คำอธบิ ำยรำยวิชำพื้นฐำน รำยวิชำ ท 33102 ภำษำไทย 6 กล่มุ สำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ช้ันมัธยมศึกษำปี ที่ 6 ภำคเรียนท่ี 2 เวลำ 40 ชั่วโมง 1 หน่วยกติ (2 คำบ/สัปดำห์) คำอธิบำยรำยวชิ ำ ฝึกทกั ษะการอา่ น การฟัง การดู การพดู การเขยี น การวิเคราะห์และการประเมินคา่ วรรณกรรม วรรณคดี วิเคราะห์ วิจารณ์ โดยการศึกษาเก่ียวกบั การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ประเภทนวนิยาย อ่านออกเสียงบท ร้อยกรองประเภทกาพยเ์ ห่เรือ ฉนั ท์ วเิ คราะห์ วิจารณ์เรื่องท่ีอ่านในทุกดา้ น แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ และ เสนอความคดิ ใหม่ อา่ นเรื่องแลว้ บนั ทึกยอ่ ความ ผลิตงานเขียนประเภทบนั เทิงคดี ประเมินคุณค่างานเขียนดา้ นแนวคิด การใช้ถอ้ ยคา สานวน โวหาร การเรียบเรียง กลวิธีในการเขยี นของตนเองและผอู้ ื่น พูดสรุปแนวคิดแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์การใชภ้ าษาความน่าเช่ือถือ ประเมินเรื่องท่ีฟัง และมี วิจารณญาณในการเลือกเร่ืองท่ีฟังและดู วิเคราะห์และประเมินการใช้ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพแ์ ละสื่ออิเล็กทรอนิกส์ แต่งร้อยกรองประเภท โคลงและกาพย์ วิเคราะห์ลกั ษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกบั ประวตั ิศาสตร์ ประเมินคุณค่าและสังเคราะห์ขอ้ คิดจาก วรรณคดีและวรรณกรรมเร่ืองกาพยเ์ ห่เรือ สามคั คีเภทคาฉนั ท์ รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ นและอธิบายภูมิ ปัญญาทางภาษา เช่น ภาษากบั วฒั นธรรม ภาษาถ่ิน ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่ กาหนด โดยใชก้ ระบวนการอ่าน กระบวนการฟัง การดู การพูด กระบวนการเขียนส่ือสารสร้างสรรค์ความรู้ ความคิด เพ่ือนาไปใชใ้ นการตดั สินใจแกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิต ใหเ้ ขา้ ใจธรรมชาติของภาษา ภูมิปัญญา ของภาษา แสดงความคิดเห็นอยา่ งสร้างสรรค์ วิเคราะห์ประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณค่า นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเ้ ป็ นมรดกของชาติ มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน มีมารยาทใน การอา่ น การเขยี น การฟัง การดู และการพูด ตวั ชีว้ ัด ท 1.1 ม.6/1, 3, 5, 7, 9 ท 2.1 ม.6/4, 5, 8 ท 3.1 ม.5/1, 2, 3, 4, 6 ท 4.1 ม.5/4, 7 ท 5.1 ม.5/2, 3, 4, 5, 6 รวมตวั ชีว้ ดั 20 ตัวชีว้ ดั
โครงสร้ำงรำยวิชำพื้นฐำน รำยวชิ ำ ท 33102 ภำษำไทย 6 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ช้ันมัธยมศึกษำปี ท่ี 6 ภำคเรียนที่ 2 เวลำ 40 ชั่วโมง 1 หน่วยกติ (2 คำบ/สัปดำห์) ท่ี ช่ือหน่วยกำรเรียนรู้ มฐ. สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั 1 กาพยเ์ ห่เรือ ตวั ชี้วดั ช่ัวโมง คะแนน ท 1.1 2 สามคั คีเภทคาฉนั ท์ ม.4-6/1 1. อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ 14 20 ม.4-6/9 ท 4.1 ถกู ตอ้ งไพเราะและเหมาะสมกบั เรื่อง ม.4-6/4 ท 5.1 2. มีมารยาทในการอา่ น ม.4-6/2 ม.4-6/3 3. แต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์ ม.4-6/4 ม.4-6/6 5. วิเคราะหล์ กั ษณะเด่นของ ท 1.1 วรรณคดีเช่ือมโยงกบั การเรียนรู้ ม.4-6/1 ม.4-6/3 ทางประวตั ิศาสตร์และวิถีชีวติ ท 4.1 ม.4-6/4 ของสังคมในอดีต ม.4-6/5 6. วิเคราะห์และประเมินคุณค่า ดา้ นวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและ วรรณกรรมในฐานะท่ีเป็ นมรดก ทางวฒั นธรรมของชาติ 7. สงั เคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเพ่ือนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง 8. ท่องจาและบอกคุณคา่ บท อาขยานตามที่กาหนด และบท ร้อยกรองที่มีคุณคา่ ตามความ สนใจและนาไปใชอ้ า้ งอิง 1. อ่านออกเสียงบทร้อยกรองได้ 14 15 ถูกตอ้ งไพเราะและเหมาะสมกบั เรื่อง 2. วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ เรื่องที่อ่านใน ทุก ๆ ดา้ นอยา่ งมีเหตผุ ล 3. ผลิตงานเขยี นของตนเองใน รูปแบบบนั เทิงคดี
ท่ี ชื่อหน่วยกำรเรียนรู้ มฐ. สำระสำคญั เวลำ น้ำหนกั 2 สามคั คีเภทคาฉนั ท์ ตวั ชีว้ ดั ช่ัวโมง คะแนน ม.4-6/8 3 วรรณกรรมพ้นื บา้ น ท 5.1 4. ประเมินงานเขียนของผอู้ ื่นแลว้ ม.4-6/3 ม.4-6/4 นามาพฒั นางานเขยี นของตนเอง ท 1.1 5. มีมารยาทในการเขียน ม.4-6/3 ท 3.1 6. วิเคราะห์และประเมินคุณคา่ ม.4-6/2 ม.4-6/3 ดา้ นวรรณศิลป์ ของวรรณคดีและ ม.4-6/4 ม.4-6/6 วรรณกรรมในฐานะที่เป็ นมรดก ท 4.1 ม.4-6/4 ทางวฒั นธรรมของชาติ ม.4-6/7 ท 5.1 7. สังเคราะหข์ อ้ คิดจากวรรณคดี ม.4-6/5 และวรรณกรรมเพ่ือนาไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง 1. วิเคราะห์ วจิ ารณ์ แสดงความ 10 15 คิดเห็นโตแ้ ยง้ เกี่ยวกบั เรื่องท่ีอา่ น และเสนอความคิดใหม่อยา่ งมี เหตุผล 2. ประเมินแนวคิดจากเร่ืองที่ฟัง และดู แลว้ กาหนดแนวทางมา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดาเนินชีวิต 3. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่อง ที่ฟังและดู 4. มีมารยาทในการฟัง การดู และ การพดู 5. แต่งบทร้อยกรองประเภทโคลง 6. วิเคราะห์และประเมินการใช้ ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพแ์ ละส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ 7. รวบรวมวรรณกรรมพ้ืนบา้ น และอธิบายภมู ิปัญญาทางภาษา สอบระหว่ำงภำค 1 20 สอบปลำยภำค 1 30 รวม 40 100
แผนการจดั การเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการเรียนรู้ ๕ ขนั้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย รายวชิ า ภาษาไทย ๖ รหสั วิชา ท ๓๓๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ เวลาเรียน ๑๐ คาบ ครูผสู้ อน นายไพโรจน์ ขวญั คง โรงเรยี นคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลา __________________________________________________________________________ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคิด เพ่ือนาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหา ในการดาเนนิ ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอา่ น มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรือ่ งราว ในรูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานขอ้ มลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟังและดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ ความรูส้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ พลงั ของภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบตั ิของชาติ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคณุ ค่าและนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ๒. ตวั ชี้วัด ๑. อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง ไพเราะ และเหมาะสมกบั เรอื่ งท่ี อ่าน ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๑) ๒. ตคี วาม แปลความ และขยายความเรือ่ งท่ีอา่ น ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๒) ๓. วิเคราะหแ์ ละวจิ ารณเ์ รื่องท่อี า่ นในทกุ ๆ ดา้ นอยา่ งมเี หตผุ ล ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๓) ๔. คาดคะเนเหตกุ ารณจ์ ากเร่ืองท่ีอ่านและประเมนิ คณุ ค่าเพ่อื นาความรู้ ความคิดไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชวี ิต ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๔) ๕. วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เก่ียวกบั เร่ืองท่ีอา่ น และเสนอความคิดใหม่อย่างมี เหตผุ ล ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๕) ๖. ตอบคาถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่าง ๆ ภายในเวลาท่ีกาหนด ท ๑.๑ (ม. ๔–๖/๖)
๗. วเิ คราะหแ์ ละวิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมตามหลกั การวิจารณเ์ บือ้ งตน้ ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๑) ๘. สงั เคราะหข์ อ้ คดิ วรรณคดีและวรรณกรรมเพ่อื นาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ท ๕.๑ (ม. ๔–๖/๔) ๓. จุดเน้น ๑) แสวงหาความรูเ้ พ่อื แกป้ ัญหา ๒) ใชเ้ ทคโนโลยเี พ่ือการเรียนรู้ ๓) ทกั ษะการสื่อสารอย่างสรา้ งสรรคต์ ามช่วงวยั ๔. สาระสาคัญ กาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศรเป็นวรรณคดีท่ไี ม่มเี นอื้ เร่อื ง แต่ดีเดน่ ดา้ นคณุ คา่ ทางวรรณศิลป์ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความงดงาม ความ สงา่ งาม ความตระการตาของกระบวนพยหุ ยาตรทางชลมารค ดว้ ย ถอ้ ยคา สานวน โวหารท่จี บั ใจเป็นวรรณคดีท่ถี ่ายทอดอารมณล์ กึ ซงึ้ ของกวีในฐานะปถุ ชุ นคนหนึ่งท่ีมีความ รกั ความทกุ ข์ ความอาลยั ฯลฯ เช่นเดียวกบั มนษุ ยค์ นอ่นื ๆ ไมว่ า่ จะอย่ใู นยคุ สมยั ใดหรอื ถ่นิ ใดท่พี งึ มีได้ กาพยเ์ หเ่ รือ สะทอ้ นชีวติ ของคนไทยในอดีตท่ผี ูกพนั กบั แม่นา้ ลาคลอง ตงั้ แต่การอปุ โภค บรโิ ภค การสญั จรทางนา้ ดว้ ย จดุ ม่งุ หมายต่าง ๆ ตลอดจนมีประเพณีและศลิ ปะแขนงตา่ ง ๆ ท่ีเกิดจากวิถี ชวี ิต รมิ นา้ ซง่ึ แสดงใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของกาพยเ์ หเ่ รือในดา้ นสงั คมและ วฒั นธรรม ๕. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๕.๑ บอกความเป็นมา ประวตั ผิ แู้ ต่ง ลกั ษณะคาประพนั ธ์ และ วิเคราะหค์ ณุ คา่ ดา้ น เนอื้ หาและดา้ นวรรณศิลป์ ได้ ๕.๒ วิเคราะหล์ กั ษณะเด่นของเร่อื งกาพยเ์ ห่เรือ เช่ือมโยงกบั การ เรยี นรูท้ าง ประวตั ศิ าสตรแ์ ละวถิ ีชวี ติ ของสงั คมไทยในอดีตได้ ๕.๓. วเิ คราะหแ์ ละประเมินคณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะ ท่ี เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติได้ ๕.๔ อ่านออกเสียง อา่ นทานองเสนาะ และท่องจาบทอาขยานบทหลกั จาก กาพยเ์ หเ่ รือ เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศรได้ ๕.๕ แต่งบทรอ้ ยกรองประเภทโคลสี่สภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ ได้ ๕.๖ มวี ินยั และรกั ความเป็นไทย
๖. สาระการเรียนรู้ ๖.๑ ความรู้ กาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศรเป็นวรรณคดีท่ไี มม่ ีเนอื้ เรื่อง แต่ดีเดน่ ดา้ นคณุ ค่าทางวรรณศิลป์ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความงดงาม ความ สงา่ งาม ความตระการตาของกระบวนพยหุ ยาตรทางชลมารค ดว้ ย ถอ้ ยคาสานวน โวหารท่จี บั ใจเป็นวรรณคดีท่ถี ่ายทอดอารมณล์ กึ ซงึ้ ของกวีในฐานะปถุ ชุ นคนหน่ึงท่ีมีความ รกั ความทกุ ข์ ความอาลยั ฯลฯ เช่นเดยี วกบั มนุษยค์ นอ่นื ๆไมว่ ่าจะอยใู่ นยคุ สมยั ใดหรือถ่นิ ใดท่พี งึ มไี ด้ กาพยเ์ หเ่ รอื สะทอ้ นชีวิตของคนไทยในอดีตท่ผี กู พนั กบั แมน่ า้ ลาคลอง ตงั้ แต่การอปุ โภค บรโิ ภค การ สญั จรทางนา้ ดว้ ย จุดมงุ่ หมายต่าง ๆ ตลอดจนมปี ระเพณีและศิลปะแขนงต่าง ๆ ท่เี กดิ จากวถิ ี ชีวิตรมิ นา้ ซ่งึ แสดงใหเ้ ห็นคณุ คา่ ของกาพยเ์ หเ่ รือในดา้ นสงั คมและ วฒั นธรรม ๖.๒ ทกั ษะกระบวนการ – กระบวนการส่ือสารทางภาษา ประกอบดว้ ย การฟัง พดู อ่าน เขียน การคิดวเิ คราะห์ คิด สงั เคราะห์ การประเมินคา่ วรรณคดีและวรรณกรรม และแตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทโคลงสสี่ ภุ าพและกาพย์ ยานี ๑๑ ๒.๓ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ มีวินยั และ รกั ความเป็นไทย ๗. สมรรถนะสาคัญ ๑) ความสามารถในการส่ือสาร ๒) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๘. บูรณาการ ๘.๑ บรู ณาการกบั สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษาศาสนาและวฒั นธรรม สาระ ประวตั ิศาสตร์ และ สาระวฒั นธรรม ๘.๒ บรู ณาการกลมุ่ สาระการเรียนรูศ้ ลิ ปะ สาระ ดนตรี (หอ้ งเรียนพิเศษดนตร)ี
๙. หลกั ฐานการจดั การเรียนรู้ ๙.๑ You tube การอา่ นออกเสียงทานองเสนาะ กาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร์ ตอน เห่ชมเรือ ๙.๒ ผลงาน / ชนิ้ งาน การศกึ ษาวิเคราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดี จากกาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร์ ๙.๓ แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทโคลงส่ีสภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ ๑๐. กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ (คาบเรยี นที่ ๑) ๑๐.๑ ปฐมนิเทศ / ทดสอบก่อนเรยี น เร่อื ง กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ๑๐.๒ ครูสาธิตการอา่ นทานองเสนาะกาพยเ์ หเ่ รือ ตอน ชมเรอื พรอ้ มแนะนาใหน้ กั เรยี นฝึกอา่ นบท ท่องจาบทหลกั เรื่องกาพยเ์ หเ่ รือเขา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมเรอื จาก You tube ,จาก Line กลมุ่ และ มอบหมายใหน้ กั เรียนฝึกอ่านทานองเสนาะและท่องจา เพ่อื คดั เลือกผลงานลง You tube (คาบที่ ๒) ขนั้ ที่ ๑ การตงั้ คาถาม /สมมตฐิ าน ๑๐.๓ ครูตงั้ คาถาม “ทาไมตอ้ งเรยี นวรรณคดแี ละวรรณกรรม” ใหน้ นกั เรียนตอบคนละ ๑ คาตอบ ๑๐.๔ ครูรวบรวมคาตอบนกั เรียน ประมวลและสรุปคาตอบความสาคญั ของการเรียนวรรณคดแี ละ วรรณกรรม ๑๐.๕ นกั เรียนชม YOU TUBE กาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ครูตงั้ คาถามเพ่อื เป็นแนวทางการ เรยี นรูก้ าพยเ์ ห่เรือ ดงั นี้ ๑) เรียนฟังกาพยเ์ หเ่ รือแลว้ รูส้ กึ อย่างไร ไดอ้ รรถรสดา้ นใดบา้ ง ๒) กาพยเ์ ห่เรือตอนท่นี กั เรียนดมู าจากวรรณคดีเร่ืองใด นใี้ ครเป็นผปู้ ระพนั ธ์ ๓) กาพยเ์ ห่เรือแต่งดว้ ยคาประพนั ธช์ นิดใดบา้ ง ๔) กาพยเ์ หเ่ รือตอนท่ดี นู ี้ มีเนอื้ หาเกี่ยวกบั อะไร ใหค้ วามรูใ้ น เร่ืองใด ๕) กาพยเ์ ห่เรือตอนท่เี รียนแสดงคณุ ค่าวรรณคดีอยา่ งไรบา้ ง คาบที่ ๓ ขนั้ ที่ ๒ การสบื คน้ ความรูแ้ ละสารสนเทศ ๑๐.๖ นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ เพ่อื ศกึ ษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร จานวน ๖ กลมุ่ ดงั นี้ กลมุ่ ท่ี ๑ ศกึ ษาท่มี าและความสาคญั ของกาพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร กลมุ่ ท่ี ๒ ศกึ ษาเนือ้ เร่ืองและคณุ คา่ วรรณคดกี าพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมเรือ กลมุ่ ท่ี ๓ ศึกษาเนือ้ เรื่องและคณุ ค่าวรรณคดกี าพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมปลา กลมุ่ ท่ี ๔ ศกึ ษาเนือ้ เร่ืองและคณุ ค่าวรรณคดกี าพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมไม้
กลมุ่ ท่ี ๕ ศกึ ษาเนือ้ เร่ืองและคณุ คา่ วรรณคดีกาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมนก กลมุ่ ท่ี ๖ ศกึ ษาเนือ้ เรื่องและคณุ ค่าวรรณคดีกาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน เห่ครวญ ๑๐.๗ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาคน้ ควา้ ขอ้ มลู จากส่ือแหลง่ เรียนรูแ้ ละขอ้ มลู สารทนเทศ เพ่ือ รวบรวมขอ้ มลู ความรู้ และจดั ทาผลงานตามหวั ขอ้ ท่มี อบหมาย คาบที่ ๔ - ๘ ขนั้ ที่ ๓ ขนั้ การสรา้ งความรู้ ๑๐.๘ นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงานจากการศกึ ษาคน้ ควา้ ตามท่ไี ดร้ บั มอบหมาย ๑) กลมุ่ ท่ี ๑ เสนอผลการศกึ ษาท่มี าและความสาคญั ของกาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๒) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปท่มี าและความสาคญั ของกาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๓) นกั เรยี นทาแบบฝึก ท่มี าและความสาคญั ของกาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๑๐.๙ นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี ๒ เสนอผลงานการศกึ ษากาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอนท่ี ๑ ชมเรือ ๑) นกั เรยี นทกุ คนอ่านออกเสยี ง กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมเรือ พรอ้ มกนั ๒) นกั เรียนกลมุ่ ท่ี ๒ เสนอผลการศกึ ษากาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ธรรมธิเบศร ตอบ ชมเรือ ดา้ น เนอื้ เร่ือง และคณุ คา่ วรรณคดี ๓) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปเนือ้ หาและคณุ ค่าวรรณคดีของบท ชมเรือ ๔) นกั เรียนทาแบบฝึก คณุ ค่าวรรณคดจี ากกาพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร บท ชมเรือ ๑๐.๑๐ นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี ๓ เสนอผลงานการศกึ ษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอนท่ี ๒ ชมปลา ๑) นกั เรียนทกุ คนอา่ นออกเสยี ง กาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมปลา พรอ้ มกนั ๒) นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี ๓ เสนอผลการศกึ ษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ธรรมธิเบศร ตอบ ชมปลา ดา้ น เนอื้ เรอ่ื ง และคณุ คา่ วรรณคดี ๓) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปเนือ้ หาและคณุ ค่าวรรณคดีของบท ชมปลา ๔) นกั เรยี นทาแบบฝึก คณุ คา่ วรรณคดจี ากกาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร บท ชมปลา ๑๐.๑๑ นกั เรียนกลมุ่ ท่ี ๔ เสนอผลงานการศึกษากาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอนท่ี ๓ ชมไม้ ๑) นกั เรียนทกุ คนอา่ นออกเสียง กาพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมไม้ พรอ้ มกนั ๒) นกั เรียนกลมุ่ ท่ี ๔ เสนอผลการศกึ ษากาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ธรรมธิเบศร ตอบ ชมไม้ ดา้ น เนอื้ เรอ่ื ง และคณุ คา่ วรรณคดี ๓) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปเนือ้ หาและคณุ ค่าวรรณคดีของบท ชมไม้ ๔) นกั เรยี นทาแบบฝึก คณุ ค่าวรรณคดีจากกาพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร บท ชมไม้ ๑๐.๑๒ นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี ๕ เสนอผลงานการศกึ ษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอนท่ี ๔ ชมนก ๑) นกั เรียนทุกคนอา่ นออกเสียง กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน ชมนก พรอ้ มกนั
๒) นกั เรยี นกลมุ่ ท่ี ๕ เสนอผลการศกึ ษากาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ธรรมธิเบศร ตอบ ชมนก ดา้ น เนอื้ เรอื่ ง และคณุ ค่าวรรณคดี ๓) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปเนือ้ หาและคณุ ค่าวรรณคดีของบท ชมนก ๔) นกั เรยี นทาแบบฝึก คณุ คา่ วรรณคดจี ากกาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร บท ชมนก ๑๐.๑๓ นกั เรียนกลมุ่ ท่ี ๖ เสนอผลงานการศึกษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอนท่ี ๕ เหค่ รวญ ๑) นกั เรียนทกุ คนอ่านออกเสยี ง กาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ตอน เห่ครวญ พรอ้ มกนั ๒) นกั เรียนกลมุ่ ท่ี ๖ เสนอผลการศกึ ษากาพยเ์ ห่เรือเจา้ ธรรมธิเบศร ตอบ เห่ครวญ ดา้ น เนอื้ เรอ่ื ง และคณุ ค่าวรรณคดี ๓) ครูใหข้ อ้ เสนอแนะ สรุปเนือ้ หาและคณุ ค่าวรรณคดีของบท เห่ครวญ ๔) นกั เรยี นทาแบบฝึก คณุ ค่าวรรณคดีจากกาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร บท เห่ครวญ คาบที่ ๙ ขนั้ ที่ ๕ การบริการสงั คม ๑๐.๑๔ นกั เรยี นจดั ทาผลงานและคดั เลือกผลงานท่มี คี ณุ คา่ เผยแพรท่ าง You Tube ไดแ้ ก่ ๑) You Tube การอ่านบทอาขยาน กาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๒) ผลงานการศกึ ษาคณุ ค่าวรรณคดกี าพยเ์ หเ่ รอื เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๑๐.๑๕ นกั เรียนรว่ มกนั ตอบคาถาม ๑) เรียนฟังกาพยเ์ ห่เรอื แลว้ รูส้ กึ อย่างไร ไดอ้ รรถรสดา้ นใดบา้ ง ๒) กาพยเ์ ห่เรอื ตอนท่นี กั เรียนดมู าจากวรรณคดเี ร่ืองใด นใี้ ครเป็นผปู้ ระพนั ธ์ ๓) กาพยเ์ ห่เรอื แต่งดว้ ยคาประพนั ธช์ นิดใดบา้ ง ๔) กาพยเ์ หเ่ รือตอนท่ดี นู ี้ มีเนือ้ หาเก่ียวกบั อะไร ใหค้ วามรูใ้ น เรื่องใด ๕) กาพยเ์ ห่เรือตอนท่เี รียนแสดงคณุ คา่ วรรณคดีอย่างไรบา้ ง คาบที่ ๑๐ แต่งบทร้อยกรอง ๑๐.๑๖ นกั เรยี นท่องบทอาขยาน ตอน ชมเรอื ๑๐.๑๗ นกั เรยี นสงั เกตแผนผงั ฉนั ทลกั ษณ์ จานวนคา ของโคลงส่สี ภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ ลกั ษณะท่เี หมือนกนั และขอ้ แตกต่างของโคลงสีส่ ภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ ๑๐.๑๘ นกั เรยี นฝึกแตง่ โคลงส่ีภาพ และกาพยย์ านี ๑๑ ตามความสนใจ ๑๐.๑๙ นกั เรยี นแต่ละคนเสนอผลงานการแตงโคลงสส่ี ภุ าพ หรอื กาพยย์ านี ๑๑ คนละ ๑ บท ลง ในกลมุ่ ไลน์ ๑๐.๑๖ ทดสอบหลงั เรียนกาพยเ์ ห่เรอื เจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร
๑๑. ส่ือ / แหล่งการเรยี นรู้ ๑๑.๑ You tube กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ๑๑.๒ You tube ท่มี าและความสาคญั ของกาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๑๑.๓ วรรณคดีเรือ่ ง กาพยเ์ ห่เรือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร จาก หนงั สอื เรียนวรรณคดีวจิ กั ษ์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ ๑๑.๔ แบบฝึก กาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟา้ ธรรมธิเบศร ๑๒. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ ๑๒.๑ ความรู้ รายการประเมิน เครอ่ื งมอื ประเมิน ๑) ประเมนิ สรุปความเป็นมา ประวตั ิผแู้ ต่ง ๑) แบบฝึกท่มี าและความสาคญั ของเร่ือง ลกั ษณะค าประพนั ธ์ และ วเิ คราะหค์ ณุ ค่าดา้ น ๒) แบบทดสอบ เนอื้ หาและดา้ นวรรณศลิ ป์ ๒) ประเมนิ วิเคราะหล์ กั ษณะเดน่ ของเร่ืองกาพยเ์ ห่ ๑) แบบฝึกวเิ คราะหเ์ นอื้ เร่ือง เรอื เช่ือมโยงกบั การ เรียนรูท้ างประวตั ิศาสตรแ์ ละ ๒) แบบทดสอบ วิถีชวี ิตของสงั คมไทยในอดีต ๓) ประเมินวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ คณุ ค่าดา้ น ๑) แบบฝึกวเิ คราะหค์ ณุ ค่าวรรณคดี วรรณศิลป์ ของวรรณคดี และวรรณกรรมในฐานะท่ี ๒) แบบทดสอบ เป็นมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ ๑๒.๒ ทกั ษะ เคร่อื งมอื ประเมนิ รายการประเมิน แบบประเมินการอ่านออกเสียง และท่องจากาพย์ เห่เรือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ๑. ประเมนิ การอ่านออกเสยี ง อ่านทานองเสนาะ แบบประเมินการแตง่ คาประพนั ธ์ และทอ่ งจากาพยเ์ หเ่ รือเจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร ๒. ประเมนิ การแตง่ โคลงส่สี ภุ าพ และกาพยย์ านี เครอื่ งมอื ประเมนิ ๑๑ แบบประเมนิ ความมีวินยั และตวามรบั ผิดชอบ และรกั ความเป็นไทยจากการปฏิบตั ิงาน ๑๒.๒ คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ประเมินความมีวินยั และตวามรบั ผดิ ชอบ และรกั ความเป็นไทยจากการปฏบิ ตั ิงาน และผลงาน
๑๓. บนั ทกึ หลังสอน ผลการจดั การเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรูเ้ รื่องกาพยเ์ หเ่ รอื โดยการจดั การเรยี นรู้ online ผ่าน google form และ on demand โดยนกั เรียนศกึ ษาความรูจ้ ากสื่อ และแหลง่ เรียนรูส้ ารสนเทศ ปรากฏผลการเรยี นรู้ ดงั นี้ ๑๓.๑ ดา้ นความรู้ ผลกำรสอน ปัญหำอุปสรรค กำรแก้ปัญหำ นกั เรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจตามตวั ชวี้ ดั และ การเรียน online ไม่ จดั หาสือ่ แหลง่ เรยี นรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรูท้ ่กี าหนด ดงั นี้ สามารถจดั การเรยี นรู้ให้ ให้รักเรยี นสามารถ ๑. นกั เรยี นรอ้ ยละ ๙๐ เขา้ ใจท่ีมาและ เข้าถงึ นักเรียนทกุ คนตาม สบื ค้น เรยี นรู้ดว้ ยตนเอง ความสาคญั ของกาพยเ์ ห่เรือ ความรู้ ความสนใจ และ และให้คำปรึกษาแนะนำ ความต้องการของนักเรียน นักเรียนเปน็ รายบุคคล ๒. นกั เรยี นรอ้ ยละ ๙๐ สามารถสรุปเนือ้ เร่ือง ทุกคนได้ ทำให้ไม่สามารถ โดยการสทื่อสาร online กาพยเ์ ห่เรอื แต่ละตอนไดถ้ กู ตอ้ ง สร้างความรู้ ความเข้าใจ ๓. นกั เรยี นรอ้ ยละ ๙๐ สามารถวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ให้นักเรียนทุกคนไดเ้ ต็ม วรรณคดี และสรุปคณุ ค่าวรรณคดีดา้ นเนือ้ หา ศักยภาพ และดา้ นความงามของภาษาไดถ้ กู ตอ้ ง ๑๓.๒ ดา้ นทกั ษะ ปัญหำอุปสรรค กำรแก้ปัญหำ ผลกำรสอน การเรียน online ไม่ ใช้สอื่ การอ่าน online ๑. นกั เรยี นรอ้ ยละ ๘๐ สามารถอ่านออกเสียง บทรอ้ ยกรอง โคลงส่สี ภุ าพ และกาพยย์ านี ๑๑ สามารถฝกึ อ่านออกเสยี ง ไดแ้ ก่ ciip video และ ไดไ้ พเราะ ถกู ตอ้ งตามหลกั การอ่านบทรอ้ ย บทร้อยกรองให้กับนกั เรยี น ให้นักเรียนศึกษาวิธกี าร กรอง ทุกคนได้ และไมส่ ามารถ จัดกิจกรรมการอา่ นไดต้ าม อ่านจากสื่อ แหล่งเรียนรู้ ความต้องการจำเป็นของ ต่าง ๆ และเสนอการ นกั เรียนแตล่ ะคน ทำให้ไม่ อ่านเป็น clip video สามารถฝกึ ทักษะการอา่ น ไดเ้ ตม็ ศักกยภาพของ นักเรยี นไดท้ ุกคน
๑๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ / เจตคติ ปัญหำอุปสรรค กำรแก้ปัญหำ ผลกำรสอน การจดั การเรียนรู้ online ใชส้ อื่ แหล่งเรียนรู้ ๑. นกั เรียนรอ้ ยละ ๙๐ เห็นคณุ ค่าของ วรรณคดีประเภทกาพยเ์ ห่เรือในฐานะท่ีเป็น ไม่สามารถจัดกิจกรรม เทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ี มรดกทางวฒั นธรรมของชาติ และเหน็ คณุ คา่ ปลูกฝังให้นกั เรยี นเหน็ หลากหลายใหน้ ักเรียน และความงามของบทรอ้ ยกรองไทย คณุ คา่ ของวรรณคดีได้ เรียนร้แู ละศกึ ษาด้วย อย่างเตม็ ที่ ตนเอง และการนำเสนอ - ผลการเรียนรู้ ทางสอ่ื online ๑๔. ความเหน็ / ขอ้ เสนอแนะ ๑๔.๑ ความเหน็ / ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูห้ รือผทู้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงช่ือ..........................................หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ (นายไพโรจน์ ขวญั คง) ......30..../....มกราคม...../....2565......
๑๔.๒ ความเห็น / ขอ้ เสนอแนะของรองผอู้ านวยการฝ่ายวชิ าการหรือผทู้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงช่ือ..........................................รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ (..........................................) ......../................./.......... ๑๔.๓ ความเห็น / ขอ้ เสนอแนะของผอู้ านวยการหรือผทู้ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ลงช่ือ..........................................ผอู้ านวยการ (..........................................) ......../................./..........
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: