ผิดพลาด! ตัวเลขไม่สามารถถูกแสดงในรูปแบบที่ระบุ รายงานการพฒั นาตนเองด้วยระบบออนไลน์ การประชมุ วิชาการวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ในโรงเรยี น ระดบั ชาติ คร้ังที่ ๒๔ ในรูปแบบออนไลน์ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นายครรชิต แซโ่ ฮ่ ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลา สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศึกษายะลา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน
๒ วัตถปุ ระสงคก์ ารอบรม เพอ่ื แลกเปลีย่ นความคิดเหน็ และประสบการณใ์ นการจดั การเรียนการสอน การพฒั นานวัตกรรมให้ครู วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี รวมทงั้ เปน็ เวทีสาหรับการนาเสนอผลงานทางวิชาการ รบั ฟงั การ บรรยายและทากจิ กรรมทางวิชาการต่าง ๆ ร่วมกนั รปู แบบการอบรม บรรยาย และสาธิตพร้อมให้ผเู้ รียนฝึกปฏบิ ัติกับไฟล์ตวั อย่าง (Workshop) เกณฑ์การผา่ นเพอ่ื ได้วฒุ บิ ตั ร ๑. ผอู้ บรมตอ้ งเข้ารว่ มการอบรมไมน่ ้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. ผ้เู ขา้ อบรมตอ้ งทาแบบทดสอบหลังการอบรมให้มีคะแนนไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ ๗๐ ความรู้ที่ไดร้ บั ๑. การออกแบบกิจกรรมทเี่ สริมสรา้ งความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรคท์ างคณิตศาสตร์ บรรยายโดย อาจารย์ ดร.รงุ่ ฟา้ จันท์จารุภรณ์ มหาวทิ ยาลัยศรียครนิ ทรวิโรฒ ในอดีตท่ีผ่านมา ครูหลายท่านใช้วิธีการจัดการเรียนรู้โดยมุ่งเน้นไปท่ีเน้ื อหามากกว่าทักษะและ กระบวนการเรียนรู้ เป็นผลให้ผู้เรียนจานวนไม่น้อยยังคงมีปัญหาเก่ียวกับการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ การอ้างอิง เหตุผล การส่อื สาร การเชอื่ มโยง รวมถึงเรือ่ งความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ทางคณิตศาสตร์ คาถามที่น่าสนใจ คือ ครูผู้สอนจะสามารถออกแบบกิจกรรมท่ีเสริมสร้างความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ทาง คณติ ศาสตรไ์ ด้อย่างไร แนวคดิ เกยี่ วกับความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ (Creative Thinking) หมายถึง กระบวนการคิดที่อาศัยความรู้พ้ืนฐาน จินตนาการ และวิจารณญาณ ในการพัฒนาคิดค้นองค์ความรู้หรือส่ิงประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ีมีคุณค่าและเป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและสงั คม องค์ประกอบของความคิดรเิ ริ่มสร้างสรรค์ (Guilford, J.P. (๑9๖๗).) ๑) ความคิดคล่อง (Fluency) หมายถึง ความสามารถในการคิดเพ่ือให้ได้คาตอบจานวนมากที่แตกต่าง กัน หรอื หลากหลายวธิ ี ๒) ความคิดยืดหยนุ่ (Flexibility) หมายถงึ ความสามารถในการคิดปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ สามารถ คดิ แลว้ เลอื กนาไปใช้ใหต้ รงกบั สถานการณ์หรือเงื่อนไขท่ีกาหนด ๓) ความคิดริเริ่ม (Originality) หมายถึง ความสามารถในการคิดเพ่ือให้ได้ความคิดที่มีลักษณะแปลก ใหม่ ๔) ความคิดละเอียดลออ (Elaboration) หมายถึง ความสามารถในการคิดท่ีมีรายละเอียดลุ่มลึกหลาย แง่มุมในแตล่ ะคาตอบ ลักษณะสาคัญของผมู้ คี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ (Guilford, J.P. (๑9๖๗).) ๑) มคี วามอยากรู้อยากเห็น ๒) มีความไวต่อปญั หา ๓) มีความคิดแหวกแนว ๔) ชอบทาสง่ิ ทา้ ทาย ๕) ชอบการเปล่ยี นแปลง ๖) ทางานเพื่อความพอใจ ๗) มีอารมณข์ นั
๓ แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์เพื่อเสริมสร้างทักษะกระบวนการและความคิด ริเรม่ิ สรา้ งสรรคผ์ า่ นการแก้ปัญหา (Problem-Solving Approach) ใช้สถานการณ์ปัญหาท่ีเหมาะสมกับวัยและพัฒนาการของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์การ แกป้ ญั หาด้วยตนเองอย่างเป็นข้ันตอน โดยเลือกใช้สถานการณ์ท่ีเป็น “ปัญหา” ไม่ใช่ “แบบฝึกหัด” ควรเป็นปัญหาท่ี ยังไม่ทราบวธิ ีการหรือคาตอบในทันที แนวทางการประเมินผล: เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค เกณฑ์การให้คะแนนแบบรูบริค (Rubric scoring) เป็นการให้คะแนนที่คานึงถึงทักษะและกระบวนการ ทางคณติ ศาสตร์ของผ้เู รียน ประเมินผลจากผลงานท่ีนักเรียนทา หรือ พฤติกรรมที่นักเรียนแสดงออก ไม่ได้พิจารณาที่ คาตอบหรือผลลัพธ์สุดท้ายเพียงอย่างเดียว แต่ยังพิจารณาท่ีข้ันตอนการทางานของนักเรียนด้วย โดยมีการกาหนด ระดบั คะแนน พรอ้ มระบรุ ายละเอียดของผลงานหรอื พฤติกรรมของนักเรียนไว้อยา่ งชัดเจนและเป็นรูปธรรม แบบท่ี ๑ แบบวิเคราะห์ กาหนดระดับคะแนนพร้อมระบุรายละเอียดของผลงานหรือพฤติกรรมของนักเรียนที่ควรมี \"การ แยกแยะ\" ลงไปเปน็ ขั้น ๆ ของการทางาน แบบที่ ๒ แบบองค์รวม กาหนดระดับคะแนนพร้อมระบุรายละเอียดของผลงานหรือพฤติกรรมของนักเรียนที่ควรมีเป็นภาพรวม ของการทางานท้ังหมด \"ไมต่ ้องแยกแยะ\" ลงไปเปน็ ขั้น ๆ ของการทางาน จากการสารวจพบว่า ยังมีครูอยู่จานวนไม่น้อย ท่ีขาดความรู้ความเข้าใจในแนวคิดเกี่ยวกับทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ การประเมินผลที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งหาก ได้รับความรู้อย่างถูกต้อง และนาไปประยุกต์ใช้อย่างถูกวิธี ครูผู้สอนจะสามารถช่วยผู้เรียนแก้ไขปัญหาในด้านต่าง ๆ ทกี่ ลา่ วไปในตอนตน้ ได้อยา่ งแน่นอน ๒. กจิ กรรมการเรียนการสอนเรื่องความรพู้ ้ืนฐานสาหรับแคลคูลสั โดยใชเ้ ครื่องคานวณเชิงกราฟ TI – Nspire CX II CAS บรรยายโดย อาจารย์ สายัณห์ โสธะโร มหาวทิ ยาลยั ศรยี ครนิ ทรวิโรฒ ปัจจุบันการศึกษาได้มีการเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก ในศตวรรษที่ ๒๑ เคร่ืองมือเพ่ือแสวงหาความรู้มี ความสาคญั มากกวา่ ความรู้ ความเจรญิ ก้าวหนา้ ทางเทคโนโลยที าให้ผู้เรียนสามารถค้นหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากแหล่ง ต่าง ๆ มากมาย บทบาทของผู้สอนจึงเปลี่ยนแปลงไปจาการยืนหน้าชั้น มาเป็นการกระตุ้นและอานวยความสะดวกใน การเรียน ทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มากที่สุดด้วยกระบวนทัศน์ท่ีเปลี่ยนแปลงไปจึง ทาใหแ้ นวคิดต่อการจัดการศึกษาเปลย่ี นแปลงไปดว้ ย เคร่ืองคานวณเชิงกราฟของ Texas Instruments รุ่น Nspire CX II CAS สามารถคานวณแบบ Computer Algebra System (CAS) เหมาะสาหรับนักเรียนต้ังแต่ระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป เพื่อใช้คานวณทางพีชคณิต แคลคูลัส และสถิติ รวมถึงสถิติในระดับสูง ด้วยความสามารถที่หลากหลายจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ทักษะและ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ผ่านเครื่องคานวณเชิงกราฟได้ เคร่ืองคานวณเชิงกราฟถูกพัฒนาโดยบริษัท Texas Instruments มาโดยตลอด ซึ่งทาให้ม่ันใจได้ว่าเครื่องคานวณเชิงกราฟ TI – Nspire CX II CAS ท่ีเป็นรุ่นล่าสุดใน ปจั จุบนั เป็นเครอื่ งคานวณเชิงกราฟที่มีประสิทธภิ าพท่ีดีทสี่ ดุ และมีความสามารถในการทางานท่ีหลากหลาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า เคร่ืองคานวณเชิงกราฟ (Graphing Calculator หรอื Handheld) เป็นเทคโนโลยสี ารสนเทศชนดิ หนงึ่ ท่ชี ่วยใหค้ รูคณิตศาสตร์สามารถนาเสนอแนวคิดที่เป็น นามธรรมให้เป็นรปู ธรรมมากข้ึนได้ นักเรียนสามารถเรยี นรู้และทาความเข้าใจ แสดงการเปรียบเทียบได้ง่าย การคานวณ ค่าและการดาเนินงานเกี่ยวกับฟังก์ชันต่าง ๆ ทาได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน ถูกต้อง แม่นยา และตรวจสอบได้ นับว่าเป็น แนวทางหนึ่งท่ีช่วยให้นักเรียนสามารถขยายความคิดทางคณิตศาสตร์ได้กว้างขึ้น สามารถนาข้อมูลในชีวิตจริงเข้ามาสู่ การคานวณ สอดคลอ้ งกับสภาพสังคมเทคโนโลยีในปัจจุบัน
๔ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เห็นความสาคัญในการใช้เครื่องคิดเลขกราฟิกใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคณิตศาสตร์ว่าเป็นเทคโนโลยีท่ีช่วยให้ครูวิชาคณิตศาสตร์สามารถนาเสนอเนื้อหาที่ เปน็ นามธรรมให้เป็นรูปธรรมไดม้ ากข้ึน นักเรยี นวิชาคณิตศาสตร์สามารถเรียนรู้ และทาความเข้าใจ ทาการเปรียบเทียบ ได้ง่าย ทาได้อย่างรวดเร็ว ชัดเจน ถูกต้อง แม่นยา และตรวจสอบได้ ซ่ึงเป็นแนวทางหนึ่งท่ีสามารถช่วยขยายความคิด ทางคณติ ศาสตร์ให้กว้างขึ้น
๕
๖
๗
๘
๙ ๓. การประยุกต์ใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตรใ์ นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสถิตแิ ละความ นา่ จะเปน็ บรรยายโดย นายจาเรญิ อนันตธรรมรส โรงเรยี นปากชอ่ ง ปัจจุบันเทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสาคัญในชีวิตของมนุษย์ การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ก็ เช่นเดียวกันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีต่าง ๆ เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการจัดการเรียนการสอน หน่ึงในเครื่องมือท่ี สาคัญในการเรียนการสอนคณิตศาสตร์คือเคร่ืองคานวณวิทยาศาสตร์ (Scientific Calculator) เพราะเครื่อง คานวณวทิ ยาศาสตรท์ าใหน้ กั เรียนสามารถเข้าใจบทเรียนคณติ ศาสตรไ์ ด้ง่ายขน้ึ การประยุกต์ใช้เคร่ืองคานวณวิทยาศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสถิติและความน่าจะเป็น นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้เก่ียวกับการใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสถิติและ ความน่าจะเป็น ผู้เข้าอบรมจะได้เรียนรู้การใช้เคร่ืองคานวณวิทยาศาสตร์ในการคานวณเกี่ยวกับสถิติและความน่า จะเป็น ในเมนู Distribution โดยการสาธิตผ่านซอฟแวร์เครื่องคานวณสาหรับครูผู้สอน มีการสอดแทรกการใช้ผ่าน ซอฟแวร์เครื่องคานวณสาหรับครูผู้สอน และระบบ Classroom Sharing ซึ่งจะทาให้การจัดการเรียนการสอนมีความ น่าสนใจมากขึ้น กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และสร้างความมั่นใจในส่ิงที่ได้เรียนรู้เม่ืออยู่นอกห้องเรียน ตลอดจน สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาต่อในระดับสูงต่อไป แนะนาเกย่ี วกบั ตวั เครอ่ื งคานวณวิทยาศาสตร์
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗ ๘. ประโยชน์ทไี่ ด้รบั ๘.๑ ครูที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการออกแบบกิจกรรมท่ีเสริมสร้างความคิดริเริ่ม สรา้ งสรรค์ทางคณติ ศาสตร์ ๘.๒ ครูท่ีเข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในกิจกรรมการเรียนการสอนเรื่องความรู้พ้ืนฐานสาหรับ แคลคูลัส โดยใชเ้ ครื่องคานวณเชิงกราฟ TI – Nspire CX II CAS ๘.๓ ครูทเี่ ข้ารับการอบรมมคี วามรเู้ ก่ียวกบั การใช้เครื่องคานวณวิทยาศาสตร์ในการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนสถิตแิ ละความน่าจะเป็น ๙. งาน / โครงการที่จดั ทา นาความรู้มาบูรณาการในการจัดการเรียนรใู้ นรายวิชา ค ๓๓๑๐๑ คณติ ศาสตร์ ๕ และ ค ๓๓๒๐๑ คณิตศาสตร์เพ่ิมเตมิ ๕ ของภาคเรียนท่ี ๑ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔ ๑๐. ค่าใชจ้ า่ ยในการอบรม ไม่เสียคา่ ใชจ้ า่ ย
Search
Read the Text Version
- 1 - 25
Pages: