 เภสชั กร 82 1 : 12,072 5 พยาบาลวิชาชพี 982 รวม 1,233 1 : 7802 1 : 652 จานวนและอตั ราตายต่อประชากร100,000คนตามกล่มุ สาเหตกุ ารตาย10กลุ่มแรกจงั หวดั เลยปี 2560 อนั ดบั สาเหตกุ ารตาย ปงี บประมาณ 2560 1 เนอ้ื งอก (รวมมะเรง็ ) (C00-D48 จานวน อัตรา 2 โรคระบบไหลเวยี นเลือด (I00-I99) 788 123.16 3 โรคระบบหายใจ(J00-J99) 4 โรคติดเช้อื และปรสติ (A00-B99) 637 99.56 5 โรคระบบสบื พนั ธร์ ว่ มปัสสาวะ(N00-N99) 6 โรคระบบยอ่ ยอาหารรวมโรคในช่องปาก (K00-K93) 506 79.09 7 โรคเกีย่ วกับตอ่ มไร้ท่อ โภชนาการและเมตะบอลิสมั (E00-E90) 8 โรคระบบประสาท (G00-G99) 425 66.43 9 อบุ ตั ิเหตุจากการขนสง่ และผลทีต่ ามมา (V01-V99,Y85) 10 โรคโรคผิวหนังและเนื้อเย่ือใต้ผิวหนัง 323 50.48 197 30.79 186 29.07 174 27.20 123 19.22 31 4.85

- 53 - จานวนและอัตราป่วยผ้ปู ่วยนอก ต่อประชากร 1,000 คน ตามกลุ่มสาเหตุการป่วย 10 อันดับแรก จังหวัดเลย ปีงบประมาณ 2560 ที่ สาเหตุการปว่ ย (กลุ่มโรค) จานวน อัตราปว่ ยตอ่ พัน ประชากร 1 โรคเบาหวาน 262,960 411.00 2 ความดนั โลหติ สงู ท่ีไม่มีสาเหตุนา 232,210 362.94 3 เนือ้ เยื่อผิดปกติ 210,035 328.28 4 การตดิ เช้อื ของทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลันอื่น ๆ 206,256 322.38 5 ความผดิ ปกติอ่ืน ๆ ของฟนั และโครงสรา้ ง 115,870 181.10 6 โรคอื่น ๆของหลอดอาหาร กระเพาะและดโู อเดนัม 106,600 166.61 7 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอ่นื ๆ 84,331 131.81 8 ฟันผุ 70,768 110.61 9 คออกั เสบเฉยี บพลันและตอ่ มทอนซินอักเสบเฉียงพลนั 68,649 107.30 10 โรคอื่น ๆ ของผวิ หนังและเนื้อเย่อื ใตผ้ ิวหนงั 63,091 98.61 จานวนและอัตราผู้ป่วยในตอ่ ประชากร 100,000 คน ตามกลุ่มสาเหตกุ ารปว่ ย 10 อันดบั แรก จงั หวดั เลย ปงี บประมาณ 2560 ที่ สาเหตุการปว่ ย (กลุ่มโรค) จานวน อตั ราปว่ ยต่อ แสนประชากร 1 ปอดบวม 6,302 2 การบาดเจ็บระบุเฉพาะอ่ืน ๆ 2,908 984.99 3 โลหติ จางอ่ืน ๆ 2,547 454.52 4 การดูแลมารดาอ่ืน ๆ ท่ีมปี ัญหาเกย่ี วกับทารกในครรภฯ์ 2,518 398.09 5 เบาหวาน 2,043 393.56 6 โรคอน่ื ๆ ของหลอดอาหาร กระเพาะและโอเดนมั 1,979 319.32 7 ภาวะแทรกซ้อนอนื่ ๆ ของการตง้ั ครรภแ์ ละการคลอด 1,949 309.31 8 โรคอกั เสบติดเชื้อของผิวหนังและเนอื้ เย่ือใต้ผิวหนงั 1,921 9 โรคอืน่ ๆ ของระบบทางเดินปัสสาวะ 1,877 304.63 10 หลอดลมอักเสบเฉยี บพลันและหลอดลมเล็กอักเสบเฉียบพลนั 1,775 300.25 293.37 277.43

- 54 - จานวนและอัตราป่วยด้วยโรคท่ีเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา 10อันดับแรก ปี 2560 (วันท่ี 1 มกราคม 2560 – วันที่ 31 ธนั วาคม 2560) ที่ โรค จานวน อัตราปว่ ย ผปู้ ว่ ย(ราย) (ต่อแสน.ปชก. 639,801คน) 1 อจุ จาระร่วง 2 ไข้ไมท่ ราบสาเหตุ 11,446 1788.99 3 ปอดบวม 5,890 920.60 4 ตาแดง 4,048 632.70 5 อาหารเปน็ พิษ 1,203 188.03 6 มอื เทา้ ปาก 1,033 161.46 7 ไข้หวดั ใหญ่ 150.52 8 สุกใส 963 127.54 9 ไขเ้ ลือดออก 816 86.59 10 โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์อน่ื ๆ 554 56.89 364 53.30 341 ปญั หาสาธารณสขุ ลาดับ ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 1 เบาหวาน ความ ดันโลหิตสงู มะเรง็ (ตับท่อน้าดี ปอด เตา้ นม โรคตดิ ต่อนาโดยแมลง โรคไมต่ ิดต่อNCD ( ไต 2 ยาเสพติด ปากมดลกู ) (ไขเ้ ลือดออกซกิ า) วาย หลอดเลือดหวั ใจ/ 3 มะเรง็ สมอง ความดันโลหติ สูง 4 สรุ าบหุ รี่ เบาหวาน ) 5 วัณโรคปอด 6 สารเคมีตกค้าง โรคไมต่ ิดต่อ (หอบหดื ไตวาย โรคไม่ตดิ ต่อ (ไตวาย วัณโรค ในเกษตรกร หลอดเลอื ดหัวใจความดันโลหติ หลอดเลอื ดหัวใจ/ สูง เบาหวาน ) สมองความดันโลหติ สงู เบาหวาน) โรคตดิ ตอ่ ท่สี าคัญ (ไขเ้ ลือดออก ยาเสพตดิ (คณุ ภาพการ ไข้เลอื ดออก วัณโรค บาบัด) อจุ าระร่วงเลปโต มือเทา้ ปาก) อนามัยแมแ่ ละเด็ก ผ้สู ูงอายรุ ้อยละ 14.77 การดูแลผู้สูงอายุ (LTC) ผ้สู ูงอายุ มะเร็ง (ตับ /ทอ่ น้าดี) ฆา่ ตัวตาย อบุ ัตเิ หตุ อุบัติเหตุ (16.62) พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ ในวยั รนุ่ (บหุ รี่ สรุ า)

- 55 - ลาดบั ปี 2557 ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 7 ไข้เลอื ดออก ยาเสพตดิ อนามยั แมแ่ ละเด็ก อจุ จาระร่วง /อาหาร (แม่ตายเด็กมีปัญหา เปน็ พิษ พฒั นาการ) 8 อุบัติเหตจุ ราจร แม่วยั ร่นุ สขุ ภาพจติ (ฆ่าตวั ตาย) เดก็ มปี ัญหาพัฒนาการ/ น้าหนักต่ากว่าเกณฑ/์ \"ม่ สมส่วน/เดก็ แรกเกดิ นน. ตา่ กวา่ เกณฑ์ 9 เอดส์ อนามยั สิ่งแวดล้อม (ขยะ แมว่ ัยรุ่น (ตง้ั ครรภซ์ า้ ) โรคไม่ตดิ ต่อNCD ( ไต 10 ผู้สูงอายุ ประปา อาหารปลอดภัย สาร ปนเปอื้ นในอาหาร สว้ ม ) วาย หลอดเลือดหวั ใจ/ บุหร่ี สรุ า สมอง ความดันโลหติ สูง เบาหวาน ) พฤติกรรมไม่พงึ ประสงคใ์ นวัยรนุ่ (บุหรี่ สรุ า) ข้อมลู ณ 20 สิงหาคม 2561 1.5.5 ครัวเรอื นยากจน21 จาแนกเป็นรายอาเภอ (ขอ้ มูล จปฐ. ปี 2561) อาเภอ จานวน จานวนครัวเรือน ครัวเรอื นทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์ จปฐ. หมู่บ้าน/ชุมชน ทั้งหมด จานวนครวั เรอื น เมืองเลย 33,402 12 นาดว้ ง 184 6,429 48 เชียงคาน 47 15,427 0 ปากชม 84 9,603 32 ดา่ นซ้าย 55 11,551 130 นาแห้ว 104 2,891 68 ภูเรือ 34 5,900 9 ทา่ ลี่ 50 7,094 24 วังสะพงุ 43 26,590 300 146 21 ท่ีมา : สานักงานพฒั นาชุมชนจังหวัดเลย

- 56 - อาเภอ จานวน จานวนครัวเรอื น ครัวเรอื นท่ีไมผ่ า่ นเกณฑ์ จปฐ. หม่บู า้ น/ชุมชน ทงั้ หมด จานวนครวั เรอื น ภกู ระดงึ 8,311 24 ภูหลวง 63 5,501 21 ผาขาว 46 8,706 48 เอราวณั 64 8,515 15 หนองหิน 47 5,574 48 38 รวม 155,495 779 1,005 1.5.6 การแกไ้ ขปญั หายาเสพติด22 1. ดา้ นการป้องกันยาเสพตดิ มีเปา้ หมายเสริมสร้างภูมิคมุ้ กันและปอ้ งกันยาเสพติดในกลมุ่ เดก็ เยาวชนทง้ั ในและนอก สถานศึกษา ผู้ใชแ้ รงงานและประชาชนท่วั ไปและสร้างความเขม้ แขง็ หมูบ่ ้าน/ชุมชน ให้มีระบบการป้องกนั และแก้ไข ปญั หายาเสพตดิ โดยไดด้ าเนนิ โครงการและจดั กจิ กรรมเพ่ือสร้างภูมคิ มุ้ กันให้กบั กล่มุ ต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มเด็กปฐมวัยร่วมกบั สานักงานปอ้ งกนั และปราบปรามยาเสพติดภาค 4 จดั อบรมครผู ู้สอนใน โรงเรยี นทีส่ งั กัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน จานวน 418 คน และครผู ู้ดแู ลเดก็ ในศูนยพ์ ฒั นาเด็ก เล็กสังกดั องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน จานวน 409 คน รวม 827 คนพร้อมมอบส่ือExclusive Functions หรือสอ่ื EFใหค้ รนู าไปใชใ้ นการเรียนการสอนใหก้ บั เด็กปฐมวัย กลุ่มเด็กและเยาวชนในสถานศกึ ษาในระดบั ประถมศึกษาและกล่มุ เด็กและเยาวชนในสถานศกึ ษา ระดบั ขยายโอกาส มธั ยมศึกษา อาชวี ศึกษาดาเนนิ โครงการและจดั กิจกรรมสร้างภมู คิ ุ้มกันและปอ้ งกันยาเสพตดิ เช่น กจิ กรรมเฝา้ ระวงั ปญั หายาเสพติด ได้แก่ การตรวจหาสารเสพตดิ ในปัสสาวะกบั เดก็ นักเรียนทเ่ี ป็นกลุ่มเสี่ยง สรา้ งแกนนาและสร้างเครือข่ายต้านภัยยาเสพตดิ ให้กบั กลุ่มนักเรียนทม่ี ีความประพฤติดีเพือ่ เป็นตวั อยา่ งท่ีดีให้กับ นักเรยี น ไดแ้ ก่ โครงการฝึกอบรมลกู เสือตา้ นภัยยาเสพติด โครงการคา่ ยทักษะชวี ติ โครงการตารวจประสานงาน 22 ทม่ี า : ศนู ย์อานวยการปอ้ งกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวดั เลย

- 57 - โรงเรียน 38 โรงเรียน โครงการครู D.A.R.E. (ครแู ดร)์ สอนให้ความรู้เกีย่ วกับโทษและอันตรายจากยาเสพตดิ ใหก้ ับ เด็กนกั เรยี น จานวน 191 โรงเรียนและการสรา้ งสภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสมใหก้ ับนักเรยี นโดยการออกตรวจสถาน ประกอบการและสถานบริการรอบสถานศึกษาตามโครงการจัดระเบียบสังคมรอบสถานศึกษาเดอื นละ 1 คร้ัง กลมุ่ เยาวชนระดับอุดมศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเลยไดด้ าเนนิ โครงการอบรมเครือขา่ ยแกนนา นกั ศึกษาเฝา้ ระวังปัญหายาเสพติดในสถาบนั การศึกษาโครงการอบรมแกนนานักศึกษารู้เทา่ ทนั ปัญหาเครอ่ื งดืม่ ท่ีมี แอลกอฮอล์-บหุ รี่ และจดั นิทรรศการ Show and Share รณรงคป์ ้องกันและแกไ้ ขปญั หายาเสพติด เครือขา่ ย ปอ้ งกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดภาคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน กลมุ่ เด็กและเยาวชนนอกสถานศึกษาดาเนนิ โครงการเยาวชนอาสารักษาดินแดนต้านภยั ยาเสพตดิ สรา้ งแกนนาและสร้างเครือขา่ ยต้านภัยยาเสพตดิ ให้กับกลมุ่ นักเรียนที่มีความประพฤติดี เปา้ หมาย 100 คน มีผ้เู ข้า รบั การอบรม 100 คน กลุม่ แรงงานในสถานประกอบ ดาเนนิ โครงการ/กิจกรรมเพื่อปอ้ งกันปญั หายาเสพตดิ ดงั น้ี 1.สถานประกอบการทม่ี ีลูกจ้างตา่ กวา่ 10 คนลงมา - อบรมใหค้ วามรู้กบั อาสาสมัครแรงงาน เป้าหมาย 90 คน มีอาสาสมัครแรงงานเขา้ รว่ มการอบรม จานวน 56 คน - อาสาสมัครแรงงาน จดั กิจกรรมใหค้ วามรู้ คาปรึกษา แนะนาแก่นายจ้าง ลูกจ้างในสถาน ประกอบการในพืน้ ท่ี 14 อาเภอ เป้าหมาย 70 แห่ง แรงงาน 210 คน ผลการดาเนินการ 73 แหง่ แรงงาน 289 คน - จัดเวทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรูด้ ้านการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด โดยจดั ประชุมเชิง ปฏบิ ัตกิ ารระหว่างเครือข่ายอาสาสมัครแรงงาน 1 ครง้ั จานวน 84 คน 2. สถานประกอบการท่ีมลี กู จา้ งตงั้ แต่ 10 คนข้ึนไป - จดั อบรมชี้แจงการจัดทาระบบการจัดการปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ เปา้ หมาย 60 คน มีผผู้ า่ นการอบรม จานวน 60 คน - การรับรองมาตรฐานการป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถานประกอบกิจการ (มยส.) เป้าหมายสถานประกอบกิจการ 5 แห่ง มีสถานประกอบกิจการผา่ นการประเมนิ 7 แหง่ - การดาเนนิ การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานประกอบกจิ การโครงการโรงงานสขี าว เป้าหมายสถานประกอบกิจการ 40 แห่ง ผลการดาเนนิ การ 43 แหง่ - จัดกิจกรรมรณรงค์เพ่ือสร้างเจตคติท่ีดีและสรา้ งความเข้มแข็งเครือขา่ ยแรงงานป้องกันยาเสพติด จานวน 1 ครัง้ - รณรงคป์ ระชาสมั พนั ธใ์ หค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพตดิ ในสถานประกอบ กจิ การ เป้าหมาย 70 แหง่ แรงงาน 2,000 คน ผลการดาเนินการ 85 แหง่ แรงงาน 2,534 คน การเสริมสร้างหมู่บ้านชมุ ชนเข้มแข็งไดด้ าเนนิ การสรา้ งความเข้มแขง็ ในการป้องกันและแกไ้ ข ปญั หายาเสพตดิ ใหก้ ับหมบู่ า้ น/ชมุ ชน จานวน 987 แห่ง ตามแนวทางการขับเคลื่อนพฒั นาประเทศโครงการไทย นยิ ม ยั่งยนื ร่วมแก้ไขปัญหายาเสพตดิ “หมบู่ ้าน/ชุมชนเขม้ แข็งเอาชนะยาเสพตดิ อย่างยงั่ ยืน” 7 ขนั้ ตอน ได้แก่

- 58 - ข้นั ตอนท่ี 1 ปรบั ปรงุ และจัดตง้ั องคก์ รในหมู่บ้านประกอบด้วย คณะกรรมการหมบู่ า้ น และชดุ รกั ษาความปลอดภัยของหมูบ่ ้านใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน ขั้นตอนที่ 2 จัดประชุมหมบู่ า้ นเพื่อกาหนด “ข้อตกลงหมู่บ้าน หรือขอ้ บังคับหมู่บ้าน” ใหเ้ ปน็ ลาย ลกั ษณ์อักษร ขนั้ ตอนท่ี 3 จดั ประชมุ ชแ้ี จงให้ประชาชนทุกคน ทุกครอบครวั ในหมู่บ้าน เขา้ มามสี ่วนร่วมในการ ปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหายาเสพตดิ อย่างแท้จริง ขัน้ ตอนท่ี 4 จัดตง้ั เวรยาม จุดตรวจของชดุ รักษาความปลอดภยั หมบู่ า้ นอยา่ งจริงจัง เพื่อ ควบคุมดูแลแหลง่ ม่ัวสมุ ในหมู่บา้ นและจดั ตง้ั คณะทางานหรือจติ อาสา เพอ่ื ตดิ ตามเฝา้ ระวังผ้ทู ่ีมหี รือเคยมีพฤติกรรม เกีย่ วขอ้ งกบั ยาเสพตดิ ขัน้ ตอนท่ี 5 กาหนดให้มกี ารจัดทาประชาคมลับเพื่อค้นหาผู้เก่ียวข้องกบั ยาเสพตดิ ในหมบู่ ้านท้ังผู้ เสพ ผู้ตดิ และผ้คู ้า ขนั้ ตอนที่ 6 จัดตัง้ กองทนุ แก้ไขปัญหายาเสพติดของหมบู่ ้าน ขน้ั ตอนที่ 7 รณรงคป์ ระชาสมั พันธ์เพ่ือสร้างความเขา้ ใจให้ทุกครวั เรือนในหมู่บ้านเขา้ ใจแนวทางใน การแก้ไขปญั หายาเสพตดิ ในหมบู่ า้ นฝกึ อบรมทบทวนชดุ รักษาปลอดภยั หมู่บา้ น/ชุมชน ทั้ง 14 อาเภอจานวน 14,805คน โครงการตรวจหาสารเสพติดของบคุ ลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และกานนั ผูใ้ หญ่บ้าน กิจกรรมทูบนี ัมเบอร์วนั การดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 นายชยั วฒั น์ ช่นื โกสมุ ผ้วู ่า ราชการจังหวัดเลยได้กาหนดเป้าหมาย “เดก็ และเยาวชนไทยเลยเปน็ หนึ่ง โดยไม่พงึ่ ยาเสพตดิ ”และจัดกจิ กรรม “คน้ หาตัวตนคน To be จังหวัดเลย” เพอื่ เป็นคลนิ ิกอาชีพ ให้คาแนะนา ปรึกษาอาชพี ต่างๆ ใหก้ บั สมาชกิ ชมรม To beNumber Oneและนกั เรียนระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 16 โรงเรยี นเพ่ือให้สมาชกิ มีต้นแบบ กลา้ คดิ กลา้ แสดงออก คน้ พบตวั ตนและพฒั นาศักยภาพของตนเองใหเ้ ต็มกาลงั ความสามารถ สรา้ งจิตสานกึ ท่ดี ี พัฒนาสู่ ความเปน็ จติ อาสา และพลเมืองท่ีดีของจังหวัดเลยต่อไป โดยในสว่ นการจัดกิจกรรม To beNumber Oneในสถาน ประกอบการมีศูนย์เพื่อนใจ To beNumber Oneและจัดทาสอ่ื รณรงค์ป้องกนั และแก้ไขปญั หายาเสพติดในสถาน ประกอบการ จานวน 29 แหง่ และคดั เลือก บริษัท เจริญโภคภณั ฑก์ ารเกษตรจากดั เป็นตวั แทนสถานประกอบการ เขา้ ร่วมการประกวดกจิ กรรม To beNumber One ในระดับภาค และผลสาเร็จของการดาเนินโครงการ To beNumber One ในปี 2561 จังหวดั เลยไดเ้ ลอ่ื นสถานะเป็นจงั หวัด To beNumber One ระดบั ดีเดน่ และไป นาเสนอผลงานในระดบั ประเทศ ระหว่างวนั ท่ี 13 – 15 กรกฎาคม 2561 ณ ศนู ยป์ ระชุม Impact Forum เมือง ทองธานี การดาเนนิ การตามแนวทางการสร้างสภาพแวดลอ้ มและการมสี ่วนร่วมของประชาชน การดาเนินงานกองทุนแม่ของแผน่ ดิน จังหวดั เลยมกี องทุนแมข่ องแผน่ ดนิ ตง้ั แต่ ปี 2546 – 2560 327 กองทนุ และในปี 2561 มีตน้ กล้ากองทุนแม่ของแผ่นดิน 16 กองทุน รวมเปน็ 341 กองทนุ และมีศนู ยเ์ รยี นรู้ กองทุนแม่ของแผน่ ดิน 17 ศูนย์ มีเงนิ ทุนและเงนิ สมทบ 8,600,000 บาท

- 59 - การดาเนินงานจดั ระเบยี บสงั คม จังหวดั เลยมีชุดปฏิบตั ิการจัดระเบียบสงั คมแบบบูรณาการ จานวน 15 ชดุ แบ่งเป็นระดบั จังหวัด 1 ชดุ ระดบั อาเภอ 14 ชดุ โดยออกปฏิบตั ิการเป็นประจาทุกเดอื น เดือนละ อยา่ งน้อย 3 ครั้ง ทาให้สามารถควบคมุ สถานบริการ สถานประกอบการคล้ายสถานบริการ มิใหเ้ ปน็ แหลง่ แพร่ ระบาดยาเสพตดิ ได้เป็นอยา่ งดี 2. ดา้ นการปราบปรามยาเสพตดิ ได้มุ่งสืบสวนปราบปรามจับกุมคดีรายสาคัญ การยึดทรัพย์คดียาเสพติดตามหมายจับค้างเก่า และ ขออนุมัติออกหมายจับคดีรายสาคัญ มีผลการดาเนินการดังน้ี การสืบสวนปราบปรามคดีรายสาคัญ เป้าหมาย 473 ราย ดาเนินการแล้ว 633 ราย คิดเป็นร้อยละ 133 การดาเนินการทรัพย์สินคดียาเสพติด เป้าหมาย 28 ราย มูลค่า 5,002,300 บาท ดาเนินการแล้ว 26 ราย มูลค่า 13,104,731บาท คิดเป็นร้อยละ 92.85 คดีหมายจับค้างเก่า เป้าหมาย 30 ราย ดาเนินการแล้ว 36 ราย คิดเป็นร้อยละ 120 ขออนุมัติหมายจับคดรี ายสาคัญ เป้าหมาย 11 ราย ดาเนินการแลว้ 12 ราย คิดเป็นร้อยละ 109 ผลการจับกุมคดียาเสพติดตั้งแต่วันท่ี 1 ตุลาคม – 31 กรกฎาคม 2561 มีการจับกุมได้ จานวน 2,668 คดี ผู้ต้องหา 2,760 คน ของกลาง ยาบ้า 6,870,462เม็ด กัญชาแห้ง 17,862 กรัม กัญชาสด 1,535 ต้น ไอซ์161,969 กรัม กระทอ่ ม 5,528 ใบ และยดึ ทรัพย์ 11,980,034 บาท การประสานความรว่ มมือกับประเทศเพ่ือนบา้ น จังหวดั เลยมีการเสรมิ สร้างความ สัมพันธ์ชายแดน ระดับจังหวัด- แขวง และระดับอาเภอ-เมือง ได้แก่ การแข่งขันกีฬาเชื่อม ความสัมพันธ์ การจัดกิจกรรมส่งเสริมวัฒนธรรมประเพณี การประชุมคณะอนุกรรมการรักษาความสงบเรียบร้อย ตามแนวชายแดน และจัดทาบันทึกข้อตกลงในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ระหว่างจังหวัดเลย กบั แขวง ไซยะบูลี ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

- 60 - 3. ดา้ นการบาบัดฟื้นฟูและฝึกอาชพี การบาบดั รักษาผู้เสพติดทกุ ระบบ มีเป้าหมาย รวมท้งั สิ้น 1,796คน ดาเนนิ การแลว้ 1,156 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 64.36 จาแนกเปน็ ระบบสมัครใจบาบัดในสถานพยาบาล เปา้ หมาย 882คน ดาเนนิ การแลว้ 348 คน คดิ เป็นร้อยละ 39.46 ศนู ยป์ รบั เปล่ียนพฤตกิ รรม เปา้ หมาย 400 คน ดาเนนิ การแล้ว 394 คน คิดเปน็ ร้อยละ 98.50 ระบบบงั คบั บาบดั เปา้ หมาย 362 คน ดาเนินการแล้ว325คน คิดเป็นร้อยละ89.78 ระบบตอ้ งโทษบาบดั เป้าหมาย 150 คน ดาเนินการแล้ว 89 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 58.55 1.6 โครงสร้างพ้ืนฐาน 1.6.1 ไฟฟา้ 23 1. ครัวเรอื นท่ีมีไฟฟา้ ใช้ และไมม่ ไี ฟฟ้า จาแนกเปน็ รายอาเภอ (ข้อมลู เดอื น มิถุนายน 2561) ที่ อาเภอ จานวนครวั เรอื น (ขอ้ มลู เดือน มถิ นุ ายน 2561) 1 เมืองเลย ทัง้ หมด มีไฟฟา้ ใช้ ไม่มีไฟฟ้าใช้ มไี ฟฟา้ ใชค้ ิดเปน็ 2 นาด้วง 3 ท่าลี่ 49,476 42,890 6,586 86.69% 4 ภูเรอื 5 วังสะพงุ 8,607 7,415 1,192 86.15% 6 ภกู ระดึง 7 ผาขาว 10,296 9,018 1,278 87.59% 8 ภูหลวง 9 หนองหนิ 8,349 7,110 1,239 85.16% 10 เอราวัณ 11 เชียงคาน 36,788 33,431 3,357 90.87% 12 ปากชม 13 ด่านซา้ ย 10,960 10,037 923 91.58% 14 นาแห้ว 11,617 10,865 752 93.53% รวม 7,358 6,244 1,114 84.86% 7,675 7,184 491 93.60% 11,224 9,425 1,799 83.97% 21,259 18,806 2,453 88.46% 13,664 11,903 1,761 87.11% 17,188 15,389 1,799 89.53% 3,779 3,728 51 98.65% 218,240 193,445 24,795 88.64% 23 ทม่ี า : การไฟฟา้ ส่วนภูมิภาคจงั หวดั เลย

- 61 - 2. จานวนครัวเรอื นทใี่ ชไ้ ฟฟ้าและปรมิ าณการใชก้ ระแสไฟฟา้ แตล่ ะปี ปี 2561 ที่ อาเภอ จานวนราย/ครัวเรอื น จานวนหนว่ ย/ปี 1 เมอื งเลย (ขอ้ มลู เดอื น มิถนุ ายน 2561) (ขอ้ มลู เดอื น มิถนุ ายน 2561) 2 นาดว้ ง 3 ทา่ ลี่ 42,890 74,230,550.50 4 ภูเรือ 5 วงั สะพงุ 7,415 11,457,618.91 6 ภกู ระดงึ 7 ผาขาว 9,018 7,164,836.41 8 ภูหลวง 9 หนองหิน 7,110 8,776,235.74 10 เอราวัณ 11 เชียงคาน 33,431 40,198,585.38 12 ปากชม 13 ดา่ นซา้ ย 10,037 8,705,782.42 14 นาแห้ว 10,865 6,999,445.04 รวม 6,244 3,902,386.74 7,184 5,557,325.93 9,425 14,076,266.81 18,806 23,503,249.87 11,903 8,509,775.15 15,389 13,891,710.74 3,728 1,722,415.13 193,445 228,696,184.77 3. แผนการขยายเขตไฟฟา้ ใหค้ รวั เรอื นไม่มไี ฟฟ้าใช้ ปัจจุบนั การไฟฟา้ สว่ นภมู ภิ าคจังหวดั เลยไดด้ าเนินโครงการขยายเขตไฟฟา้ ให้บ้านเรือนราษฎร - รายใหม่ (คฟม.) และโครงการขยายเขตไฟฟ้าใหบ้ า้ นเรอื นราษฎรที่อยู่ห่างไกล (คฟก.) โดยมีสถานะการดาเนินงานดังน้ี (สถานะ 12 สงิ หาคม 2560) ที่ การไฟฟา้ จัดเขา้ โครงการ กอ่ สรา้ งแล้วเสรจ็ กอ่ สรา้ งคงเหลอื สารวจแลว้ ยงั ไม่ รวม จัดเขา้ โครงการ รวม งาน ครัวเรอื น งาน ครวั เรือน งาน ครวั เรอื น งาน ครวั เรือน 1 การไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคจังหวัดเลย 17 55 2 7 15 48 6 49 2 การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคสาขาอาเภอวังสะพุง 21 213 7 71 14 142 10 131 3 การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคสาขาอาเภอเชยี งคาน 6 110 1 18 5 92 0 0 4 การไฟฟ้าส่วนภมู ภิ าคสาขาอาเภอดา่ นซ้าย 15 92 0 0 15 92 6 31 รวม 59 470 10 96 49 374 22 211 หมายเหตุ 1. ขอ้ มูลการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคจังหวัดเลย หมายถงึ ขอ้ มูลรวมของ อาเภอเมอื งเลย, อาเภอนาดว้ ง, อาเภอทา่ ลี่, อาเภอภูเรอื

- 62 - 2. ข้อมลู การไฟฟา้ ส่วนภมู ภิ าคสาขาอาเภอวงั สะพงุ หมายถงึ ข้อมลู รวมของ อาเภอวังสะพงุ , อาเภอหนองหิน, อาเภอเอราวณั , อาเภอผาขาว, อาเภอภหู ลวง, อาเภอภูกระดงึ 3. ข้อมูลการไฟฟ้าสว่ นภูมภิ าคสาขาอาเภอเชยี งคาน หมายถึง ขอ้ มลู รวมของ อาเภอเชียงคาน, อาเภอปากชม 4. ขอ้ มูลการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าคสาขาอาเภอดา่ นซา้ ย หมายถงึ ขอ้ มลู รวมของ อาเภอดา่ นซา้ ย, อาเภอนาแหว้ 4. ความสามารถในการส่งจ่ายกาลังไฟฟ้า ท่ี สถานีไฟฟา้ ระบบแรงดนั ไฟฟ้า (kV) ขนาดหม้อแปลง (MVA) 50.0, 50.0 1 เลย 22 25.0 25.0 2 ด่านซา้ ย 1 115 25.0 3 ทา่ ลี่ 115 4 เชียงคาน 115 5. กาลงั การผลติ พลงั งานไฟฟ้า ท่ี โรงไฟฟ้า แหลง่ พลังงาน/เชอ้ื เพลง กาลงั การผลิตติดตัง้ (MVA) 1 โรงไฟฟา้ พลังงานน้าขนาดเล็ก น้าหมัน น้า 5.0 2 โรงไฟฟ้าพลังงานน้าขนาดเลก็ นา้ สาน น้า 6.0 3 บรษิ ทั โซลาร์เพาเวอร์ จากัด (เลย 1) 7.46 3 บริษทั โซลารเ์ พาเวอร์ จากดั (เลย 2) แสงอาทติ ย์ 7.46 แสงอาทติ ย์ 4 บริษัท จ.เจรญิ มาร์เก็ตตงิ้ จากัด ชวี มวล 1.8 5 บรษิ ัท โรงไฟฟ้านา้ ตาลขอนแก่น จากดั ชวี มวล 1.5 1.6.2 ประปา24 ครัวเรือนท่ีมนี า้ ประปาใช้ (ข้อมูล ณ เดือนสงิ หาคม 2560) แม่ขา่ ย/หนว่ ยบรกิ าร กาลังผลติ (ลบ.ม./ชม.) ผ้ใู ช้น้า(ราย) แม่ข่ายเลย 1,100 17,048 หน่วยบรกิ ารปากหว้ ย-ปากคาน 50 901 หนว่ ยบริการอาฮี 30 619 แมข่ า่ ยวงั สะพุง 330 7,160 หนว่ ยบริการเอราวณั 20 420 หน่วยบรกิ ารหนองหนิ 40 342 หนว่ ยบริการนาดอกไม้ 20 137 24 ทม่ี า : การประปาสว่ นภูมภิ าค สาขาเลย,สาขาดา่ นซ้าย,สาขาเชียงคาน,สาขาวังสะพงุ

- 63 - แมข่ ่าย/หน่วยบรกิ าร กาลงั ผลติ (ลบ.ม./ชม.) ผใู้ ช้น้า(ราย) แม่ข่ายดา่ นซ้าย 130 2,832 หน่วยบรกิ ารภูเรอื 50 1,046 หนว่ ยบริการนาแหว้ 50 482 แม่ข่ายเชียงคาน 230 5,121 หนว่ ยบรกิ ารบา้ นธาตุ 80 1,495 หน่วยบริการปากชม 50 1,163 รวม 2,180 38,766 1.6.3 โทรศพั ท์25 (ข้อมลู ณ เดอื นสงิ หาคม 2560) 78 ชุมสาย โทรศัพท์ : จานวนชุมสาย 30,054 เลขหมาย จานวนเลขหมาย 9,787 เลขหมาย จานวนผใู้ ชบ้ รกิ าร 186 ชุมสาย อินเทอรเ์ นต็ : จานวนชุมสาย 22,200 เลขหมาย จานวนเลขหมาย 8,725 เลขหมาย จานวนผู้ใชบ้ ริการ 1.6.4 ไปรษณีย์26 จังหวดั เลย มีที่ทาการไปรษณีย์ ทีใ่ ห้บริการแก่ประชาชน จานวน 16 แหง่ ดงั น้ี อาเภอ เมือง วงั สะ เชียง ด่าน ภเู รอื ปากชม นาดว้ ง ภูกระดงึ ทา่ นา ผาขาว ภหู ลวง เอราวณั หนอง ไปรษณยี ์ เลย พงุ คาน ซ้าย ล่ี แห้ว หิน (แหง่ ) 3 1 1 1 1 1 1 1 11 1 1 1 1 25 ทีม่ า : บ.ทโี อที จากัด (มหาชน) 26 ทม่ี า : ทที่ าการไปรษณียจ์ งั หวดั เลย

- 64 - 1.6.5 การคมนาคมและขนส่ง27 การเดินทางสจู่ ังหวดั เลยสามารถเดนิ ทางโดยทางบก ไมม่ ีเส้นทางรถไฟ 1. ทางบก มที างหลวงสายสาคญั ไดแ้ ก่ - เส้นทาง กรงุ เทพฯ – ชัยภมู ิ – เลย ระยะทาง 567 กิโลเมตร - เส้นทางกรุงเทพฯ – ขอนแกน่ – เลย ระยะทาง 755 กโิ ลเมตร - เส้นทางกรงุ เทพฯ – เพชรบรู ณ์ – เลย ระยะทาง 520 กิโลเมตร เสน้ ทางคมนาคม แขวงทางหลวงเลย ที่ 1 มีหมวดทางหลวงจานวน 6 หมวดทางหลวง รับผิดชอบ 17 สายทาง 24 ตอนควบคุม รวมความยาว 610.469 กิโลเมตร แยกเป็น 2 ช่องจราจร จานวน 500.022 กิโลเมตร แยกเป็น 4 ช่องจราจร จานวน 102.952 กิโลเมตร เป็น 5 ช่องจราจร จานวน 0.600 กิโลเมตร เป็น 6 ช่องจราจร จานวน 5.865 กโิ ลเมตร และ 8 ช่องจราจร จานวน1.030 กโิ ลเมตร ทางจักรยาน จานวน 27.200 กิโลเมตร มที างหลวงสายหลัก จานวน 4 สายทาง ดังน้ี 1) ทล. 21 ตอน ภสู วรรค์ – เลย ระหวา่ ง กม.392+874 - กม.412+874 ระยะทาง 20.000 กม. 2) ทล. 201 ตอน ผานกเคา้ – เชยี งคาน ระหวา่ ง กม.266+456 – กม395+199 ระยะทาง 128.743 กม. 3) ทล. 210 ตอน วงั สาราญ – วังสะพุง ระหวา่ ง กม.94+048 – กม.118+908 ระยะทาง 24.860 กม. 4) ทล. 211 ตอน ห้วยเชียงดา – เชยี งคาน ระหว่าง กม.112+000 – กม.184.360 ระยะทาง 72.360 กม. แขวงทางหลวงเลย ท่ี 2 (ด่านซ้าย) แขวงทางหลวงเลยที่ 2 (ด่านซ้าย) มีจานวน 5 หมวดทางหลวง รับผิดชอบ 15 สายทาง ความยาว 525.854 กิโลเมตร แยกเป็น 2 ช่องจราจร จานวน 494.147 กิโลเมตร เป็น 3 ช่อง จราจร จานวน 11.457 กิโลเมตร เป็น 4 ช่องจราจร จานวน 17.474 กิโลเมตร เป็น 6 ช่องจราจร จานวน 2.776 กิโลเมตร ยังมพี น้ื ทีเ่ สน้ ทางสายท่ีควรปรบั ปรงุ /ซอ่ มแซม จานวน 15 สายทาง ความยาว 525.854 กิโลเมตร แขวงทางหลวงชนบทเลย รับผิดชอบทางหลวงชนบท 26 สายทาง ความยาว 538.799 กิโลเมตร แยกเปน็ ทางลาดยาง 534.274 กโิ ลเมตร เป็นทางคอนกรตี 4.525 กิโลเมตร ยานพาหนะ จานวนรถทจี่ ดทะเบียนสะสม ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2560 ตามพระราชบญั ญัติรถยนต์ พ.ศ. 2522 รวม ทงั้ สนิ้ 256,205 คนั โดยสว่ นใหญเ่ ป็นรถจกั รยานยนต์ จานวน 146,372 คัน รองลงมา ได้แก่ รถยนตบ์ รรทุกสว่ นบุคคล จานวน 64,063 คัน และรถยนต์น่งั ส่วนบคุ คลไม่เกนิ 7 คน จานวน 35,227 คัน ส่วนจานวนรถท่ีจดทะเบียนสะสม ตาม พระราชบัญญตั ิการขนส่งทางบก พ.ศ. 2522 รวมทั้งส้ิน 11,448 คัน โดยส่วนใหญ่เป็นรถบรรทกุ จานวน 10,777 คนั รองลงมาเป็นรถโดยสาร จานวน 671 คนั สถิตริ ถจดทะเบียนใหม่ 3 ปยี ้อนหลัง (ปี 2558 - 2560) ในปี 2559 ทัง้ รถยนต์สว่ นบคุ คล และรถยนต์นั่ง สว่ นบุคคลไม่เกิน 7 คน มแี นวโน้มลดลง ซึ่งอาจเนื่องมาจากสภาวะเศรษฐกจิ และรายได้ของประชาชนลดลง ทาใหอ้ ปุ สงค์ การซอื้ รถมแี นวโนม้ ลดลงตามไปด้วย และมแี นวโน้มสูงข้ึนในปี 2560 อาจเน่อื งมาจากบริษัทจาหนา่ ยรถยนต์มีการจัด โปรโมช่นั ทีน่ า่ สนใจ ประกอบกับการปล่อยสินเชอื่ ที่ประชาชนสามารถเข้าถึงได้งา่ ย สว่ นรถจกั รยานยนต์มีแนวโนม้ สงู ข้นึ อย่างต่อเนือ่ ง 27 ที่มา : แขวงการทางเลย ที่ 1, แขวงการทางเลย ที่ 2 ดา่ นซ้าย, สานกั งานทางหลวงชนบทจังหวัดเลย, ดา่ นศลุ กากรเชียงคาน,ด่านศลุ กากรทา่ ล่ี, ท่าอากาศยานเลย,ขนสง่ จงั หวัดเลย

- 65 - 2. ทางนา้ การคมนาคมทางนา้ ได้แก่ แม่นา้ โขง ท่าเรือในแมน่ ้าโขงมีที่ขนถ่ายสินคา้ 2 แห่ง เปน็ ท่าเรอื ขนถา่ ยสินคา้ กับ ประเทศ สปป.ลาว - ท่าเรือเชยี งคาน อาเภอเชียงคาน - ท่าเรือบ้านคกไผ่ อาเภอปากชม ทา่ เรอื ทัง้ 2 แหง่ อย่ใู นการกากบั ของด่านศุลกากรเชียงคาน แม่นา้ เหือง มีเรอื โดยสารที่ บา้ นหนองผอื บ้านปากหว้ ย ตาบลหนองผอื อาเภอท่าล่ี ปัจจบุ นั มสี ะพานขา้ มแม่นา้ เหือง จานวน 1 แห่ง คือ สะพานมิตรภาพนา้ เหอื ง ไทย – ลาว ทบ่ี า้ นนากระเซง็ ตาบลอาฮี อาเภอทา่ ล่ี ตรงขา้ ม บ้านเมืองหมอ เมืองแก่นทา้ ว แขวงไชยะบูลี สปป.ลาว 3. ทางอากาศ กระทรวงการคลัง ไดอ้ อกกฎกระทรวง กาหนดท่าหรือท่ี สนามบินศลุ กากรทางอนมุ ัติ ด่านพรมแดน และ ด่านศุลกากร (ฉบับท่ี 13) พ.ศ. 2560 ตอนที่ 7 ก ลงวันท่ี 11 มกราคม 2560 และได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 134 ตอนที่ 7 ก วันที่ 17 มกราคม 2560 กาหนดให้สนามบินเลย จังหวัดเลย เป็นสนามบินศุลกากร เพื่อให้เป็นที่นาของเข้าหรือส่งของออก หรือสาหรับส่งของออกซึ่งของท่ีขอคืนอากรขาเข้าหรือของท่ีมีทัณฑ์บนทุก ป ระ เภ ท ท่ าอ าก าศ ย าน เล ย มี ข น าด ท างวิ่ ง 2,100 x 45 เม ต ร ส าม าร ถ รอ งรับ เค รื่อ งบิ น Boeing 737 และ Airbus 320 ได้ และลานจอดอากาศยานอากาศยานสามารถจอดเคร่ืองบิน Boeing หรือ Airbus 320 พร้อมกันได้ จานวน 2 ลา ปัจจบุ ันทา่ อากาศยานเลยมสี ายการบินพาณิชยท์ าการบินข้ึนลง จานวน 2 สายการบนิ คือสายการบินนกแอร์ (Nok Air)และสายการบินไทยแอรเ์ อเชยี (Thai Air Asia) เปดิ ทาการบนิ ทกุ วนั 1.7 ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม28 1.7.1 ขอ้ มลู พื้นท่ีป่าไมใ้ นทอ้ งทจี่ งั หวดั เลย ประเภท เน้อื ท่ี หมายเหตุ พ้นื ท่ีป่าไม้ 1. ปา่ ไม้ถาวร (ไร่-งาน-ตารางวา) 2. ปา่ สงวนแหง่ ชาติ จานวน 22 ป่า 68,498 – 1 – 00 - พื้นท่ปี า่ สงวนแห่งชาติท่มี อบให้ 3. อทุ ยานแหง่ ชาติ จานวน 5 แหง่ 2,745,847 – 1 - 55 ส.ป.ก. เพ่อื นาไปปฏริ ูปท่ีดนิ ให้แก่ 4. เขตรักษาพันธ์ุสตั ว์ปา่ จานวน 2 แหง่ 475,475 – 1 – 00 ราษฎร รวมเนือ้ ที่ 1,127,528 – 2 – 648,515 – 0 – 00 45 ไร่ ปัจจบุ นั คงเหลือเปน็ พ้นื ทปี่ า่ รวม สงวนแห่งชาติ เนอ้ื ทป่ี ระมาณ 3,938,335 – 3 –55 ไร่ 2,745,847 – 1 – 55 ไร่ 28 ท่มี า : สนง.ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมจงั หวัดเลย

- 66 1) ป่าสงวนแหง่ ชาติ มจี านวน 22 ปา่ รวมเน้ือทตี่ ามกฎหมาย 4,387,304 ไร่ หรือ 7,019.69 กม.2 ลาดับ ช่ือ ประกาศโดย ต้งั อยู่ในเขต พื้นทีป่ า่ ตาม พื้นทีป่ า่ สงวนแห่งช ท่ี ปา่ สงวนแห่งชาติ กฎกระทรวง ท้องที่อาเภอ แผนทท่ี า้ ย ฉบับท่ี...(พ.ศ) กฎกระทรวง พ้นื ทป่ี ่าเพอื่ การ (1) (2) (4) (ไร่ –งาน-ตรว.) อนรุ กั ษ์เพ่ิมเตมิ (3) ( Zone C ) 1. ปา่ โคกหนิ นกยูง เอราวณั , (5) ฉบับที่ 111 วงั สะพุง (6) 2. ปา่ ภหู งส์ (พ.ศ. 2509) เชียงคาน 19,968 ฉบับที่ 120 4,650 – 0 - 00 3. ป่าโคกใหญ่ (พ.ศ. 2509) ฉบบั ท่ี 129 21,193 5,468 – 0 - 00 4.* ปา่ ดงซาทอง (พ.ศ. 2509) ปา่ ดงหนองไผ่ ฉบบั ท่ี 139 เมืองเลย 41,600 9,700 – 0 - 00 และปา่ ดงผาสามยอด (พ.ศ. 2509) วงั สะพุง , 208,547 5,718 – 0 - 00 5. ป่าภูชา้ ง ฉบับท่ี 150 ผาขาว , (เฉพาะพ้ืนที่ 31,912 – 0 -00 และป่าภนู กกก (พ.ศ. 2509) เอราวณั , สว่ นท่ีตงั้ อย่ใู น ฉบบั ที่ 214 หนองหนิ เขตจงั หวดั เลย) 6. ป่าภเู ปอื ย (พ.ศ. 2510) ฉบบั ที่ 353 เชียงคาน 50,812 7. ปา่ โคกผาดา (พ.ศ. 2511) ป่าโคกหนองข่า ภูกระดงึ 45,000 45,000 – 0 -00 และป่าภูบอบิด ฉบับท่ี 412 (พ.ศ. 2512) เมืองเลย,นาด้วง, 402,688 135,513 –0-00 8.* ป่าห้วยอเี ลศิ ฉบับท่ี 424 วังสะพุง , (พ.ศ. 2512) เอราวัณ 7,700 - 9. ปา่ ดงซาแมน่ าง วงั สะพุง 12,225 –0 - 00 (พ้ืนท่ีคิดคานวณใหม)่ วังสะพุง 22,000

6- 2 ปัจจบุ นั คงเหลือเป็นพ้นื ทีป่ ่าสงวนแหง่ ชาติ เน้ือท่ปี ระมาณ 2,745,847–1–55 ไร่ ดังน้ี ชาติจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ฯ (ไร่ ) พื้นท่ี ปา่ สงวนแห่งชาติ คงเหลือพ้ืนที่ ป่าสงวนแหง่ ชาติ ซอ้ นทับพนื้ ทก่ี าหนด ปา่ สงวนแหง่ ชาติ พื้นทปี่ ่า พน้ื ที่ป่าทีเ่ หมาะ กนั กลับคนื ตาม เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาต/ิ (ไร่ – งาน - ตรว.) เพื่อเศรษฐกิจ สมต่อการเกษตร บนั ทึกขอ้ ตกลงฯ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั วป์ า่ ( Zone E ) (ไร่ – งาน - ตรว.) (ไร่ – งาน - ตรว.) (11)=(6)+(9)-(10) ( Zone A ) (9) ( 10 ) 9,259 – 0 – 00 (7) (8) 4,609 – 0 -00 - 15,318 – 0 -00 - 15,725 – 0 -00 - 4,325 – 0 -38 - 9,793 – 0 – 38 31,900 – 0 -00 - 2,635 – 3 -95 - 12,335 – 3 – 95 202,829 –0-00 - 15,254 –3-51 - 20,972 – 3 – 51 18,900 – 0 -00 - 2,402 – 0 -00 - 34,314 – 0 – 00 - 1,130 – 0 – 00 - - 43,870 – 0 – 00 225,015 – 0 – 00 267,175 –0-00 (พน้ื ที่ อช.ภผู ามา่ น) 7,700 – 0 - 00 - 89,502 –0-00 - 9,775 – 0 - 00 - 92 – 0 - 00 - 92 – 0 – 00 - 5,811 – 0 -00 - 18,036 – 0 - 00

- 67 ลาดบั ชอ่ื ประกาศโดย ตง้ั อยูใ่ นเขต พ้นื ทป่ี ่าตาม พ้นื ทป่ี า่ สงวนแหง่ ช ที่ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ กฎกระทรวง ท้องทอ่ี าเภอ แผนทท่ี า้ ย ฉบับท.่ี ..(พ.ศ.) กฎกระทรวง พน้ื ทป่ี า่ เพอ่ื การ (1) (2) (4) (ไร่–งาน -ตรว.) อนรุ กั ษ์เพ่มิ เตมิ (3) ( Zone C ) 10. ป่าภหู ลวง วงั สะพงุ , (5) และป่าภูหอ ฉบบั ท่ี 643 ภหู ลวง (6) (พ.ศ.2517) 235,937 199,662 –0-00 11.* ปา่ ภูห้วยปูน ฉบบั ที่ 697 วังสะพุง 12,975 4,500 – 0 - 00 และปา่ ภแู ผงม้า (พ.ศ.2517) 390,375 –0-00 ฉบบั ที่ 749 เมืองเลย , (พ้ืนท่ีคิดคานวณใหม)่ 12. ปา่ โคกภูเหล็ก (พ.ศ.2518) วังสะพุง , 655,075 –0-00 ภเู รือ , เชียงคาน 478,125 56,043 - 1 -00 13. ป่าภูเขาแก้ว ฉบับที่ 750 194,950 –0-00 และป่าดงปากชม (พ.ศ.2518) เชยี งคาน , 853,500 ฉบบั ท่ี 870 ปากชม 91,662 262,719 –0-00 14. ป่าภูห้วยหมาก (พ.ศ.2522) เมอื งเลย , ปา่ ภทู อก เชียงคาน และปา่ ภบู ่อบิด ฉบับที่ 897 (พ.ศ.2523) ภกู ระดึง , 231,250 15. ป่าภูค้อ ภหู ลวง , 340,019 และปา่ ภกู ระแต ฉบบั ท่ี 928 หนองหิน (พ.ศ.2524) 16. ป่าดงขุนแคม ท่าล่ี , ป่าโคกใหญ่ ภเู รอื ป่าภูผาแงม่ และปา่ ลาดค่าง ฉบับที่ 1,041( นาแห้ว , 912,826 797,876 –0-00 พ.ศ.2527) ด่านซ้าย , (เฉพาะพ้ืนท่ี 17. ปา่ ภูเปอื ย สว่ นที่ตั้งอยู่ใน ปา่ ภูขีเ้ ถ้า ภูเรือ เขตจงั หวดั เลย) และป่าภูเรอื

7- ชาติจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ฯ (ไร่ ) พ้ืนที่ ปา่ สงวนแหง่ ชาติ คงเหลอื พ้ืนท่ี ป่าสงวนแห่งชาติ ซ้อนทบั พื้นท่กี าหนด ป่าสงวนแหง่ ชาติ พน้ื ที่ปา่ พนื้ ท่ีป่าท่ีเหมาะ กันกลับคนื ตาม เป็นอุทยานแหง่ ชาต/ิ (ไร่ – งาน - ตรว.) เพื่อเศรษฐกิจ สมตอ่ การเกษตร บันทกึ ข้อตกลงฯ เขตรกั ษาพนั ธส์ุ ตั ว์ปา่ (11)=(6)+(9)-(10) ( Zone E ) (ไร่ – งาน - ตรว.) (ไร่ – งาน - ตรว.) ( Zone A ) 54,680 – 0 – 00 (9) ( 10 ) (7) (8) 7,693 – 0 – 00 - 144,982 – 0 –00 36,275 – 0 -00 - (พืน้ ท่ีเขตรักษาพันธ์ุ 3,193 – 0 -00 8,475 – 0 – 00 - สตั ว์ปา่ ภูหลวง) - 87,750 – 0 –00 - 12,498 –0-38 89,551 – 0 – 00 313,322 – 0 – 38 198,425–0–00 (พื้นท่ีเขตรักษาพันธ์ุ 701,170 – 3 – 01 สัตว์ป่าภูหลวง) - 46,095 –3-01 - 35,618 – 3 -00 - 5,970 – 0 -00 - 62,013 – 1 – 00 36,300 – 0 –00 - 9,111 – 0 -00 145,285 – 0– 00 58,776 – 0 – 00 77,300 – 0 -00 (พ้ืนที่เขตรักษาพนั ธุ์ 287,468 – 0 - 00 สตั ว์ปา่ ภูคอ้ -ภูกระแต) - 24,749 –0-00 - 114,950 –0-00 - 44,661 –0-00 83,522 – 0 – 00 759,015 – 0 – 00 (พนื้ ท่ี อช.ภสู วนทราย และ อช.ภหู ินร่องกล้า)

- 68 ลาดบั ชือ่ ประกาศโดย ตั้งอยใู่ นเขต พ้ืนที่ปา่ ตาม พืน้ ท่ปี ่าสงวนแหง่ ท่ี ปา่ สงวนแหง่ ชาติ กฎกระทรวง ทอ้ งที่อาเภอ แผนที่ท้าย ฉบับท่ี...(พ.ศ.) กฎกระทรวง พ้นื ทป่ี ่าเพ่อื การ (4) (ไร่–งาน -ตรว.) อนรุ กั ษ์เพมิ่ เตมิ (1) (2) (3) ( Zone C ) วงั สะพุง (5) 18. ป่าดงซาผกั คาด ฉบบั ที่ 1,062( (6) พ.ศ. 2527) ผาขาว , 5,391 19. ปา่ ภูผาขาว หนองหิน - และปา่ ภผู ายา ฉบับที่ 1,101( ภูกระดึง , พ.ศ. 2528) ผาขาว 127,500 16,887 – 2 -00 20. ปา่ ห้วยสม้ นาแหว้ และป่าภูผาแดง ฉบบั ที่ 1,206( 204,188 71,881 – 3 -00 พ.ศ. 2530) เอราวัณ , 21. ปา่ น้าภาค และ ผาขาว 55,698 55,698 – 0 -00 ป่าลาแควนอ้ ยฝงั่ ซ้าย ฉบบั ท่ี 876 (เฉพาะพืน้ ที่ 7,015 – 0 - 00 (พ.ศ. 2523) - สว่ นท่ีตง้ั อยู่ใน 2,962,868-2-00 เขตจังหวดั เลย) 22. ป่าหนองเรอื ฉบบั ท่ี 944 (พ.ศ. 2524) 18,725 (เฉพาะพื้นท่ี รวมท้งั สิน้ 22 ป่า - ส่วนทต่ี ้ังอย่ใู น เขตจงั หวดั เลย) 4,387,304 หมายเหตุ *1.) ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ลาดับที่ 4 , 8 และ 11 ปรากฎว่า มพี ื้นทป่ี ่าตามแผนท่ีทา้ ยกฎกระทรวงท่ปี ระกาศกาหน ตามผลการจาแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ทรพั ยากรและทดี่ นิ ป่าไม้ในพน้ื ท่ีป่าสงวนแห่งชาติ ไม่ถูกตอ้ งตรงกนั 2.) ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ลาดับท่ี 2 , 7 และ 9 ได้มกี ฏกระทรวงเพกิ ถอนพื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาตดิ ังกลา่ วไปแลว้ บา 3.) ป่าสงวนแหง่ ชาติ ลาดับที่ 6 , 10 , 12 , 15 , 17 และ 21 ได้มพี ระราชกฤษฎีกากาหนดพื้นที่อทุ ยานแห่งช 4.) คณะรัฐมนตรีมมี ติ เมื่อวนั ท่ี 10 และ 17 มนี าคม 2535 จาแนกเขตการใช้ประโยชนท์ รพั ยากรและทีด่ ินปา่ ไ เขตพืน้ ทป่ี า่ เพ่อื เศรษฐกจิ (Zone E) และ เขตพนื้ ที่ป่าทเ่ี หมาะสมตอ่ การเกษตร (Zone A) 5.) พน้ื ทปี่ า่ สงวนแหง่ ชาติทีม่ อบใหส้ านักงานการปฏริ ปู ทดี่ นิ เพือ่ เกษตรกรรม (ส.ป.ก.) ตามนโยบายกระทรวงเก รวมถงึ พ้นื ท่ีท่ีกรมปา่ ไมม้ ภี าระผูกพนั ดว้ ย ทง้ั นี้ หากมีพื้นท่ีทไ่ี มส่ มควรจะนาไปปฏิรปู ทีด่ นิ จะต้องดาเนินกา สานักงานการปฏริ ปู ทีด่ นิ เพ่อื เกษตรกรรม(ส.ป.ก.) ว่าดว้ ยแนวทางการปฏบิ ตั ใิ นการกนั พน้ื ทป่ี า่ สงวนแห่งชา

8- งชาตจิ าแนกเขตการใชป้ ระโยชน์ฯ(ไร่ ) พ้ืนท่ี ป่าสงวนแหง่ ชาติ คงเหลือพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ซอ้ นทับพน้ื ท่กี าหนด ป่าสงวนแหง่ ชาติ พ้นื ที่ปา่ พื้นท่ปี ่าทเ่ี หมาะ กันกลับคืนตาม เปน็ อุทยานแหง่ ชาต/ิ เพ่อื เศรษฐกิจ สมต่อการเกษตร บันทึกข้อตกลงฯ เขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ปา่ (ไร่ – งาน - ตรว.) ( Zone E ) ( Zone A ) (ไร่ –งาน -ตรว.) (ไร่ – งาน - ตรว.) (11)=(6)+(9)-(10) (7) (8) (9) ( 10 ) 780 – 0 – 00 5,391 – 0 - 00 - 780 – 0 - 00 - 67,362 - 2 -00 43,250 –0-00 7,777 –0 - 62 - 24,664 – 2 – 62 126,331 –1-00 5,975 – 0 -00 17,439–3- 70 - 89,321 – 2 – 70 - - - 6,718 – 0 – 00 48,980 – 0 – 00 (พื้นท่ี อช.ภสู วนทราย) 11,612 – 0 -00 98 – 0 - 00 - - 7,015 – 0 - 00 1,375,112–2-00 49,323–0-00 296,906–3-55 513,928 –0-00 2,745,847–1-55 นดใหเ้ ปน็ ปา่ สงวนแหง่ ชาตดิ ังกลา่ ว กบั พน้ื ทป่ี ่าตามแผนทป่ี ่าสงวนแห่งชาติ มาตราสว่ น 1 : 50,000 ดงั นนั้ เพอ่ื ให้ข้อมูลถกู ตอ้ งและสอดคลอ้ งตรงกบั ขอ้ เท็จจรงิ จึงไดค้ ิดคานวณพน้ื ทใ่ี หม่ างสว่ น ชาติ และ เขตรกั ษาพันธุส์ ตั วป์ ่า ซอ้ นทับ พื้นท่ีปา่ สงวนแห่งชาติดงั กลา่ วบางสว่ น ไมใ้ นพน้ื ทป่ี า่ สงวนแหง่ ชาติ ออกเปน็ 3 เขตพ้นื ที่ คือ เขตพ้นื ทปี่ า่ เพอ่ื การอนรุ กั ษเ์ พมิ่ เตมิ (Zone C) กษตรและสหกรณ์ คือ พื้นทป่ี า่ เพ่อื เศรษฐกจิ (Zone E) และ พ้ืนทีป่ า่ ทเ่ี หมาะสมตอ่ การเกษตร (Zone A) ารตรวจสอบกนั พ้นื ทป่ี า่ สงวนแห่งชาติออกจากเขตปฏริ ปู ทด่ี นิ ตามบันทึกขอ้ ตกลงระหวา่ งกรมปา่ ไม้ และ าตกิ ลับคนื กรมปา่ ไม้ พ.ศ. 2538 เมือ่ วันท่ี 14 กนั ยายน 2538

- 69 2) ป่าอนุรกั ษ์ตามกฎหมาย (อทุ ยานแห่งชาติ , เขตรกั ษาพนั ธุ์สตั วป์ ่า) จานวน 7 แห่ง รวม ลาดับ ชื่อ ประกาศโดย ตงั้ อยู่ในเขต ท่ี ป่าอนรุ กั ษ์ตามกฎหมาย 1. อุทยานแห่งชาติ 5 แหง่ ดังนี้ พระราชกฤษฎีกา พ.ศ... ท้องทอี่ าเภอ (ไร่ – 1.1 อุทยานแห่งชาติภกู ระดึง พระราชกฤษฎีกา ภูกระดึง 1.2 อทุ ยานแหง่ ชาตภิ ูเรือ พ.ศ. 2505 ภเู รอื 1.3 อุทยานแหง่ ชาติภหู นิ รอ่ งกลา้ พระราชกฤษฎกี า ท่าลี่ พ.ศ. 2522 ดา่ นซา้ ย พระราชกฤษฎีกา พ.ศ. 2527 1.4 อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน พระราชกฤษฎีกา ภูกระดงึ พ.ศ. 2534 1.5 อทุ ยานแหง่ ชาติภูสวนทราย พระราชกฤษฎีกา นาแหว้ พ.ศ. 2537 รวม 5 แห่ง - -4

9- มเนอ้ื ท่ที ้ังสิ้น 1,123,990 – 1 - 00 ไร่ หรือ 1,798.38 กม.2 มรี ายละเอยี ดดังนี้ เนอ้ื ที่ หมายเหตุ – งาน – ตารางวา) 217,576 – 1 - 00 - เดิมเป็นป่าสงวน ตามพระราชกฤษฏีกา พุทธศักราช 2486 - ได้เพกิ ถอนพืน้ ท่ีบางสว่ น เนือ้ ท่ี 5 ไร่ ของสถานถี า่ ยทอดโทรคมนาคม 75,525 – 0 - 00 - 59,005 – 0 – 00 - พืน้ ท่ตี ามประกาศพระราชกฤษฎกี าฯ รวมเนอื้ ท่ที ้งั สน้ิ 191,875 ไร่ (เฉพาะพน้ื ท่ีส่วนที่ตง้ั - พ้ืนที่อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า ซ้อนทับ พื้นท่ีป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในเขตจงั หวัดเลย) ปา่ ภูเปอื ย ป่าภขู เี้ ถา้ และป่าภูเรอื เนื้อท่ปี ระมาณ 17,015 ไร่ 50,144 - 0 – 00 - พ้นื ท่ตี ามประกาศพระราชกฤษฎกี าฯ รวมเนือ้ ที่ทัง้ ส้นิ 218,750 ไร่ (เฉพาะพื้นท่สี ่วนท่ีต้งั - พื้นท่ีอุทยานแห่งชาติภูผาม่าน ซ้อนทับ พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ อยู่ในเขตจงั หวดั เลย) ปา่ ภูเปอื ย เนือ้ ทปี่ ระมาณ 43,870 ไร่ 73,225 – 0 – 00 - พนื้ ท่อี ุทยานแห่งชาติภูสวนทราย ซ้อนทับ พน้ื ทป่ี า่ สงวนแห่งชาติ ดงั น้ี 1.) ป่าภเู ปือย ป่าภูข้เี ถ้า และป่าภูเรือ เน้ือท่ีประมาณ 66,507 ไร่ 2.) ป่าน้าภาค และปา่ ลาแควนอ้ ยฝ่ังซ้าย เนือ้ ทป่ี ระมาณ 6,718 ไร่ 475,475 – 1 – 00 ไร่ -

- 70 ลาดบั ช่ือ ประกาศโดย ตัง้ อยู่ในเขต ที่ ป่าอนุรกั ษ์ตามกฎหมาย พระราชกฤษฎีกา พ.ศ... ท้องท่ีอาเภอ ( 2. เขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่า 2 แห่ง ดงั น้ี 2.1 เขตรักษาพันธุ์สตั วป์ ่าภหู ลวง พระราชกฤษฎีกา ภเู รือ พ.ศ. 2534 ดา่ นซา้ ย 2.2 เขตรักษาพนั ธ์สุ ัตวป์ า่ ภคู อ้ - ภกู ระแต ภูหลวง รวม 2 แห่ง พระราชกฤษฎีกา วงั สะพุง พ.ศ. 2550 หนองหิน รวมท้งั สิน้ 7 แห่ง - ภูกระดึง , ภูหลวง - - - 3) วนอุทยาน จานวน 6 แห่ง รวมเน้ือทที่ ั้งสน้ิ 35,700 – 0 – 00 ไร่ หรอื 57.12 ก ลาดับ ช่อื ต้ังอยูใ่ นเขตทอ้ งที่ ที่ วนอุทยาน 1. วนอุทยานถ้าแสงธรรมพรหมาวาส ตาบล อาเภอ ชมเจริญ , ปากชม ปากชม 2. วนอุทยานหริรกั ษ์ เขาแกว้ เชียงคาน นา้ หมาน เมืองเลย กกทอง เสีย้ ว

0- เนอื้ ท่ี หมายเหตุ (ไร่ – งาน – ตารางวา) 503,230 - 0 – 00 - พนื้ ทตี่ ามประกาศพระราชกฤษฎีกาฯ รวมเนอ้ื ท่ที ้งั สิ้น 560,593 ไร่ (เฉพาะพ้นื ทีส่ ว่ นทีต่ ้งั - พน้ื ทีเ่ ขตรักษาพันธส์ุ ตั วป์ า่ ภหู ลวง ซ้อนทบั พืน้ ที่ปา่ สงวนแห่งชาติ ดงั น้ี อยใู่ นเขตจงั หวัดเลย) 1.) ป่าภูหลวง และป่าภูหอ เน้ือท่ปี ระมาณ 144,982 ไร่ 2.) ป่าโคกภูเหล็ก เนอื้ ทีป่ ระมาณ 89,551 ไร่ 145,285 – 0 - 00 - พื้นทีเ่ ขตรักษาพนั ธสุ์ ตั วป์ า่ ซ้อนทบั พ้นื ที่ปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ ภูค้อ และปา่ ภกู ระแต เตม็ ทง้ั แปลง 648,515 – 0 –00 ไร่ - 1,123,990–1–00 ไร่ - กม.2 มีรายละเอียดดังน้ี เนือ้ ที่ หมายเหตุ ( ไร่ ) 5,000 - พืน้ ทว่ี นอุทยานฯ ต้งั อยู่ในเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ป่าภูเขาแกว้ และปา่ ดงปากชม 8,250 - พื้นทวี่ นอุทยานฯ ตั้งอยใู่ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ป่าโคกภูเหลก็

- 71 ลาดับ ช่อื ตงั้ อยู่ในเขตทอ้ งที่ ที่ วนอุทยาน ตาบล อาเภอ 3. วนอทุ ยานภูบ่อบดิ ชยั พฤกษ์ เมืองเลย นาอาน กดุ ป่อง 4. วนอุทยานภูผาลอ้ ม นา้ สวย เมอื งเลย นาดอกคา นาดว้ ง 5. วนอุทยานนา้ ตกหว้ ยเลา แกง่ ศรภี มู ิ ภูหลวง หว้ ยสีเสยี ด 6. วนอุทยานผางาม ปวนพุ หนองหิน รวมทงั้ ส้นิ 6 แหง่ - - 4) สวนรุกขชาติ จานวน 2 แห่ง รวมเน้อื ที่ท้งั สน้ิ 6,450 ไร่ หรอื 10.32 กม.2 มรี ลาดับ ช่ือ ต้งั อยใู่ นเขตทอ้ งท่ี ที่ สวนรุกขชาติ 1. สวนรกุ ขชาตภิ ูขา้ ว ตาบล อาเภอ นาด้วง นาดว้ ง 2. สวนรุกขชาติ 100 ปี กรมปา่ ไม้ ( ปากปวน – ภแู ปก ) ท่าสะอาด รวมทง้ั สนิ้ 2 แหง่ ท่าสวรรค์ ปากปวน วงั สะพุง ปลาบ่า ภูเรือ โพนสงู ด่านซ้าย --

1- เนือ้ ท่ี หมายเหตุ ( ไร่ ) 4,375 - พืน้ ท่ีวนอทุ ยานฯ ตั้งอยู่ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ป่าภหู ้วยหมาก ปา่ ภทู อก และปา่ ภบู อ่ บิด 8,500 - พื้นทว่ี นอุทยานฯ ตง้ั อยใู่ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ป่าโคกผาดา ปา่ โคกหนองข่า และปา่ ภบู อบิด 2,125 - พื้นทว่ี นอทุ ยานฯ ตั้งอยใู่ นเขตป่าสงวนแหง่ ชาติ ป่าภคู ้อ และปา่ ภูกระแต 7,450 - พืน้ ทีว่ นอทุ ยานฯ ตั้งอยูใ่ นเขตปา่ สงวนแห่งชาติ ปา่ ภคู ้อ และป่าภูกระแต 35,700 ไร่ - รายละเอยี ดดงั นี้ เนื้อท่ี หมายเหตุ ( ไร่ ) 2,800 - พืน้ ท่ีสวนรกุ ขชาตฯิ ตั้งอยู่ในเขตปา่ สงวนแหง่ ชาติ ปา่ โคกผาดา ป่าโคกหนองขา่ และปา่ ภูบอบดิ 3,650 - ได้มกี ารผนวกพน้ื ที่เพิ่มเตมิ บรเิ วณภแู ปก ปา่ สงวนแห่งชาติ ป่าภูเปือย ปา่ ภูข้เี ถ้า และปา่ ภูเรือ ทอ้ งทอ่ี าเภอภูเรือ และด่านซ้าย เน้ือที่ประมาณ 3,000 ไร่ กาหนดให้เปน็ สวนรกุ ขชาติ 6,450 ไร่ -

- 72 - 1.7.2 ขอ้ มูลสัตว์ป่า ประเภทสัตว์ป่า จานวน (ชนดิ ) นก 210 สตั ว์เล้ยี งลูกด้วยนม 60 สตั วส์ ะเทอื นน้าสะเทอื นบก และสตั ว์เลื้อยคลาน 38 ปลา ไม่น้อยกว่า 10 ชนดิ สัตวป์ ่าสงวน มี 3 ชนดิ คอื เลียงผา แมวลายหินอ่อน และช้างป่า ทรัพยากรสัตวป์ ่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง มีความหลากหลายของชนิดและความชุกชุม เน่ืองจาก สภาพป่าดงดิบทึบเป็นที่หลบซ่อนของสัตว์ป่าได้อย่างดีและหลังจากได้ประกาศเป็นพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าแล้ว มีเจ้าหน้าที่ด่าเนินการป้องกันและปราบปรามการล่าสัตว์ป่าจึงขยายพันธุ์ได้เร็วข้ึนงานสารวจสัตว์ป่าในเขตรักษาพั นธุ์สัตว์ ป่าภูหลวง พบว่าในภูหลวงมีสัตว์ป่ามากมายหลายชนิด เช่น ช้างป่า กวาง เก้ง เลยี งผา หมี ค่าง ชะนี กระจง อีเห็น ชะมด ไก่ป่า ไก่ฟ้า และนกทีส่ วยงามอกี หลายชนิด รวมทั้งเต่าปูลซู ึ่งเป็นพันธปุ์ ระหลาดที่หายากชนดิ หนึ่งของไทย ตลอดระยะทาง เดนิ ป่าจะมีรอยเทา้ และรอ่ งรอยของสตั ว์ปา่ เหลา่ น้ปี รากฏให้เหน็ อยู่เสมอ สัตว์ป่าทส่ี าคัญในพื้นที่ เลียงผา เป็นสัตว์ป่าสงวนท่ีพบเพียงชนิดเดียวใน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง พบได้ทางทิศตะวันออกจนถึงทิศใต้ ของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง บริเวณหน่วยพิทักษ์ป่าโคกนก กระบา หน่วยพิทักษ์ป่าน้าจันทร์ หน่วยพิทักษ์ป่าโหล่นแต้ พบว่า เป็นพื้นที่หากินและเส้นทางเดินหากิน พบได้ทั้งเห็นตัว รอยเท้า และมลู ทง้ั เก่าและใหม่ ชา้ งป่า ในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าภูหลวง พบการกระจายหากินของช้างป่า ทั่ วพื้ น ท่ี เขต รักษ าพั น ธุ์สัต ว์ป่ าภู ห ลวง จากสถานี วิจัยสั ตว์ป่ า ภูหลวง ส่านักงานเขตรักษาพันธ์สัตว์ป่า โครงการอาหารช้างป่า ภูหลวงอันเน่ืองมาจากพระราชด่าริ หน่วยพิทักษ์ป่าโคกนกกระบา หน่วย พิทักษ์ป่าโหล่นแต้ หน่วยพิทักษ์ป่าเลยน้อย หน่วยพิทักษ์ป่าน้าไค้ หน่วย พิทักษ์ป่าน้าค้อ หน่วยพิทักษ์ป่าห้วยหินลับ และหน่วยพิทักษ์ป่าขุนเลย พบได้ท้ังเห็นตัว รอยตีน และกองมูลท้ังเก่าและใหม่ทุกเดือน มีจานวน ประชากรชา้ งในเขตรักษาพันธุส์ ตั ว์ป่าภหู ลวงประมาณ 186 ตวั

- 73 - 1.7.3 ขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย 1. การจัดการขยะมูลฝอย จงั หวัดเลยแบ่งการปกครองออกเป็น 14 อาเภอ 89 ตาบล 840 หมู่บ้าน และมีองค์กรปกครองส่วน ท้องถ่นิ รวม 101 แห่ง ดังนี้ เทศบาลเมือง 2 แหง่ เทศบาลตาบล 27 แหง่ องค์การบริหารสว่ นตาบล 71 แห่ง และ 1 องค์การบริหารส่วนจงั หวดั มจี านวนประชากรรวม 618,492 คน (กรมสง่ เสรมิ การปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ณ มนี าคม 2558) ปี 2558 ขยะท่ีเกิดข้นึ ท้งั จงั หวัด ประมาณวนั ละ 631 ตัน เป็นขยะที่เกิดข้ึนในเขตเทศบาลเฉล่ียวันละ 263 ตนั และเขต องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเฉลี่ย 368 ตนั ปริมาณขยะที่เกิดขน้ึ ทั้งจงั หวดั เลยไดร้ ับบริการรวบรวมเก็บขนนาไปกาจัด ปรมิ าณ 333.09 ตนั /วนั คิดเปน็ ร้อยละ 52.99 ของปรมิ าณขยะทเ่ี กดิ ข้นึ และกาจัดถูกต้องปรมิ าณ 161.61 ตัน/วนั คดิ เปน็ ร้อยละ 48.52 ของปริมาณขยะทน่ี าไปกาจดั อาเภอ ประชากรรวม ปริมาณขยะท่ี ปริมาณขยะ อปท.ท่ีมี ปริมาณขยะ ปรมิ าณขยะ ปริมาณขยะ ประสิทธภิ าพ เกดิ ขน้ึ จาก ทเ่ี กดิ ข้ึน การให้ ท่ีเกิดขึ้นใน ทีเ่ กบ็ ขนไป ที่นาไปใช้ การเก็บขน 1. เมืองเลย 114,372 การคานวณ (ตนั /วนั ) บรหิ าร พนื้ ท่ีบริการ กาจดั (ตัน/ ประโยชน์ (เปอร์เซน็ ต์) 2. วังสะพุง 110,674 (ตนั /วนั ) (แห่ง) (ตัน/วนั ) วนั ) (ตนั /วัน) 3. เชียงคาน 59,830 113.42 136.14 15 136.14 106.56 29.58 78.27 4. ด่านซา้ ย 50,050 105.44 117.38 5. ทา่ ล่ี 27,739 59.21 9 97.87 53.83 44.03 45.86 6. นาดว้ ง 26,335 57.05 47.99 9 59.21 35.14 24.07 59.35 7. นาแหว้ 10,965 46.46 25.78 4 16.71 13.50 3.21 28.14 8. ปากชม 38,910 25.48 25.84 6 25.78 19.29 6.49 74.83 9. ผาขาว 40,811 25.84 10.16 5 25.84 14.60 11.24 56.50 10.ภูกระดงึ 34,606 10.16 36.78 2 3.37 2 1.37 19.69 11.ภูเรอื 21,437 36.78 39.45 8 36.78 18.10 18.68 49.21 12.ภูหลวง 24,140 39.45 32.40 5 39.45 17 22.45 43.09 13.หนองหนิ 24,085 32.40 21.18 4 26.25 17 9.25 52.47 14.เอราวัณ 34,538 20.36 21.97 2 6.41 5.5 0.91 25.97 รวม / เฉลีย่ 618,492 21.97 22.42 1 4.24 1.5 2.74 6.83 22.42 33.91 3 17.34 9.07 8.27 40.45 33.91 591.14 3 29.84 20 9.84 58.99 591.14 76 525.23 333.09 192.14 52.99 สถานทีก่ าจัดขยะทถี่ ูกหลักวชิ าการของจังหวัดเลย มจี านวน 2 แห่ง คอื สถานท่กี าจดั ขยะของเทศบาล เมืองเลย และเทศบาลตาบลเชียงคาน สถานท่กี าจดั ขยะทไ่ี ม่ถกู ตอ้ งมีประมาณ 42 แห่ง ซึ่งส่วนหน่ึงเปน็ สถานท่ีทง้ิ ขยะของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท่ีไม่มีบริการจัดเก็บรวบรวมขยะเพื่อนามากาจัด แต่ทาบ่อขยะให้ชาวบ้านนาขยะมาท้ิงเอง สถานที่กาจดั ขยะทไี่ มถ่ กู ตอ้ งทยี่ งั มีการเผาขยะจานวน 26 แหง่

- 74 - ขอ้ มลู สถานทกี่ าจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลในจงั หวดั เลย ลาดับ เทศบาล กาจดั พน้ื ที่ ตาแหน่งพิกดั ทาง ทีต่ งั้ ด้วยวิธี (ไร)่ ภูมิศาสตร์ XY sanitary ถนนเชียงคาน-เลย ต.ศรสี องรกั 1 เมอื งเลย landfill 50 0786629 1953265 อ.เมือง จ.เลย 2 ตาบลนาอ้อ กาจดั ร่วมกับ ทม.เลย 3 ตาบลนา้ สวย กาจัดร่วมกบั ทม.เลย 4 ตาบลเชียงคาน กอง/เผา 40 0785998 1979118 บ.นอ้ ย หมู่ 4 ต.เชียงคาน อ.เชยี ง กลางแจง้ คาน จ.เลย 5 ตาบลดา่ นซ้าย กอง/เผา 15 0725061 1909293 บ.ปา่ หว้า ต.ด่านซ้าย อ.ดา่ นซ้าย ในหลมุ จ.เลย 6 ตาบลทา่ ล่ี กอง/เผา 1 0755384 1951466 หมู่ 4 ต.ท่าลี่ อ.ท่าลี่ จ.เลย กลางแจง้ 7 ตาบลปากชม กอง/เผา 21 0808669 1994449 บ.ศรภี ูธร หมู่ 3 ต.ปากชม กลางแจง้ อ.ปากชม จ.เลย 8 ตาบลเชยี งกลม กาจัดร่วมกบั ทม.เลย 9 ตาบลภูกระดึง กอง/เผา 2 0810453 1872094 บ.หนองตมู หมู่ 7 ต.ภูกระดึง กลางแจง้ อ.ภกู ระดงึ จ.เลย 10 ตาบลภูเรอื ฝงั ใน 20 0748823 1931878 เชา่ ที่ดินเอกชน หมู่6 ต.หนองบวั หลมุ อ.ภเู รอื จ.เลย 11 ตาบลวงั สะพงุ กาจดั ร่วมกับ ทม.เลย 12 ตาบลนาแห้ว กอง/เผา 2 0718610 1936145 บ.เหมืองเพชร หมู่ 3 ต.นาแห้ว กลางแจ้ง อ.นาแหว้ จ.เลย 13 ตาบลนาด้วง กอง/เผา 4 0812544 1933041 บ.แก้วเมธี หมู่ 5 ต.นาด้วง กลางแจง้ อ.นาด้วง จ.เลย 14 ตาบลหนองหิน กอง/ฝัง 19 0797927 1896727 บ.หว้ ยเป้า ต.ปวนพุ อ.หนองหนิ ในหลมุ จ.เลย

- 75 - องค์ประกอบของขยะมูลฝอย จังหวัดเลย องค์ประกอบของขยะมลู ฝอย รอ้ ยละโดยน้าหนกั มลู ฝอยเปียก 63.50 กระดาษ 10.70 พลาสติก 8.02 เศษผ้า 3.76 แก้ว 7.17 โลหะ 2.24 อลมู เิ นียม / โลหะ 1.45 หนงั / ยาง 1.59 ขยะอันตราย 1.57 100.00 รวมทง้ั หมด 2. การแบง่ กลมุ่ พน้ื ท่อี งค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการจดั การขยะมูลฝอยชุมชนแบบรวมศูนย์ จังหวัดเลยมีแผนการบริหารจัดการขยะมูลฝอย โดยกาหนดกลุ่มพื้นที่ในการบริหารจัดการขยะมูล ฝอยเปน็ 6 ศนู ย์ (Clustering) และ 2 สถานขี นถ่าย (Transfer station) ดังน้ี (รูปที่ 1) จงั หวดั เลย ทต.เขาแก้ว ทต.ปากชม สถานขี นถ่าย ศูนย์จดั การขยะ ทต.นาแห้ว ทม.เมอื งเลย ทต.ภูเรือ 6 ศนู ยจ์ ดั การขยะ อบจ.เลย 3 สถานีขนถ่าย ร่วมกบั อบต.ศรีสงคราม กลุ่มที่ 1 ศูนยเ์ ทศบาลเมืองเลย (M1) มีเทศบาลเมืองเลยเป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวมแบบถูกหลัก สุขาภิบาล มีปริมาณขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบ 131.13 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 21 แห่ง ประกอบด้วย ทม.เมืองเลย ทม.นาออ้ ทม.น้าสวย ทต.นาดินดา ทต.นาอาน ทต.นาโป่ง อบต.เมอื ง อบต.ชัยพฤกษ์ อบต.น้า สวย อบต.ศรีสองรัก อบต.กกดู่ อบต.นาแขม อบต.น้าหมาน อบต.เสี้ยว อบต.กกทอง ทต.ท่าลี่ อบต.ท่าลี่ อบต.อาฮี อบต. หนองผือ อบต.โคกใหญ่ อบต.น้าแคม

- 76 - กลุ่มที่ 2 ศูนย์เทศบาลตาบลภูกระดงึ (M2) มีเทศบาลตาบลภูกระดงึ เป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวม แบบถูกหลักสขุ าภิบาล มีปริมาณขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบ 72.62 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 14 แห่ง ประกอบด้วย ทต.ภูกระดึง อบต.ภูกระดึง อบต.ผานกเค้า อบต.ห้วยส้ม อบต.ศรีฐาน ทต.โนนปอแดง ทต.ท่าช้าง คลอ้ ง อบต.ผาขาว อบต.บ้านเพ่มิ อบต.โนนป่าซาง ทต.หนองหิน อบต.ตาดขา่ อบต.ปวนพุ และอบต.หนองหิน กลุ่มที่ 3 ศูนย์เทศบาลตาบลเชียงคาน (M3) มีเทศบาลตาบลเชียงคานเป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอย รวมแบบถูกหลักสุขาภิบาล มีปริมาณขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบ 56.07 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 9 แหง่ ประกอบดว้ ย ทต.เขาแก้ว ทต.ธาตุ อบต.เชยี งคาน อบต.บุฮม อบต.ปากตม อบต.นาซ่าว อบต.จอมศรี และ อบต.หาดทรายขาว กลุ่มที่ 4 ศูนย์เทศบาลตาบลปากชม (S1) มีเทศบาลตาบลปากชมเป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวม แบบถูกหลักสขุ าภิบาล มีปรมิ าณขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบ 31.38 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 8 แห่ง ประกอบดว้ ย ทต.ปากชม ทต.เชียงกลม ทต.คอนสา อบต.หาดคมั ภรี ์ อบต.หว้ ยพิชยั อบต.ห้วยบ่อซืน อบต.ชมเจริญ และอบต.ปากชม กลุ่มท่ี 5 ศูนย์เทศบาลตาบลภูเรือ (M2) มีเทศบาลตาบลภูเรือเป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวมแบบ ถูกหลักสุขาภิบาล มีปริมาณขยะมูลฝอยเข้าสู่ระบบ 56.05 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 18 แห่ง ประกอบด้วย ทต.ภูเรือ ทต.ร่องจิก อบต.สานตม อบต.ท่าศาลา อบต.ปลาบ่า อบต.หนองบัว อบต.ลาดค่าง ทต.ด่าน ซ้าย ทต.ศรีสองรัก อบต.โป่ง อบต.นาดี อบต.กกสะทอน อบต.โพนสูง อบต.โคกงาม อบต.วังยาว อบต.อิปุ่ม อบต.นาหอ และอบต.ปากหมัน กลุ่มท่ี 6 ศูนย์เทศบาลตาบลนาแห้ว (S2) มีเทศบาลตาบลนาแห้วเป็นศูนย์กาจัดขยะมูลฝอยรวมแบบ ถูกหลกั สุขาภิบาล มีปริมาณขยะมลู ฝอยเขา้ สูร่ ะบบ 8.27 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเขา้ รว่ มกลุ่ม จานวน 5 แห่ง ประกอบดว้ ย ทต.นาแห้ว อบต.แสงภา อบต.นาพึง อบต.นามาลา และอบต.เหลา่ กอหก สถานีขนถ่ายที่ 1 ศูนย์เทศบาลตาบลนาด้วง (S1) มีเทศบาลตาบลนาด้วงเป็นสถานีขนถ่ายขยะมูล ฝอย มีปรมิ าณขยะมูลฝอย 18.77 ตัน/วัน มีองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 5 แห่ง ประกอบด้วย ทต.นา ด้วง ทต.นาดอกคา อบต.นาด้วง อบต.ท่าสะอาด อบต.ทา่ สวรรค์ สถานีขนถ่ายที่ 2 ศูนย์เทศบาลเมืองวังสะพุง (M1) มีเทศบาลเมืองวังสะพุงเป็นสถานีขนถ่ายขยะมูล ฝอย มีปรมิ าณขยะมูลฝอย 139.97 ตัน/วัน มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้าร่วมกลุ่ม จานวน 20 แห่ง ประกอบด้วย ทม. วังสะพุง ทต.ศรีสงคราม ทต.ปากปวน อบต.ทรายขาว อบต.เขาหลวง อบต.ผาน้อย อบต.วังสะพุง อบต.ผาบิ้ง อบต.โคก ขม้ิน อบต.หนองงิ้ว อบต.หนองหญา้ ปล้อง ทต.เอราวัณ ทต.ผาอนิ แปลง อบต.ทรัพย์ไพวัลย์ อบต.ผาสามยอด อบต.หนองคัน อบต.ภูหอ อบต.เลยวงั ไสย์ อบต.ห้วยสเี สยี ด และอบต.แก่งศรภี ูมิ

- 77 - 1.8 ประเด็นปัญหาและความตอ้ งการเชงิ พน้ื ท่ี29 จังหวัดเลยได้ดาเนินการสารวจความคิดเห็นของประชาชนผ่านอาเภอในพ้ืนที่ทั้ง 14 อาเภอ โดยการ ปรึกษาหารือและระดมความคิดเห็นเก่ียวกับความต้องการของประชาชน ส่วนราชการ หน่วยงานระดับอาเภอ องค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่นิ ผู้แทนองคก์ รภาคเอกชน ผู้แทนภาคประชาสังคม เพือ่ ใช้เป็นข้อมูลในการวเิ คราะหค์ วามต้องการและ ศักยภาพของประชาชนในพน้ื ท่ี ซ่ึงสามารถสรุปประเดน็ สาคญั ไดด้ ังนี้ 1.8.1 สรปุ ปัญหา อุปสรรคของการดาเนินงานท่ีผ่านมา และขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข สภาพปัญหาสาคัญของจังหวัด ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 1) สินค้าเกษตร ( ยางพารา ข้าวโพด มันสาปะหลัง ) 1) พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร ( ยางพารา ข้าวโพด และปศุสัตว์ จาเป็นต้องได้รับการพัฒนา เพื่อเพ่ิม มันสาปะหลัง ) และปศุสัตว์ ให้ปลอดภัยได้มาตรฐาน ศักยภาพการผลิตให้ได้มาตรฐาน รวมท้ังการพัฒนา และพัฒนาศักยภาพเกษตรกร กลุ่มเกษตรกร ตาม ศักยภาพเกษตรกร กลุ่มเกษตรกรตามแนวทาง แนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง เศรษฐกิจพอเพยี ง 2) แหล่งท่องเท่ียว ถนน และ สิ่งอานวยความสะดวก 2) พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ถนน และ ส่ิงอานวยความ ภายในแหล่งท่องเท่ียว บางแห่ง ยังไม่ได้มาตรฐาน หรือ สะดวกภายในแหลง่ ท่องเทย่ี ว ให้ได้มาตรฐาน เพยี งพอแกก่ ารบรกิ ารนกั ท่องเทย่ี ว 3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ ถนนทางหลวง 3) ยกระดับเพิ่มประสิทธิภาพทางหลวงเชื่อมโยงจังหวัด สายหลักเชื่อมโยงจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ถนนภายใน กลุ่มจังหวัด โดยการขยายช่องทางจราจรเป็น 4 ช่อง หมู่บ้าน ระหว่างหมู่บ้าน ยังไม่ท่ัวถึง และ ไม่ได้ จราจร ก่อสร้าง/ปรับปรุง ถนน คสล. ในหมู่บ้าน มาตรฐาน ระหว่างหมู่บ้าน อย่างทั่วถึง และได้มาตรฐานและ ก่อสร้าง/ปรับปรุงถนนลาดยางในเส้นทางหลักและ ระหว่างหมบู่ ้าน ใหไ้ ด้มาตรฐาน 4) ตลิ่งแมน่ ้าเลย แมน่ ้าหมัน พังทลาย ในย่านชุมชน ที่ 4) ก่อสร้างเข่ือนป้องกันตลิ่งแม่น้าเลย แม่น้าหมัน อยู่อาศัย เกิดความเสียหาย ต่อทรัพย์สินของประชาชน พงั ทลาย ในย่านชมุ ชน ที่อยู่อาศยั และราชการ 5) การบุกรุกและขยายที่ทากินในพื้นท่ีป่าไม้ ทาให้ 5) ฟ้ืนฟูป่าชุมชนและพ้ืนท่ีป่าต้นน้าลาธาร เพ่ือรักษา เกิดข้อขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดิน ป่าไม้ ระบบนิเวศและสมดลุ ทางธรรมชาติ และมผี ลกระทบต่อระบบนเิ วศและสมดลุ ทางธรรมชาติ 6) ระบบรักษาความปลอดภัยบรเิ วณดา่ นชายแดน 6) ป รับ ป รุงระบ บรักษ าความป ลอดภั ยบ ริเวณ ยังไม่ได้มาตรฐานสากล ด่านชายแดน ให้ไดม้ าตรฐานสากล 7) การแพร่ระบาดของยาเสพติด ในกลุ่มเยาวชน 7) ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โดยสร้าง เครือข่าย/อาสาสมคั รปอ้ งกันยาเสพติด ในกลุ่มเยาวชน 8) การอานวยการจราจรจุดเสี่ยง ยังขาดความท่ัวถึง 8) จัดระเบียบและสร้างวินัยการจราจร โดยสร้าง และการขาดวินยั การจราจร ในกลุ่มเยาวชน เครือข่าย/อาสาสมัครเพ่ืออานวยการจราจรและจัด กิจกรรมสรา้ งวนิ ัยจราจร 29 ทม่ี า : สานักงานจังหวัดเลย , สำนกั งำนพฒั นำชมุ ชนจงั หวัดเลย

- 78 - สภาพปญั หาสาคญั ของจังหวัด ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางแก้ไข 9) การพัฒ นาคุณ ภาพชีวิตของประชากร ยังไม่ 9) ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการดารงชีวิตอัน ครอบคลมุ และทว่ั ถงึ เทา่ ทค่ี วร เหมาะสม ของประชากรในสงั คม ชมุ ชน และครอบครัว ท้ังด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย การประกอบอาชีพ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาหรือจัดการท้องถ่ินหรือ บ้านเมือง ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และ จติ ใจในการอยรู่ ว่ มกันอย่างเปน็ สขุ 10) ความสัมพันธ์ ไทย – ลาว ในระดับท้องถ่ิน 10) เสริมสร้างความสัมพันธ์ ไทย – ลาว ในระดับ มีความสาคัญและละเอียดอ่อน จาเป็นต้องรักษาไว้ซ่ึง ทอ้ งถ่ิน ความม่ันคงตามแนวชายแดนและรักษาความสัมพันธ์ที่ ดกี ับประเทศเพ่ือนบ้าน 1.8.2 สรุปสภาพปัญหา ความต้องการรับการสนับสนุนโครงการ/กิจกรรม ของชุมชนวิเคราะห์จาก แผนชุมชน ประจาปี 2562 จงั หวัดเลย 1. พฒั นาระบบสาธารณูปโภค และโครงสรา้ งพื้นฐาน ประกอบดว้ ย ก่อสร้าง ปรบั ปรงุ ถนนเพ่อื การเกษตร ถนนคอนกรตี ภายในหมบู่ า้ น และระหวา่ งหม่บู า้ น 2. จัดให้มีระบบไฟฟา้ เขา้ ถงึ ครอบคลมุ ทุกพน้ื ทตี่ ลอดทั้งระบบไฟฟา้ สอ่ งสวา่ งภายในหมบู่ า้ น และชมุ ชน และระบบไฟฟา้ เพ่อื การเกษตร 3. กอ่ สรา้ งและขยายเขตประปาให้เข้าถงึ ทุกหม่บู ้าน/ชมุ ชน 4. สงเคราะห์เบย้ี ยังชพี ผู้สูงอายุ คนพกิ าร เดก็ ไร้ที่พ่ึง ผูป้ ่วยโรคเอดส์ และผ้ดู ้อยโอกาสทาง สังคมใหค้ รอบคลุม 5. พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตและความเข้มแข็งของชมุ ชน ดว้ ยการฝึกอบรม ประชุม สมั มนาแกก่ ลมุ่ องคก์ รตา่ งๆในชุมชนอยา่ งตอ่ เน่อื ง 6. สง่ เสริมวิถีชีวิตประชาชนโดยดาเนินชวี ติ ตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเนือ่ ง 7. พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ราษฎรใหม้ ีความปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ ิน 8. การแกไ้ ขปัญหายาเสพติดอยา่ งจริงจังและต่อเน่อื ง 9. ส่งเสริมการมีสว่ นรว่ มของราษฎรในกระบวนการพัฒนาท้องถิน่ 10. สร้างจติ สานึกและความตระหนกั ในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม 11. สง่ เสรมิ ใหร้ าษฎรทกุ คนมสี ุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทแี่ ขง็ แรง ตลอดทงั้ สง่ เสริม รณรงค์ ปอ้ งกันกรณีการระบาดของโรคตดิ ต่อ 12. สง่ เสริมและสนบั สนนุ ให้ประชาชนบริโภคพชื ผักปลอดสารพิษ 13. การเพิม่ ช่องทางในการรับรขู้ อ้ มลู ขา่ วสารใหแ้ กป่ ระชาชน 14. ส่งเสริมการจัดการศึกษาและการให้บริการศึกษาข้นั พน้ื ฐานอยา่ งท่ัวถึงและมีคณุ ภาพ 15. พฒั นาแหล่งนา้ เพอ่ื การเกษตรโดยการก่อสรา้ ง ปรบั ปรุง ขดุ ลอกแหลง่ นา้ เพ่อื การเกษตร ตลอดทัง้ ระบบการส่งนา้ อยา่ งท่ัวถึง 16. การส่งเสรมิ อาชีพแก่ประชาชนเพ่ือพฒั นาอาชีพและรายได้อยา่ งตอ่ เนื่อง 17. พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศในการใหบ้ ริการแก่ประชาชนอย่างครอบคลมุ ทุกพื้นที่

- 79 - 1.9 ผลการพฒั นาและแก้ไขปัญหาจงั หวัดในช่วงทผ่ี ่านมา30 1.9.1 การจดั สรรงบประมาณ (งบพัฒนาจงั หวดั ) จังหวัดเลย ได้รับอนุมัติงบประมาณตามแผนปฏิบัติราชการประจาปี พ.ศ. 2559-2562 รวมทั้งสิ้น 68 โครงการ 215 กิจกรรม งบประมาณทั้งสิ้น 982,235,500 บาท (รวมงบค่าใช้จ่ายในการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ปลี ะ 10,000,000 บาท) จาแนกไดด้ ังน้ี ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 รวมงบประมาณ ยทุ ธศาสตร์ที่ 2 (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 77,648,700 50,039,500 103,592,400 161,860,400 393,141,000 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 ยุทธศาสตร์ท่ี 5 132,564,500 174,903,100 57,513,100 26,252,500 391,233,200 ค่าใชจ้ ่ายในการ 14,790,900 33,066,400 4,667,300 1,449,000 53,973,600 4,960,300 7,500,000 62,395,300 23,793,600 98,649,200 ไม่มียุทธศาสตร์นี้ ไมม่ ยี ุทธศาสตร์นี้ 3,000,000 2,238,500 5,238,500 บริหารงานจังหวัด 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000 แบบบรู ณาการ (งบรายจา่ ยอ่ืนๆ) รวมท้ังส้ิน 239,964,400 275,509,000 241,168,100 225,594,000 982,235,500 1. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 ได้รับอนุมัติ รวม 21 โครงการ 71 กิจกรรม งบประมาณ 239,964,400 บาท พ.ร.บ. โอนคืน 7,592,500 บาท (3.16%) เบิกจ่าย 207,690,267 บาท (89.38%) กันเงินไว้เบิกเหลือมปี 22,100,258 บาท (9.51%) เหลือจ่าย (คืนเงิน) 2,581,375 บาท (1.11%) 2. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ได้รับอนุมัติ รวม 15 โครงการ 40 กิจกรรม งบประมาณ 275,505,000 บาท พ.ร.บ. โอนคืน 2,064,400 บาท (0.75%) เบิกจ่าย 260,001,681 (95.08%) กันเงินไว้เบิกเหลือมปี 10,800,479 บาท (3.95%) เหลือจ่าย (คืนเงิน) 2,642,440 บาท (0.97) 3. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ได้รับอนุมัติ รวม 15 โครงการ 39 กิจกรรม งบประมาณ 241,168,100 บาท พ.ร.บ. โอนคืน 4,406,600 บาท (1.83%) เบิกจ่าย 193,293,332 (85.91%) กันเงินไว้เบิกเหลือมปี 28,554,733 บาท (11.84%) เหลือจ่าย (คืนเงิน) 14,913,435 บาท (6.18) 4. ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไดร้ บั อนุมตั ิ รวม 17 โครงการ 65 กิจกรรม งบประมาณ 225,594,000 บาท เบกิ จา่ ย 8,749,465 ล้านบาท 30 ท่มี า : สานักงานจังหวัดเลย

- 80 - 1.9.2 โครงการท่สี าคัญ ๆ ในปีทผ่ี า่ นมา (งบพัฒนาจังหวดั ปี พ.ศ. 2561) ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 : การส่งเสริมการทอ่ งเทีย่ วเชิงนิเวศ ควบคกู่ ับการอนุรกั ษฟ์ ้ืนฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม โครงการอนุรกั ษ์วัฒนธรรม ประเพณี และสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อสง่ เสริมการทอ่ งเทยี่ ว กิจกรรม: จดั งานประเพณบี ญุ หลวงและการละเลน่ ผตี าโขน อาเภอดา่ นซ้าย จงั หวดั เลย โดยมที ่ที าการปกครองอาเภอดา่ นซ้าย เปน็ หน่วยดาเนนิ การ วตั ถุประสงค์ 1) เพือ่ สืบทอดวฒั นธรรมและประเพณีอันดีงาม และเผยแพร่วัฒนธรรมท้องถนิ่ ไปสู่บคุ คลท่ัวไป ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ 2) เพ่ือปลกู จิตสานึกให้ประชาชน เยาวชนให้ร้ถู งึ คุณคา่ ของวฒั นธรรมประเพณีทอ้ งถน่ิ 3) เพ่ือสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวของอาเภอด่านซา้ ย และจังหวัดเลยโดยรวม 4) เพื่อเสรมิ สร้างความรัก ความสามัคคีของประชาชนและเพ่ือใหป้ ระชาชนเกดิ ความหวงแหน วัฒนธรรมท้องถ่นิ โดยผา่ นกระบวนการตัดสินใจร่วมกนั และแสดงออกร่วมกัน 5) เพอื่ เสริมสร้างความสมั พันธ์ระหว่างสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวและประเทศไทย ใหม้ ีความปึกแผ่นมน่ั คง โดยใชว้ ัฒนธรรมประเพณีอนั ดีของสองประเทศท่ีมตี ่อกันในอดีต เปน็ จุดยึดโยงสมั พนั ธ์ ผลสาเรจ็ ของการดาเนินกจิ กรรมในเชงิ คณุ ภาพ 1) ได้เผยแพรว่ ัฒนธรรมประเพณี งานประเพณีบญุ หลวงและการละเล่นผตี าโขนอาเภอดา่ นซ้าย จังหวดั เลย ออกไปอยา่ งแพรห่ ลายและตอ่ เนื่องเป็นประจาทุกปี 2) ชาวอาเภอดา่ นซ้าย และจังหวดั เลยได้แสดงออกถึงความรัก ความผกู พัน ความสามคั คี อนั เป็นการ พฒั นาสังคม รวมท้ังเกดิ จิตสานกึ รักและหวงแหน ภมู ใิ จในวัฒนธรรมของตน 3) ก่อให้เกดิ รายไดก้ บั ประชาชน ซ่งึ สามารถพฒั นาไปสูก่ ารพัฒนารายไดร้ ะดับตา่ ง ๆต่อไป 4) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การท่องเทย่ี วของอาเภอด่านซา้ ย จังหวัดเลย และประเทศไทย ประโยชนท์ ไ่ี ด้รับท้ังเชิงปรมิ าณและคุณภาพ 1) จานวนประชาชนและนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาทอ่ งเทย่ี วเกิดความประทบั ใจ 2) ประชาชนมรี ายไดเ้ พิ่มมากข้ึน

- 81 - ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 : การสง่ เสริมและพัฒนาประสทิ ธิภาพการผลติ และสรา้ งมูลคา่ เพ่มิ สนิ ค้าเกษตร โครงการทาการเกษตรแบบสมัยใหม่ กจิ กรรม : พัฒนาเกษตรกรสู่ความเป็นเกษตรกรปราดเปรอื่ ง โดยมสี านกั งานเกษตรจังหวดั เลย เป็นหนว่ ยดาเนินการ วตั ถุประสงค์ 1) เพื่อพฒั นาเกษตรกรทวั่ ไปและเกษตรกรร่นุ ใหม่ใหเ้ ป็นเกษตรกรปราดเปรือ่ ง (Smart Farmer) มศี ักยภาพทัง้ ทางด้านการผลติ การแปรรูป และการตลาด 2) เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรใหส้ ามารถนาเทคโนโลยีสมัยใหมม่ าประยุกต์ใช้ เพอื่ เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตโดยเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดล้อม การบริหารจดั การ และการตลาดสนิ คา้ เกษตร ได้อย่างเกษตรกรมืออาชพี 3) เพื่อขยายผลการอบรม ฝึกปฏิบัติ แลกเปลีย่ นเรยี นรู้ สร้างและเชอื่ มโยงเครือขา่ ยเกษตรกร และหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ยในทกุ ระดับเพ่ือพฒั นาสู่การเป็นผปู้ ระกอบการมืออาชพี 4) เพื่อสร้างความรู้ ความเขา้ ใจท่ชี ัดเจนในการปฏิบตั ิงานการให้เจา้ หน้าทีผ่ ู้รบั ผิดชอบงาน Smart Farmer ระดับอาเภอและระดับจังหวัดใหส้ ามารถดาเนินโครงการพฒั นาเกษตรกรสู่ความเปน็ เกษตรกรปราดเปรอื่ ง (Smart Farmer) ไดบ้ รรลตุ ามวตั ถุประสงค์ท่ตี ง้ั ไว้ วิธีดาเนินงาน 1. อบรมเจ้าหน้าท่ผี ู้รับผิดชอบงาน Smart Farmer/ Young Smart Farmer และเกษตรกรทว่ั ไป/ เกษตรกรรุ่นใหม่ ให้เป็น Smart Farmer 2. สนบั สนุนวสั ดุ อปุ กรณ์ในการสาธิตให้ความรู้การปลูกผกั อินทรยี ์และเทคโนโลยีการเกบ็ เกย่ี วใหม้ ี คณุ ภาพและมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด ให้กับจดุ สาธติ ของ Young Smart Farmer/ Smart Farmer จานวน 14 อาเภอๆ ละ 1 จุด รวม 14 จุดสาธิต 3. ขยายผลการอบรม เรยี นรู้ ฝกึ ปฏิบัติของเกษตรกรในพน้ื ที่ 14 อาเภอๆ ละ 100 คน รวม 1,400 คน ณ จดุ สาธติ อาเภอละ 1 จุด ผลสาเรจ็ ของการดาเนินกิจกรรมในเชงิ คุณภาพ 1) เกษตรกรมที ักษะทางดา้ นวิชาการและการปฏิบตั ิด้านเทคโนโลยี เปน็ ผู้นาด้านการเกษตร สามารถ พัฒนาการผลติ สินคา้ เกษตรที่ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการและปลอดภยั ตอ่ ผ้บู รโิ ภค มกี ารบรหิ ารจดั การการผลิต และธรุ กิจการเกษตรเพื่อเพิ่มมูลคา่ สินคา้ ภาคเกษตรต่อผลผลติ มวลรวมของประเทศ 2) เกษตรกรได้รับการพฒั นาเปน็ Smart Farmer สามารถพงึ่ พาตนเองได้ มีการวางแผนการผลิตทีม่ ี ประสทิ ธิภาพสอดรบั กับพน้ื ที่และสนิ ค้า ทาให้ผลผลติ มคี ุณภาพดี มุ่งสู่การเป็น Smart Product 3) เกิดการขยายผลความรจู้ ากการอบรม ฝึกปฏิบตั ิ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มเี ครอื ข่ายเกษตรกรและ หนว่ ยงานภาคเี ครือขา่ ยในทุกระดบั จนพัฒนาสู่การเป็นผปู้ ระกอบการมืออาชพี 4) เจ้าหน้าทร่ี ะดบั อาเภอและระดบั จังหวัด จานวน 30 คน มีรับความรู้ความเข้าใจในงานพัฒนาและ ส่งเสริมเกษตรกรสูค่ วามเปน็ เกษตรกรปราดเปรอื่ ง (Smart Farmer) และสามารถดาเนินโครงการพัฒนาเกษตรกรสคู่ วาม เปน็ เกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer) ไดบ้ รรลุตามวัตถุประสงคท์ ตี่ ง้ั ไว้

- 82 - ประโยชน์ทไี่ ด้รบั ท้ังเชิงปรมิ าณและคุณภาพ 1) เกษตรกร จานวน 1,570 ราย ไดร้ ับการพัฒนาไดร้ บั การพัฒนาเปน็ เกษตรกรปราดเปร่ือง (Smart Farmer) 2) เกษตรกร จานวน 1,570 ราย สามารถนาเทคโนโลยสี มยั ใหมม่ าประยุกตใ์ ช้ เพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพ การผลติ การบรหิ ารจดั การ และการตลาดสินค้าเกษตรได้อยา่ งเกษตรกรมืออาชีพ 3) มเี ครือข่าย Smart Farmer ระดบั อาเภอจานวน 14 เครือขา่ ย และระดับจังหวดั จานวน 1 เครอื ขา่ ย 4) เจา้ หน้าทีร่ ะดบั อาเภอและระดบั จังหวดั จานวน 30 คน ไดร้ บั ความรู้ความเขา้ ใจในงานพัฒนาและ สง่ เสรมิ เกษตรกรสคู่ วามเป็นเกษตรกรปราดเปร่อื ง (Smart Farmer) ปญั หาอุปสรรค เกษตรกรมีการดาเนินกิจกรรมการเกษตรท่หี ลากหลาย และยังเชื่อในการทาการเกษตรแบบเดมิ ๆ ทาใหก้ ารฝึกอบรมและการถ่ายทอด อยู่ในชว่ งการปรับเปลี่ยน เรยี นรู้ ขอ้ เสนอแนะ ภาครัฐควรมีการทางานแบบบูรณาการ และดาเนินโครงการอยา่ งต่อเนอ่ื งเพอื่ ใหเ้ กษตรกรเห็นผล เป็นประจกั รจึงจะสง่ ผลใหเ้ กษตรกรเช่ือมนั่ ในการเรยี นรู้และปรบั เปลยี่ นสู่การทาเกษตรแบบใหม่

- 83 - ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 : การสง่ เสริมและสนบั สนุนเทคโนโลยีหรือนวตั กรรมการผลติ และการบริการเชงิ สร้างสรรค์ โครงการพัฒนาศักยภาพผปู้ ระกอบการ SMEs จังหวดั เลยสู่ Thailand 4.0 กจิ กรรม : จดั ทาฐานข้อมูล เพอ่ื พฒั นาศักยภาพผูป้ ระกอบการ SMEs โดยมีสานักงานคลังจังหวัดเลย เป็นหนว่ ยเดินการ วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ จัดทาฐานข้อมลู ผู้ประกอบการกล่มุ ธุรกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อม SMEs ในจังหวดั เลย 2) เพื่อวเิ คราะห์ศกั ยภาพผูป้ ระกอบการกลุ่มธรุ กจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม SMEs ท่เี ช่ือมโยง ดา้ นการเกษตร อตุ สาหกรรม การคา้ การลงทุน ในจังหวัดเลย วธิ ีการดาเนินงาน ไตรมาสท2่ี ไตรมาสท่ี 3 ไตรมาสที่ 4 (ม.ค. – ม.ี ค.61) (เม.ย. – ม.ิ ย.61) (ก.ค. – ก.ย.61) ไตรมาสที่ 1 (ต.ค. – ธ.ค.60) 4. เก็บรวบรวมข้อมลู 6. วเิ คราะห์ศักยภาพ 7. จัดเวทเี ผยแพรผ่ ล 1. ประชมุ คณะทางานเพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มและ ภาคสนามโดยการ ผ้ปู ระกอบการกลมุ่ การศกึ ษาสผู่ ู้มสี ว่ นได้ สรา้ งความเขา้ ใจตอ่ สารวจ สมั ภาษณ์ เก็บ ธุรกิจขนาดกลางและ ส่วนเสยี และ วตั ถปุ ระสงค์โครงการ แบบสอบถาม และการ ขนาดยอ่ ม SMEs เพ่ือ สาธารณะ แผนการดาเนินงานและ ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย เช่อื มโยงด้านการเกษตร 8. ประชุมคณะทางานสรุป กาหนดบทบาทหนา้ ที่ (Focus Group) อุตสาหกรรม การค้า บทเรียนการ ของคณะทางาน 5. ประชุมคณะทางานเพอื่ การลงทุน ดาเนินงานและจดั ทา 2. ศกึ ษารวบรวมและ ตรวจสอบวเิ คราะห์ รายงานรูปเล่มฉบับ ทบทวนขอ้ มูลเอกสาร และจัดทาฐานขอ้ มูล สมบูรณ์(Final เบือ้ งตน้ จากหนว่ ยงานท่ี ผปู้ ระกอบการ SMEs Report) เก่ยี วขอ้ ง 3. ประชุมคณะทางานเพอ่ื ออกแบบเคร่อื งมือและ วิธกี ารเกบ็ ข้อมูล ผลสาเรจ็ ของการดาเนินกิจกรรมในเชิงคุณภาพ จงั หวดั เลยมีฐานขอ้ มลู ผู้ประกอบการ SMEs ในเชงิ ลกึ ทนั สมยั เป็นปจั จบุ ัน สามารถแสดงการเชื่อมโยงของ กิจกรรมการผลิตตา่ งๆ ในจงั หวดั ได้ นาไปสกู่ ารวางแผนของจังหวดั ได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั ทั้งเชงิ ปริมาณและคุณภาพ 1)จังหวัดเลยมีฐานข้อมูลผู้ประกอบการ SMEs นาไปสู่การวางแผนของจังหวัดได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถ พัฒนาผู้ประกอบการอย่างเป็นรูปธรรม มีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพโดยการบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิชาการมา ประยกุ ตใ์ ช้ นาไปสูก่ ารพฒั นาเศรษฐกิจทีย่ งั ยนื 2) ผปู้ ระกอบการในจงั หวัดเลยทง้ั ขนาดกลางและขนาดย่อมสามารถเข้าถงึ แหล่งเงนิ ทนุ สรา้ งโอกาสการพฒั นา ตวั เองสู่ Start up ไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรมจากนโยบายการสนับสนุนของหนว่ ยงานภาครฐั ท่ีตอบสนองไดต้ รงกบั ความต้องการ ของกลุ่มเปา้ หมาย

- 84 - ปญั หาอุปสรรค ข้อเสนอแนะ 1) การเก็บรวบรวมเอกสารต่างๆ ท่ีเป็นข้อมูลพ้นื ฐานท่ีจาเป็นต่อการวิเคราะห์และจัดทาระบบทาได้ยาก เน่อื งจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีรูปแบบการจัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลท่ีแตกต่างกัน ประกอบกับข้อมูลของแต่ละหน่วยงานท่ี เกี่ยวข้องมีความซา้ ซ้อน ทาใหก้ ารคัดกรองขอ้ มูลต้องใชเ้ วลาค่อนข้างมาก 2) จานวนประชากรท่ีไดจ้ ากหน่วยงานที่เก่ียวข้องมีจานวนมาก ทาให้ต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจานวนมากและกระจาย ให้ท่ัวถึงมากที่สุด เพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีสะท้อนความเป็นจริง ถูกต้องตามหลักวิชาการมากท่ีสุด ส่งผลให้เกิดความล่าช้าในการ ไดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู รวมไปถึงทาใหเ้ กดิ ตน้ ทุนเพิ่มท่สี งู ขน้ึ 3) ผู้ประกอบการไม่ยอมเปิดเผยข้อมูลที่แท้จริงเนื่องจากมีความกังวลในเร่ืองที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ เช่น รายได้และ ค่าใช้จา่ ย ซง่ึ สง่ ผลตอ่ การเสยี ภาษี รวมไปถงึ ความกงั วลในตัวผเู้ ก็บแบบสอบถาม ซง่ึ สง่ ผลทาให้ไดข้ ้อมลู ไมค่ รบสมบรู ณ์พอ 4) ข้อมูลที่ได้มีความคลาดเคลื่อนไม่สมจริง เน่ืองจากผู้ประกอบการบางท่านให้ข้อมูลที่ไม่ ตรงกับ ความเป็นจริง ทาให้เมือ่ นามาวิเคราะหเ์ กดิ ความไมส่ มบูรณ์ จงึ ต้องมกี ารเก็บข้อมูลส่งผลใหเ้ กิดความล่าช้า 5) พ้ืนที่ที่ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลของกิจกรรมการผลิตตามแผนงานโครงการมีความห่างไกลกันในแต่ละแห่ง ทาให้ เสียเวลาและเสยี คา่ ใช้จ่ายในการจดั เก็บข้อมูลท่ีเพิ่มขึน้ 6) ช่วงเวลาในการดาเนนิ โครงการและท่ีใช้เก็บขอ้ มลู เปน็ ชว่ งฤดฝู น ทาใหก้ ารเดนิ ทางเข้าไปเก็บข้อมลู ในพ้นื ท่ที า ไดย้ าก รวมไปถงึ ผูป้ ระกอบการทีเ่ ป็นกลมุ่ ตัวอย่างประกอบธรุ กิจในชว่ งกลางวัน และการเก็บข้อมลู ในชว่ งเย็นมีเวลา ค่อนข้างนอ้ ย ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : การพัฒนาคุณภาพชวี ิตและการบริหารจัดการภาครฐั เพอ่ื ยกระดับสู่สากล โครงการเสริมสรา้ งสังคมและพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต จงั หวัดเลย กจิ กรรม : จดั หาแหล่งน้าบาดาลใหก้ ับหมู่บา้ นท่ี ขาดแคลนนา้ สาหรบั อปุ โภคบริโภคเพอื่ ประชาชน 100 บ่อ โดยมสี านักงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมจังหวัดเลย เปน็ หน่วยดาเนินการ วัตถปุ ระสงค์ 1) เพื่อจัดหาแหล่งน้าบาดาลสาหรบั อุปโภคบริโภคให้แกป่ ระชาชนในพ้ืนท่ีท่ีมีแหล่งนา้ ไมเ่ พยี งพอ 2) เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ึน วธิ ีดาเนนิ งาน 1) สารวจและรวบรวมข้อมูลความตอ้ งการแหลง่ น้าบาดาล ของหมู่บา้ น โรงเรียน วดั และสถานทร่ี าชการ ในพน้ื ทจ่ี ังหวดั เลยท่ีขาดแคลนนา้ สาหรบั อุปโภคบรโิ ภค 2) คัดเลอื กพืน้ ทีท่ ี่มศี ักยภาพดา้ นนา้ บาดาลทงั้ ปริมาณและคุณภาพน้า และเปน็ พน้ื ท่ที ่ีไม่มแี หลง่ นา้ ผวิ ดนิ หรอื มแี ต่ไมเ่ พียงพอ

- 85 - 3) ดาเนินการจัดซื้อ/จดั จ้างตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพสั ดุ พ.ศ. 2535 และฉบับแกไ้ ข เพมิ่ เติม 4) ดาเนนิ การจัดหาแหล่งนา้ บาดาลสาหรบั ใชอ้ ปุ โภคบรโิ ภค โดยการสารวจและขดุ เจาะบอ่ น้าบาดาล พรอ้ มติดต้งั เครอื่ งสบู น้าแบบไฟฟา้ จานวน 100 บ่อ 5) ควบคุมงาน และตรวจติดตามประเมนิ ผลโครงการ ผลสาเร็จของการดาเนินกจิ กรรมในเชิงคุณภาพ สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนนา้ อปุ โภคบรโิ ภคของประชาชนในพ้ืนท่ีทปี่ ระสบภัยแล้ง ประชาชนมี นา้ สะอาดและมีคุณภาพดใี ช้ในการอปุ โภคบริโภคอยา่ งเพียงพอและทวั่ ถึง และลดคา่ ใชจ้ ่ายหรือคา่ ครองชีพของประชาชน จากการจดั หานา้ ของประชาชน และส่งผลใหค้ ุณภาพชีวิตของประชาชนดีขนึ้ ประโยชนท์ ี่ได้รบั ท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ - เชิงปริมาณ : ประชาชนไดร้ ับประโยชน์ จานวน 10,000 คน - เชงิ คณุ ภาพ : ประชาชนมนี ้าสะอาดและมีคณุ ภาพดใี ช้ในการอปุ โภคบริโภคอย่างเพยี งพอและทั่วถงึ ตลอดปี สามารถแก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าอุปโภคบริโภคของประชาชนในพ้ืนที่ท่ปี ระสบภยั แล้ง ปัญหาอุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ ปัญหาดา้ นศกั ยภาพนา้ บาดาลในบางพน้ื ทเี่ ม่ือทาการเจาะนา้ บาดาลแล้วไดป้ รมิ าณน้าน้อย หรือไม่พบ ชัน้ นา้ บาดาล ปัญหาด้านโครงสร้างของหินทซ่ี บั ซ้อน โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเจาะบอ่ น้าบาดาลในชัน้ หินปูนทมี่ ีการพบโพรง แห้งอยชู่ ั้นบน จึงไม่สามารถเจาะต่อลงไป เนื่องจากมคี วามเสยี่ งทีจ่ ะทาให้เกิดบ่อแหง้ สง่ ผลให้เกิดความลา่ ชา้ ในการ ปฏิบัติงาน และปญั หาด้านคุณภาพน้าบาดาลในบางพ้ืนที่ เชน่ อาเภอนาแห้ว และอาเภอด่านซา้ ย เปน็ ตน้ ซ่งึ ประสบปัญหา นา้ เค็ม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 5 : การเสรมิ สรา้ งและรักษาความม่นั คง โครงการเสริมสรา้ งความรว่ มมือดา้ นความมน่ั คงกับประเทศเพอ่ื นบ้าน กิจกรรม : การประชุมคณะกรรมการร่วมมือรกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ยชายแดนระหว่างจังหวัดเลย กับแขวงเวยี งจันทน์ สปป.ลาว และจงั หวัดเลยกบั แขวงไชยะบลู ี สปป.ลาว โดยมีสานกั งานจังหวดั เลย เปน็ หน่วยดาเนนิ การ วตั ถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ เสรมิ สร้างความสัมพนั ธ์และความรว่ มมอื อันดรี ะหวา่ งจงั หวัดเลยกับ แขวงเวยี งจันทน์ และจงั หวดั เลยกับแขวงไชยะบลู ี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 2) เพื่อพัฒนาศกั ยภาพคน ชมุ ชน และพ้ืนทช่ี ายแดน รวมท้ังสง่ เสริมความมัน่ คงชายแดนภายใต้การมสี ว่ น ร่วมของประชาชนในพื้นท่ี

- 86 - 3) เพ่ือการพัฒนาความรว่ มมือในด้านการป้องกนั และปราบปรามยาเสพตดิ 4) เพื่อการพัฒนาความร่วมมือในด้านการปอ้ งกันและปราบปรามขบวนการคา้ มนุษย์ 5) เพ่ือการพฒั นาความร่วมมือในด้านการป้องกันและปราบปรามสนิ คา้ หนภี าษี วธิ ดี าเนินงาน 1) มีการจัดประชุมคณะกรรมการร่วมมือรักษาความสงบเรียบร้อยตามชายแดนไทย – ลาว จังหวัดเลยกับ แขวงเวียงจนั ทน์ และจงั หวดั เลยกับแขวงไซยะบลู ี สปป.ลาว อยา่ งนอ้ ยปลี ะ 1 ครง้ั โดยผลดั เปล่ยี นกนั เป็นเจ้าภาพ 2) มีการประสานงานและแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซ่ึงกันและกันระหว่างจังหวัดเลยกับแขวงเวียงจันทน์ และจงั หวดั เลยกับแขวงไซยะบลู ี อยา่ งตอ่ เนื่อง 3) มีการประชุมหารือ/การเยี่ยมเยอื น/การเขา้ ร่วมกจิ กรรม/โครงการระหวา่ งจงั หวดั เลยกบั แขวงเวยี งจันทน์ และจงั หวดั เลยกับแขวงไซยะบลู ี สปป.ลาว อยา่ งนอ้ ยปีละ 3 คร้ัง ผลลพั ธ์ 1) ความสัมพันธ์ระหว่างไทย กับสาธารณรัฐประชาธิปไตยลาว โดยเฉพาะจังหวัดเลยกับแขวงเวียงจันทน์ และจงั หวดั เลยกบั แขวงไชยะบูลี มคี วามสมั พันธ์ทแี่ นน่ แฟน้ ยิ่งข้ึนมีความเขา้ ใจและสง่ เสริมความร่วมมือในทุกๆด้าน 2) ประชาชนในพนื้ ท่ีจังหวดั เลยกบั แขวงเวยี งจนั ทน์ และแขวงไซยะบูลี สปป.ลาว สามารถประกอบอาชีพ เสริมรายได้ จากการประกอบธุรกิจ การค้าการลงทุน การท่องเท่ียว และสามารถเดินทางไปมาหาสู่กันกับประเทศ สปป. ลาว ได้อยา่ งสะดวกและปลอดภัย 3) มูลค่าการค้าระหว่างไทย – ลาว จังหวัดเลยกับแขวงเวียงจันทน์ และจังหวัดเลยกับแขวงไชยะบูลี เพมิ่ มากข้ึน ผลกระทบ เชิงบวก : ความสัมพันธ์ระหว่างจังหวัดเลย กับแขวงเวียงจันทน์ และจังหวัดเลยกับแขวงไซยะบูลี มีการพัฒนา อยา่ งตอ่ เน่อื ง เชงิ ลบ : จากผลกระทบของการเปดิ เสรที างการคา้ ท่ีเกิดข้ึนส่งผลใหร้ ฐั บาล สปป.ลาว ใชม้ าตรการทางการนาเขา้ ท่ีเขม้ งวดข้ึน รวมทงั้ เข้มงวดกับการปกป้องสิง่ แวดล้อมมากข้ึน ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อประเทศคู่ค้ารวมทั้งประเทศไทยด้วย

- 87 - โครงการเพม่ิ ขีดความสามารถการพัฒนาการคา้ การลงทุนและการทอ่ งเที่ยว เชื่อมโยงจังหวดั เลย – กลมุ่ จงั หวดั ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 (จังหวัดเพชรบรู ณ์ พิษณุโลก สโุ ขทัย ตาก และอุตรดิตถ์) กบั แขวงไชยะบูลี – แขวงหลวงพระบาง สปป.ลาว เชอื่ มโยงจีนตอนใต้/เวียดนามตอนเหนือ

- 88 - 1.10 โครงการขอ้ เสนอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมกลมุ่ จังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน 1 (จงั หวัดเลย) ทีผ่ า่ นความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีอยา่ งเปน็ ทางการนอกสถานทแี่ ลว้ 1.10.1 การประชมุ คณะรัฐมนตรอี ย่างเป็นทางการนอกสถานที่ ครัง้ ท่ี 7/2561 ณ จังหวัดเพชรบูรณ์ ที่ แผนงาน/โครงการ งบประมาณ หนว่ ยรบั ผดิ ชอบ (ลา้ นบาท) ด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ โครงขา่ ยคมนาคมทางอากาศ 987.8000 ทา่ อากาศยานเลย 1 โครงการพฒั นาศักยภาพท่าอากาศยานเลย 10,378.0000 7,150.0000 แขวงทางหลวงเลยท่ี 2 โครงข่ายคมนาคมทางถนน ดา้ นการค้า การลงทนุ และการค้าชายแดน (ด่านซา้ ย) 2 การพฒั นาโครงขา่ ยทางหลวงสายหลักเพ่อื สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรจ์ ังหวดั เลย 2.1 โครงการขยาย 4 ชอ่ งจราจรตลอดสาย ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 21 (ท่ปี ระชมุ มอบหมายให้ กลมุ่ จังหวัดภาคเหนอื ตอน หลม่ เก่า-ต.รอ่ งจิก-ต.สานตม-เลย ระยะทาง 128.374 กม. ตอนล่าง 1 เปน็ ผู้นาเสนอ) 2.1.1 ทล.21 ตอน ต.รอ่ งจิก-ต.สานตม ระยะทาง 25.925 กม. 1,839.0000 แขวงทางหลวงเลยที่ 1 งบประมาณ 1.150 ลา้ นบาท 2.1.2 ทล.21 ตอน หลม่ เกา่ -ต.รอ่ งจิก ระยะทาง 69.700 กม. 500.0000 แขวงทางหลวงเลยที่ 2 (ด่านซ้าย) งบประมาณ 4,000 ลา้ นบาท 2.1.3 ทล.21 ตอน ต.สานตม-เลย ระยะทาง 32.749 กม. 889.0000 แขวงทางหลวงเลยท่ี 1 งบประมาณ 2,000 ลา้ นบาท กระทรวงคมนาคม / การ 2.2 ทางหลวงแผน่ ดินหมายเลข 201 ตอน ผานกเค้า-วงั สะพุง รถไฟแหง่ ประเทศไทย ระยะทาง 38.622 กม. 166.320 กระทรวงเกษตรและ 2.3 โครงการปรับปรงุ ขยายผวิ จราจรเป็น 4 ชอ่ งจราจรและปรับปรงุ เป็น สหกรณ์/กระทรวงพลังงาน F1 (7/12) ทางหลวงหมายเลข 2115 ตอน ปากภู-โคกใหญ-่ กระทรวงการทอ่ งเทย่ี ว ปากหว้ ย ระยะทาง 19.64 และกฬี า ดา้ นการท่องเท่ียว 277.7086 สนง.สาธารณสขุ จังหวดั 2.5 ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 211 หว้ ยเชยี งดา-ปากชม-เชียงคาน เลย, โรงพยาบาลเลย, โรงพยาบาลวงั สะพุง ระยะทาง 49.09 กม. ยกระดับมาตรฐานเปน็ (7/12) 11,809.8286 โครงขา่ ยคมนาคมทางราง 3 ศึกษาการสร้างเสน้ ทางรถไฟเชือ่ มต่อทุกจังหวดั ภายในกลมุ่ จังหวัด (เลย หนองบัวลาภู บงึ กาฬ) ด้านยกระดบั การผลิตและการสร้างมูลค่าเพม่ิ ผลผลติ 4 โครงการขดุ เจาะบอ่ นา้ บาดาลในพื้นทก่ี ารเกษตรพรอ้ มติดตัง้ ระบบสูบน้าพลังงาน แสงอาทติ ย์ จานวน 200 บอ่ ด้านการท่องเทย่ี ว 5 โครงการศึกษาและการจัดทาแผนแมบ่ ทเส้นทางการท่องเที่ยวรมิ โขง จากจังหวัดเลยเชือ่ มต่อไปถึงอาเภอโขงเจียม จงั หวัดอุบลราชธานี ดา้ นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ 6 โครงการพฒั นาคณุ ภาพและศกั ยภาพการบรกิ ารสุขภาพ โรงพยาบาลเลย และโรงพยาบาลวงั สะพุง (กระทรวงมหาดไทย (สบจ.) ประสานกบั กระทรวงสาธารณสขุ ) รวมท้งั ส้ิน 6 โครงการ

- 89 - 1.10.2 การประชมุ คณะรัฐมนตรีอยา่ งเป็นทางการนอกสถานที่ ครง้ั ที่ 9/2561 ณ จังหวัดหนองคาย ด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ 1. โครงการศกึ ษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อม จานวน 4 โครงการ แยกเปน็ 1.1 ศกึ ษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกจิ วิศวกรรม และผลกระทบดา้ นสิ่งแวดล้อมของการก่อสรา้ ง ถนนเลยี่ งเมอื งเลย (BYPASS LOEI) - ปัจจุบันสภาพการจราจรในเขตเมืองเลย มีปริมาณการจราจรท่ีหนาแน่นและติดขัด ปริมาณการจราจร ปจั จุบนั (ADT = Average Daily Traffic) 21,982 คัน/วัน รถบรรทุก 1,563 คัน/วัน คิดเปน็ 7.11 % จึงมีความจาเป็นต้องก่อสร้างทางเลี่ยง เพื่อให้รถที่ต้องการใช้ความเร็ว หรือรถบรรทุก ใช้เส้นทาง เล่ียงเมือง จังหวัดเลย โดยแผนการดาเนินงาน กรมทางหลวงได้บรรจุไว้ในแผนพัฒนาทางหลวง 2562 - 2569 ซ่ึงปี 2562 ได้เสนองบการศึกษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรมและผลกระทบด้านส่ิงแวดล้อม โครงการก่อสร้าง ทางเล่ียงเมอื งเลย แต่ไมไ่ ด้งบประมาณ (ขอรับการพจิ ารณาสนับสนุนผลักดันงบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563) 1.2 ศึกษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบดา้ นส่ิงแวดล้อมทางเล่ียงเมือง เชยี งคาน (BYPASS CHAING KHAN) - ปัจจุบันสภาพการจราจรในบริเวณเมืองเชียงคาน มีปริมาณการจราจรท่ีหนาแน่นและติดขัดปริมาณ การจราจรปัจจุบัน (ADT = Average Daily Traffic) 9,665 คัน/วัน รถบรรทุก 871 คัน/วัน คิดเป็น 9.01 % จึงมีความ จาเป็นต้องก่อสร้างทางเล่ียง เพ่ือให้รถท่ีต้องการใช้ความเร็ว หรือรถบรรทุก ใช้เส้นทางเลี่ยงเมืองเชียงค าน จังหวัดเลย โดยแขวงทางหลวงเลยที่ 1 ได้เสนอความต้องการ เพ่ือให้ กรมทางหลวง พิจารณางบ ปี 2563 ต่อไป (ขอรับการพิจารณา สนบั สนุนผลักดนั งบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563) 1.3 ศึกษาความเหมาะสมการพัฒนาและปรับปรงุ โครงสร้างพื้นฐานและส่ิงอานวยความสะดวก เพ่ือ ส่งเสริมการท่องเทีย่ ว กจิ กรรมก่อสร้างสะพานคขู่ นานสะพานมิตรภาพน้าเหือง ไทย – ลาว ด่านพรมแดนบา้ นนากระ เซง็ อาเภอท่าล่ี จงั หวัดเลย - สืบเน่ืองจากมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เห็นชอบอนุมัติ ให้มีการ ก่อสร้างสะพานมิตรภาพน้าเหือง ไทย – ลาว ข้ามแม่น้าเหือง บริเวณบ้านนากระเซ็ง ตาบลอาฮี อาเภอท่าล่ี จังหวัดเลย ในฝั่งไทย และ พื้นที่บ้านเมืองหมอ เมืองแก่นท้าว แขวงไชยะบูรี ในฝ่ังสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ได้ก่อสร้าง สะพานแล้วเสร็จและเปิดใช้ เมื่อวันท่ี 28 ตุลาคม พ.ศ. 2547 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ืออานวยความสะดวกในการเดินทาง ขนส่งสินค้า, สนับสนุนการท่องเที่ยวความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ , การเชื่อมโยงเข้าสู่แหล่งท่องเท่ียว ปัจจุบันสะพาน มิตรภาพน้าเหือง ไทย -ลาว มีปริมาณการจราจรค่อนข้างสูง มีมูลค่าการค้าชายแดน 5 - 8 พันล้านบาทต่อปี และมี แนวโน้มว่าจะมีการใช้เป็นเส้นทางคมนาคม ขนส่ง และสัญจรไป – มา สูงขึ้นเรื่อย ๆ ทาให้ในอนาคตอันใกล้สะพาน มิตรภาพน้าเหืองไทย –ลาว ไม่สามารถรองรับต่อการใช้งานทาให้เกิดความไม่สะดวกในการสัญจรไป-มา ของนักท่องเท่ียว และราษฎรท่ีใช้สะพานขนส่งสินค้า ปัจจุบันมีรถบรรทุกสินค้าการเกษตรและบริการจากประเทศเพ่ือบ้านและประเทศไทย สัญจรผ่านสะพานโดยเฉลี่ย 73,000 คัน/ปี ซ่ึงสภาพสะพานมิตรภาพน้าเหือง ไทย - ลาว ท่ีใช้ในการท่องเท่ียว ขนส่งสินค้ามีความแคบไม่เพียงพอ ไม่สามารถตอบสนองการจราจรที่มีปริมาณเพ่ิมขึ้นหลายเท่าตัว เกิดความไม่สะดวก ในการเดนิ ทางและขนส่งสินคา้ เพอื่ เปน็ การส่งเสริมด้านการคา้ การลงทุน และรองรบั การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน

- 90 - จึงมีความจาเป็นต้องก่อสร้างสะพานคู่ขนานสะพานมิตรภาพน้าเหือง ไทย -ลาว เพื่อให้สามารถอานวย ความสะดวก ปลอดภัยในการเดินทาง โดยมุ่งเน้นพัฒนาเส้นทางให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมการค้าการลงทุน ติดต่อระหว่าง ประเทศและการคมนาคมสะดวกมากยิ่งขึ้น และรองรับการจราจรที่เพิ่มข้ึนในอนาคต โดยขอรับการสนับสนุน งบประมาณเพื่อศึกษาความเหมาะสมด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อมการพัฒนาและปรับปรุง โครงสรา้ งพ้นื ฐานและสิง่ อานวยความสะดวกเพ่อื สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว กจิ กรรม ก่อสร้างสะพานคู่ขนานสะพานมติ รภาพน้า เหืองไทย - ลาว ด่านพรมแดน บ้านนากระเซ็ง อาเภอท่าล่ี จังหวัดเลย โดยการก่อสร้างสะพานคู่ขนานสะพานแม่น้าเหือง ไทย – ลาว ขนาดความยาว 110 เมตร ทางรถกว้าง 9 เมตร ทางเท้ากว้างข้างละ 1.5 เมตร (ขอรับการพิจารณาสนับสนุน ผลักดันงบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) 1.4 ศึกษาความเหมาะสมกอ่ สร้างสะพานมิตรภาพ ไทย – ลาว จังหวัดเลย เพื่อรองรบั การเติบโตใน การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของกลมุ่ จังหวดั - จากข้อมลู การค้าชายแดนไทย - สปป.ลาว ด่านเชยี งคานและปากชม การค้ารวม ปี 2559 754.61 ล้านบาท ปี 2560 872.33 ล้านบาท ปี 2561 (ม.ค. - ต.ค.) 630.17 ล้านบาท สินค้านาเข้า ผงแร่แบไรต์ ลูกเดือยแกะเปลือก มันสาปะหลังเส้นแห้ง ดอกหญ้าไม้กวาด (แขม) ลูกเดือยทั้งเปลือก เมล็ดงาดิบ มันสาปะหลังหัวสด ชัน ลูกต๋าว กล้วยดิบ อ่ืน ๆ สินค้าส่งออก ลูกสุกรขุนคละเพศ แชมพู ครีมทาผิว ปูนซีเมนต์ ผง อาหารสัตว์ (สุกร) น้ายาปรับผ้านุ่ม ผงชูรส รถไถนาเดินตาม กระเบ้ืองสามลอน โจ๊ก อ่ืน ๆ มีจานวนบุคคลเดินทางเข้า ราชอาณาจักรไทย ด่านเชียงคานและปากชม ปี 2557 33,682 คน ปี 2558 34,133 คน ปี 2559 33,669 คน และปี 2560 33,526 คน จานวนบุคคลเดินทางออกราชอาณาจักรไทย ด่านเชียงคานและปากชม ปี 2557 62,088 คน ปี 2558 25,511 คน ปี 2559 25,705 คน และปี 2560 31,211 คน ปจั จุบนั การส่งออกสนิ คา้ จากประเทศไทยไปบ้านวงั เมอื งหมืน่ แขวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว ไดม้ กี าร ขนส่งทางเรือผ่านด่านพรมแดนบ้ านคกไผ่ อาเภอปากชม จังหวัดเลย ทาให้ขนส่งสินค้าได้จานวนน้อยและ ไม่สะดวกในการเดินทาง จึงเห็นควรให้มีการจัดทาโครงการก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้าโขงบริเวณนี้ โดยขอรับการ สนบั สนุนงบประมาณเพ่ือศึกษาความเหมาะสมก่อสร้างสะพานมิตรภาพ ไทย – ลาว จงั หวัดเลย เพ่ือรองรับการเติบโต ในการพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมของกลุ่มจังหวัด ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนเดินทางระหว่างจังหวัดเลยกับ แขวงเวียงจนั ทน์ ได้สะดวก รวดเรว็ ลดระยะเวลาการเดินทาง รวมทงั้ สง่ เสริมภาคธรุ กิจขนส่งและการท่องเที่ยวของทง้ั สอง ประเทศ (ขอรับการพิจารณาสนับสนุนผลกั ดนั งบประมาณ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ดา้ นพัฒนาคณุ ภาพชีวติ การพัฒนาด้านสาธารณูปโภค โครงการก่อสรา้ งระบบรวบรวมและบาบัดนา้ เสียชมุ ชนรมิ แม่นา้ โขง เทศบาลตาบลเชยี งคาน อาเภอเชยี งคาน จังหวัดเลย - อาเภอเชยี งคาน จงั หวัดเลย เป็นเมืองทอ่ งเทีย่ วท่ีสาคญั ของจงั หวัดเลย ติดแม่น้าโขง เป็นแหลง่ ท่องเท่ียวทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตลุ่มน้าโขงอันทรงคุณค่า เป็นท่ีรู้จักทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ในแต่ละปี จะมีนักท่องเท่ียวมาท่องเที่ยวจานวนมากก่อให้เกิดรายได้กับชุมชนและเศรษฐกิจของชุมชนให้ดีข้ึน ในขณะเดียวกัน ผลท่ีตามมา ก็คือ น้าเสยี จานวนมากเชน่ กนั ส่งผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มของเมืองเชียงคาน

- 91 - องค์การบริหารการพัฒนาพ้ืนท่ีพิเศษเพื่อการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน) หรือ อพท. ได้ร่วมกับเทศบาลตาบลเชียงคาน และองค์การบริหารส่วนจังหวัดเลย ในการศึกษาออกแบบร่วมกันโดยรับฟังความคิดเห็นของ ประชาชนในพื้นท่ี ในการดาเนินการแก้ไขปัญหาน้าเสีย ซึ่งได้ดาเนินการออกแบบก่อสร้างโรงน้าเสีย มีท้ังหมด 3 เฟส และได้ ดาเนินการก่อสร้างเสร็จส้ินเรียบร้อยแล้ว 1 เฟส ด้วยงบประมาณของ อพท. (จานวน 11 ล้านบาท) สาหรับ อีกสองเฟสที่เหลือได้ส่งมอบให้เทศบาลตาบลเชียงคาน ดาเนินการ แต่เนื่องด้วยเทศบาลไม่มีงบประมาณ จึงยังไม่สามารถ ดาเนินการกอ่ สร้างได้ ซ่งึ ส่งผลให้สภาพแวดลอ้ มของเมอื งเชียงคานนนั้ ยงั มปี ัญหาเร่ืองน้าเสียอยู่ จึงมีความจาเปน็ ที่จะตอ้ งเรง่ ดาเนนิ การกอ่ สร้างให้เสร็จสน้ิ โดยเร็วทัง้ สามเฟส เพอื่ รักษาสภาพแวดลอ้ ม ของเมืองเชียงคานให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามต่อไป ดังน้ัน จึงเสนอความต้องการให้องค์การจัดการน้าเสีย ในการกากับ ดูแลของกระทรวงมหาดไทย ดาเนินการโครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและบาบัดน้าเสียชุมชนริมแม่น้าโขง เทศบาลตาบลเชียงคาน อาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย (ท่ีเหลือทั้ง 2 เฟส ในงบประมาณ 2563 ต่อไป) (ขอรับการพิจารณา สนบั สนุนผลกั ดันงบประมาณ ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook