........................8.ความต้องการสนิ ค้าของประชาชนขยายตวั อยา่ งรวดเร็ว เกินกวา่ ความสามารถในการผลติ จะตอบสนองไดจ้ งึ เกดิ ภาวะสนิ ค้าขาดแคลน ........................9.สินคา้ และบริการมีแนวโนม้ ลดลง ผู้ผลิตจึงลดปริมาณการผลติ ลดการลงทุน จึงเกดิ ภาวะการวา่ งงานเพมิ่ สงู ขึน้ ทาให้รายไดข้ องประชาชนและผลกาไรของธุรกจิ ลดลงเศรษฐกจิ จึงมีแนวโนม้ หดตัวลง ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์ปัญหาและผลกระทบจากภาวะเงนิ เฟ้อเงนิ ฝืด ลงในช่องว่างทก่ี าหนดให้ ปญั หาและอปุ สรรค สาเหตุ ผลกระทบ เงนิ เฟอ้ .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... เงนิ ฝืด .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... .......................................................................................... ..........................................................................................
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ บทบาทของรฐั บาลในการพฒั นาประเทศ (ปญั หาการวา่ งงาน) ตวั ชว้ี ดั ที่ ส.๓.๒ ม.๓/๔ อภปิ รายผลกระทบทเ่ี กดิ จากภาวะเงนิ เฟอ้ เงนิ ฝดื ส.๓.๑ ม.๓/๕ วเิ คราะหผ์ ลเสยี จากการวา่ งงานและแนวทางแกป้ ญั หา ประเภทของการวา่ งงาน ประเภทของการวา่ งงาน ลกั ษณะการวา่ งงาน การว่างงานตามฤดกู าล มมี ากในอาชพี เกษตรกรรม เนื่องจากฤดูกาลทาการเกษตรใน 1 ปี จะ ใช้เวลาเพยี ง 3-4 เดือน ระยะเวลาทเ่ี หลือจึงว่างงาน การว่างงานเนอ่ื งจากโครงสร้างของเศรษฐกิจ เกิดจากความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีหรอื รสนิยมของผู้บริโภคท่ี เปล่ยี นแปลงไป ทาใหแ้ รงงานปรับตัวไมท่ ัน การวา่ งงานเนื่องจากวฏั จกั รเศรษฐกิจ โดยเฉพาะช่วงทีเ่ ศรษฐกิจตกตา่ สินคา้ ขายไม่ได้ ผู้ผลติ จึงต้องลด ปรมิ าณการผลติ และลดการจา้ งงาน การวา่ งงานแอบแฝง เกิดจากจานวนแรงงานมมี ากเกินความจาเปน็ มักเกดิ ข้ึนในครอบครัว เกษตรหรือครอบครวั ทีม่ ีสมาชิกมาก และกลุ่มท่ที างานตา่ กว่า ความสามารถท่ีตนมีอยู่ การว่างงานชว่ั คราว ว่างงานในระยะสั้นๆ เกิดจากความไม่สมบูรณข์ องตลาดแรงงาน เชน่ ผู้ ทีเ่ พ่ิงสาเร็จการศกึ ษา แรงงานทีข่ าดทักษะหรอื มีความรู้ในสาขาวิชาไม่ ตรงกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน
สาเหตขุ องปญั หาการวา่ งงานในประเทศไทย สาเหตุของ จานวนประชากรเพ่ิมขนึ้ อยา่ ง ผู้สาเร็จการศึกษาพร้อมกนั การว่างงาน รวดเรว็ ทาให้อัตราแรงงาน จานวนมาก แตเ่ ปน็ สาขาวิชา ในประเทศไทย ไม่เพียงพอทีจ่ ะรองรับ ท่ีไมต่ รงกับความต้องการของแรงงาน การเลอื กงานเกดิ กับแรงงาน แรงงานท่ีไมม่ ีฝีมอื ไดร้ ับ ที่มคี วามรู้ ความสามารถ เมอ่ื เห็นวา่ การศึกษาต่า มกั เปน็ แรงงานใน งานท่ที าไม่คมุ้ ค่าจา้ งกจ็ ะไมท่ า โรงงานอุตสาหกรรม ผลกระทบจากปญั หาการวา่ งงาน การวา่ งงานเป็นปัญหาพื้นฐานของสังคมเพราะอาจนาไปสู่ปัญหาอื่นๆ ตามมาอีกมากมายซงึ่ อาจจะสรุปได้ ดังน้ี 1.ปญั หาความยากจนของประชาชน 2.ปญั หาดา้ นสขุ ภาพจติ เพราะเมื่อเกดิ ปัญหาการวา่ งงานประชาชนก็จะ การวา่ งงานจะนาไปสู่การเกิดปญั หา เพอ่ื นามาใช้จ่ายในครอบครัว ทาให้ ความเครยี ดของประชาชน และอาจตัดสินใจ เกิดปญั หาความยากจนเพิม่ มากขนึ้ กระทาในส่ิงที่ไม่สมควรได้ 3.ปัญหาความขดั แยง้ ในครอบครวั 4.ปัญหาอาชญากรรม เพราะเม่อื ผนู้ าครอบครัวประสบกับปัญหาการ การว่างงานทาให้เกิดความลาบากในชวี ติ อาจ ว่างงาน จะสง่ ผลกระทบกับสมาชิกในครอบครัว ทาใหค้ นว่างงานประกอบอาชญากรรม ซงึ่ เป็น และอาจเปน็ สาเหตสุ าคัญทีท่ าให้เกิดความ อันตรายต่อความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพยส์ นิ แตกแยกในครอบครัว ของประชาชนในสังคมได้ 5.ปญั หายาเสพติด 6.ปัญหาการค้าประเวณี การวา่ งงานอาจทาให้เกิดความเครยี ดและแก้ไข ซ่ึงเปน็ ปัญหาสังคมทีส่ าคญั เพราะการตกงาน ปัญหาในทางท่ผี ิด โดยหนั ไปยงุ่ เกี่ยวกับยาเสพตดิ อาจทาให้บางคนหันไปประกอบอาชีพดังกล่าว เนื่องจากเปน็ วธิ ีการทไ่ี ด้เงนิ มางา่ ย แตเ่ ป็นอนั ตราย เพ่ือทาให้มีเงินใช้จ่ายในการดารงชวี ติ ทั้งตอ่ ตนเองและสงั คม
7.ผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ เนื่องจากผทู้ ต่ี กงานส่วนใหญจ่ ะเป็นผู้ที่อาศยั อยู่ในวยั ทางาน สามารถทจ่ี ะทางานเพ่ือเป็นประโยชน์ต่อตนเอง และประเทศชาตไิ ดอ้ ีกมาก หากตกงานจะทาใหเ้ สยี โอกาสในการใชป้ ระโยชนจ์ ากแรงงานได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ทาให้ การพัฒนาประเทศในดา้ นต่างๆ เปน็ ไปอย่างลา่ ชา้ มีอตั ราการเจริญเติบโตทนี่ ้อย แนวทางแก้ไขปัญหาการว่างงาน จัดตลาดนดั แรงงาน กระตนุ้ ใหท้ างานอน่ื ๆเมอ่ื พน้ ให้การศกึ ษา ฝกึ อบรมให้มีความรู้ ใหบ้ รกิ ารข่าวสารแก่ ฤดกู ารเกษตร เช่น ฝกึ อาชพี ความสามารถ เพอ่ื ให้ทนั ต่อการ คนงานและนายจา้ ง และพฒั นาฝมี ือแรงงานอยา่ ง สมา่ เสมอ เปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยี สรา้ งงานท่ี หลากหลาย แนวทางแกไ้ ขปัญหาการวา่ งงาน ธนาคารกลางควรใช้มาตรการ เพ่ือรองรบั ต่างๆ ทางการเงินเพื่อเพ่ิม คนว่างงาน เงนิ หมุนเวียนในประเทศ เพอื่ การลงทนุ ทีส่ ูงข้นึ ไม่เลือกงาน ควร ทางานเพอ่ื เก็บเก่ียว รัฐบาลเพมิ่ การใชจ้ ่ายและ ประสบการณ์ ลดภาษีให้เหมาะสมกับภาวะ เศรษฐกิจ เพือ่ กระตุ้นการผลิต การส่งออกและบริโภค อุดหนุนงบประมาณ ชว่ ยเหลอื ผู้ถูกเลกิ จ้าง กาหนดโครงสร้างการศกึ ษา จ้างแรงงานและจัดสรร และผวู้ ่างงานเนอ่ื งจาก เพอ่ื สรา้ งแรงงานให้ตรงกบั ความ งบประมาณในการ วกิ ฤตทางเศรษฐกจิ ตอ้ งการ และยกระดับการศกึ ษา ฝึกทกั ษะแก่ผูว้ า่ งงาน ของประชาชนใหส้ งู ข้นึ
ใบงานที่ ๗ รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ บทบาทของรฐั บาลในการพฒั นาประเทศ (ปญั หาการวา่ งงาน) ตวั ชว้ี ดั ท่ี ส.๓.๑ ม.๓/๕ วเิ คราะหผ์ ลเสยี จากการวา่ งงานและแนวทางแกป้ ญั หา นกั เรยี นพจิ ารณาข้อความเกี่ยวกับประเภทการว่างงาน และเตมิ คาตอบให้สัมพันธก์ ัน นกั เรียนวิเคราะหส์ ถานการณท์ กี่ าหนด และตอบคาถาม ไพโรจน์ประกอบอาชพี ปลูกมันสาปะหลงั ซึง่ ในระหวา่ งรอเก็บผลผลติ นน้ั เขาจึงไมม่ งี านและรายได้จากทางอนื่ เลย สาเหตุของการว่างงาน คอื ............................................................................................................................. ...................................................................... แนวทางแกไ้ ขปญั หา................................................................................................................................................................................................... สราวธุ ทางานบริษทั แห่งหนึ่งท่ีมีการยุบตาแหน่งและพนกั งาน เขาจึงถกู จา้ งออกตามความสมัครใจโดยจ่ายค่าชดเชย 3 เทา่ ของเดือน สาเหตุของการวา่ งงาน คือ ............................................................................................................................. ...................................................................... แนวทางแก้ไขปญั หา................................................................................................................................................................................................... สงกรานต์ถูกเจ้านายไล่ออก เพราะทางานไม่ละเอยี ด ซงึ่ เขาไม่มพี ้ืนฐานในการทางานนแ้ี ละไมฝ่ กึ ฝนเพิม่ เติม จงึ เกดิ ความ ผิดพลาดทาให้ลกู คา้ ตาหนิ สาเหตุของการวา่ งงาน คอื ................................................................................................................................................................................................... แนวทางแก้ไขปญั หา...................................................................................................................................................................................................
นงนุชจบการศึกษาระดบั ปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ แต่ยงั หางานทาไมไ่ ด้ เพราะมคี ูแ่ ข่งทีจ่ บสาขานี้มาก จึงไปช่วยพ่อแม่ ขายขนมหวาน สาเหตขุ องการวา่ งงาน คือ ............................................................................................................................................................................... .................... แนวทางแก้ไขปัญหา................................................................................................................................................................................................... วรนนั ทเ์ ปน็ คนท่ีมคี วามรู้ ความสามารถ แตเ่ ธอมกั จะเปล่ยี นงานบ่อย เพราะเห็นว่างานหนัก เงินเดือนนอ้ ย ปจั จุบนั เธอ ลาออกจากงานแลว้ กาลังจะหางานใหม่ สาเหตขุ องการวา่ งงาน คือ ............................................................................................................................. ...................................................................... แนวทางแก้ไขปัญหา.......................................................................................................................................................... ......................................... นกั เรยี นยกตัวอย่างสาเหตุของปัญหาการวา่ งงานทพี่ บได้ในสงั คมไทยจากนั้นวเิ คราะห์ผลกระทบ แล้วสรุปหาแนว ทางแก้ไขปญั หา ......................................................................................................... .................................................................................................. ......................................................................................................... .................................................................................................. ปัญหา การว่างงาน สาเหตุ ......................................................................................................... ................................................................................................. ......................................................................................................... ..................................................................................................
แผนการจัดการเรียนรู้ 4 กลุม่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ จานวน 6 คาบ เรอ่ื ง การคา้ ระหว่างประเทศของไทย ครูผสู้ อน นางมณฑิรา จนิ ดารตั น์ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ัด ส 3.1 ม.3/6 วิเคราะห์สาเหตแุ ละวธิ ีการกีดกนั ทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ 2.สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การคา้ ระหว่างประเทศของไทย มผี ลสาคัญต่อเศรษฐกจิ ของประเทศ จงึ ต้องมกี ารวเิ คราะหส์ ถานการณ์ทาง การค้าของไทยให้ถูกต้อง 3. ตวั ชี้วดั /จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ส 3.1 ม.3/6 วเิ คราะห์สาเหตุและวธิ ีการกดี กนั ทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายและความสาคัญของการคา้ และการลงทุนระหวา่ งประเทศ(K2) 2. นาความร้เู ก่ยี วกบั การค้าและการลงทนุ ระหวา่ งประเทศไปใช้หรอื แนะนาผู้อ่ืนอย่างถูกต้อง(P4) 3. เหน็ ประโยชนแ์ ละความสาคัญของการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ(A3,A2) 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น 1. ความรคู้ วามเขา้ ใจ 2. ความสามารถในการคิด 2.1) ทักษะการสังเคราะห์ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 6. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเุ รยี นรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรยี นรู้ วิธกี ารจัดการเรยี นการสอนแบบร่วมือรปู แบบจีไอ (G.I) กิจกรรมการเรยี นการสอนคาบท่ี 1-2 ขั้นที่ 1 ขน้ั เตรียมการ 1. นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4 2. นักเรยี นฟังเพลงเมดอนิ ไทยแลนด์ แล้วชว่ ยกนั วเิ คราะห์ข้อคดิ ทไี่ ด้จากบทเพลง
3. นักเรยี นดูข่าวเก่ยี วกับสินคา้ ส่งออกของไทยทีส่ ่งไปขายยังต่างประเทศ และตัวอย่างสนิ ค้าต่างประเทศ ทเ่ี ขา้ มาขายในประเทศไทยมาใหน้ ักเรยี นศึกษา แลว้ ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเห็นถึงผลดีและผลเสียของ การค้าระหว่างประเทศ 4. ครอู ธบิ ายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจเกย่ี วกับความสาคัญทางการค้าระหวา่ งประเทศ 5. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด สินคา้ สง่ ออกของไทยส่วนใหญเ่ ปน็ สินคา้ ประเภทใด (อตุ สาหกรรม) ขั้นท่ี 2 ข้นั จัดการเรยี นรู้ 6. นกั เรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน คละกันตามความสามารถ คอื เก่ง ปานกลางค่อนข้างเก่ง ปานกลาง ค่อนข้างอ่อน และอ่อน ครูชแ้ี จงให้นกั เรียนทุกคนช่วยเหลือกนั ในการเรียนรู้ และรับผดิ ชอบในการ ทางาน มีบทบาทเท่าเทียมกัน จากนัน้ ครใู หส้ มาชกิ ภายในกลมุ่ แต่ละกลุ่มเลอื กหมายเลขประจาตัว 1, 2, 3 และ 4 7. สมาชกิ แต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศกึ ษาความร้เู ร่อื ง การคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย จากหนังสือเรียน หรอื หนงั สือค้นคว้าเพ่ิมเติม หรอื ห้องสมุด หรอื แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ในหวั ขอ้ ต่อไปน้ี 1) ประโยชน์ของการคา้ ระหวา่ งประเทศ 2) สถานะการค้าระหวา่ งประเทศของไทย 8. นกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายประเดน็ สาคญั ของหัวข้อทไี่ ด้ศกึ ษา จนนักเรียนมคี วามรู้ความเข้าใจชดั เจน ครู ให้นกั เรยี นนาความรู้ที่ไดจ้ ากการศกึ ษามาบันทกึ ลงในแบบบันทกึ การอา่ น 9. นักเรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขอ้ 1-2 1) การคา้ ระหวา่ งประเทศมีความสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอย่างไร (มกี ารพัฒนาการผลติ ให้ทนั สมยั เพื่อการสง่ ออกใหม้ ากขน้ึ ประชากรมีรายไดม้ ากขึน้ ) 2) เพราะเหตุใด ไทยจึงมีการพงึ่ พาอาศัยทางการค้ากับจีนมากข้นึ (เพราะมีการขยายตลาดสินค้าของไทยไปจาหน่ายทจ่ี ีน) ข้นั ที่ 3 ข้นั ทากจิ กรรม 10. สมาชกิ แตล่ ะหมายเลขในกลุ่มร่วมกันทาใบงาน เร่ือง การคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย โดยแบ่งหนา้ ทีก่ ัน ดงั นี้ - สมาชกิ หมายเลข 1 เขียนคาตอบประเดน็ ท่ี 1 แล้วส่งใบงานไปยังสมาชิกหมายเลข 2 - สมาชิกหมายเลข 2 อ่านคาตอบของสมาชิกหมายเลข 1 แล้วตรวจสอบความถกู ต้อง และเขียนเพ่ิมเติมใหส้ มบูรณ์ จากน้นั ตอบคาถามในประเด็นตอ่ ไป - สมาชกิ หมายเลข 3 อ่านคาตอบของสมาชิกหมายเลข 2 แลว้ ตรวจสอบความถกู ต้อง และเขียนเพม่ิ เติมใหส้ มบูรณ์ จากนน้ั ตอบคาถามในประเด็นต่อไป - สมาชกิ หมายเลข 4 อ่านคาตอบของสมาชิกหมายเลข 3 แล้วตรวจสอบความถกู ต้อง และเขยี นเพิ่มเติมใหส้ มบูรณ์ จากนั้นตอบคาถามในประเด็นต่อไป - สมาชกิ หมายเลข 1 อ่านคาตอบของสมาชกิ หมายเลข 4 แลว้ ตรวจสอบความถกู ต้อง และเขยี นเพ่ิมเติมให้สมบรู ณ์ จากนั้นตอบคาถามในประเด็นต่อไป ขั้นท่ี 4 ขน้ั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 11. สมาชิกทกุ คนในกลุ่มจะได้มีโอกาสอ่านและเขียนคาตอบหมุนเวียนกันไปเร่ือยๆ จนเสร็จครบทกุ ขอ้ 12. สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มช่วยกนั ตรวจสอบความถูกต้องและความเรียบรอ้ ยของคาตอบ พร้อมทงั้ ช่วยกนั อธิบายจนทกุ คนมคี วามเขา้ ใจดี
ขั้นที่ 5 สรปุ บทเรียนและประเมนิ ผล 13. นักเรียนชว่ ยกันเฉลยคาตอบในใบงาน จากนน้ั ครูและนักเรียนชว่ ยกันสรุปประเด็นสาคัญเกี่ยวกับการคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย 14. นกั เรยี นตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ การเปิดเสรีทางการคา้ จะสง่ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ของประเทศไทยอย่างไรบา้ ง (มที ัง้ ผลดีและผลกระทบ ผลดี - ทาใหม้ ีการขยายการผลติ มีการจ้างงานมากขึน้ มีการพฒั นาดา้ นเทคโนโลยแี ละฝมี อื แรงงาน ผลกระทบ - ต้องพ่งึ พาทางเศรษฐกจิ จากตา่ งประเทศมากข้นึ เกิดการครอบงาจากต่างชาติ ตลาด ผลผลติ ทางการเกษตรได้รบั ผลกระทบ เพราะพชื ผักจากตา่ งประเทศมรี าคาถูกกวา่ ) 15. ครใู ห้นักเรยี นทากจิ กรรมตามตวั ช้ีวดั กิจกรรม จากแบบวัดฯ เปน็ การบ้าน เสรจ็ แล้วนาสง่ ครตู รวจ กิจกรรมการเรยี นการสอนคาบท่ี 3-4 ข้ันท่ี 1 ขนั้ เตรียมการ 1. นกั เรียนดภู าพข่าวเก่ียวกบั การตงั้ กาแพงภาษสี นิ ค้านาเข้าของประเทศต่างๆ มาเล่าใหน้ ักเรียนฟงั แล้วให้ นกั เรียนแสดงความคดิ เหน็ ถึงสาเหตุสาคญั ของการต้ังกาแพงภาษนี าเข้า 2. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ การต้งั กาแพงภาษีสนิ คา้ นาเข้า มีผลสาคัญอยา่ งไร (ทาให้ราคาสินค้าจากตา่ งประเทศสงู ข้ึน เปน็ การกดี กนั ไมใ่ หผ้ ูบ้ รโิ ภคซ้อื สินค้าราคาแพง หรือซือ้ น้อยลง) ขั้นท่ี 2 ขั้นจดั การเรยี นรู้ 3. นกั เรียนกลมุ่ เดิม (จากแผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1) ร่วมกันศึกษาความรเู้ ร่อื ง การกดี กันทางการค้า ใน การคา้ ระหวา่ งประเทศ จากหนงั สือเรยี น หรือหนังสอื ค้นคว้าเพิม่ เติม หรอื ห้องสมดุ หรือแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ จากน้ันครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปประเด็นสาคัญ ขัน้ ที่ 3 อธิขน้ั ทากจิ กรรม 4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มมือกันทาใบงาน เร่ือง การกดี กนั ทางการคา้ โดยแบง่ หนา้ ที่กันทา ใบงาน ดงั น้ี - สมาชิกคนที่ 1 มหี นา้ ที่อ่านคาถาม และแยกแยะประเดน็ ใหช้ ัดเจน - สมาชิกคนที่ 2 ฟังขนั้ ตอน รวบรวมขอ้ มลู และหาแนวทางเสนอแนะการตอบคาถาม - สมาชกิ คนท่ี 3 ตอบคาถาม - สมาชกิ คนที่ 4 ตรวจสอบความถกู ต้อง แก้ไขเพิ่มเติมในสว่ นท่ียังไมส่ มบูรณ์ 5. สมาชกิ แตล่ ะคนในแต่ละกลุ่มจะหมุนเวียนกนั ทาหน้าที่ในการตอบคาถามจนครบทุกข้อ ข้ันท่ี 4 ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 6. นักเรยี นรว่ มกนั เฉลยคาตอบในใบงาน โดยใหส้ มาชิกแตล่ ะกลุ่มแลกเปลีย่ นกันตรวใบงาน และใหค้ ะแนน ตามความถกู ต้องสมบรู ณ์ ข้อละ 2 คะแนน 7. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ข้อ 1-2 1) เพราะเหตุใด รัฐบาลจึงเขา้ มาแทรกแซงเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศในเร่อื งการกีดกนั ทางการคา้ (เพราะตอ้ งการคมุ้ ครองอตุ สาหกรรมหรอื การผลิตในประเทศ เนอื่ งจากไมส่ ามารถแขง่ ขนั กับสินคา้ ตา่ งประเทศ)
2) มาตรการกดี กนั ทางการค้าระหว่างประเทศต่างๆ ต่อสินค้านาเข้าและสินค้าสง่ ออก มผี ลกระทบต่อใครบา้ ง (ผ้บู ริโภค ผู้ผลติ และรัฐบาล) ขั้นท่ี 5 ขน้ั สรุปบทเรียน 8. นกั เรยี นร่วมกนั สรุยนและประเมนิ ผลปประเด็นสาคัญของสาเหตใุ นการกาหนดมาตรการกดี กนั ทาง การคา้ และผลของการกีดกันทางการคา้ 9. นกั เรียนทากจิ กรรมตามตวั ชว้ี ัด กจิ กรรม จากแบบวดั ฯ เป็นการบา้ น เสร็จแลว้ นาสง่ ครตู รวจ กิจกรรมการเรียนการสอนคาบที่ 5-6 ขั้นท่ี 1 ขัน้ เตรียมการ 1. นกั เรยี นดูภาพเงนิ ตราตา่ งประเทศของประเทศที่เข้ามาค้าขายกับประเทศไทย มาให้นกั เรยี น เปรียบเทยี บลกั ษณะของเงนิ ตราและอตั ราแลกเปลย่ี นกับเงินบาทของไทย 2. นกั เรียนตอบคาถามเกยี่ วกบั อัตราแลกเปลีย่ นเงนิ ตราระหว่างประเทศ ดงั น้ี - ถ้านกั เรยี นมเี งนิ ไทย จานวน ... บาท จะสามารถนาไปแลกเปลีย่ นเงนิ ดอลลาร์สหรฐั เงินยูโร และเงนิ เยน ได้เปน็ จานวนเท่าไร 3. ครอู ธบิ ายความร้เู กีย่ วกบั การเงนิ ระหว่างประเทศ และระบบอตั ราแลกเปลีย่ นแบบคงท่แี ละแบบลอยตัว 4. นกั เรียนทบทวนความร้เู กย่ี วกับการคา้ และการลงทุนระหว่างประเทศ ขั้นที่ 2 ขั้นจัดการเรยี นรู้ 5. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นแผนท่ีความคิด เร่อื ง การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ ทแี่ สดงถึงการนา ความรู้เกีย่ วกบั การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศมาวเิ คราะห์ โดยให้ครอบคลมุ ประเด็นตามท่ี กาหนด ดงั นี้ 1) การวเิ คราะหส์ าเหตุของการกีดกนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ 2) การอธบิ ายวิธกี ารกีดกันทางการค้าระหวา่ งประเทศ 3) การวเิ คราะห์ผลจากการกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ 4) การอธบิ ายประโยชน์ของการลงทุนระหวา่ งประเทศ ขน้ั ที่ 3 ขั้นทากจิ กรรม 6. สมาชกิ แตล่ ะกล่มุ ร่วมมือกันวิเคราะห์ผลงานแผนที่ความคิด เรอื่ ง การค้าและการลงทุนระหวา่ งประเทศ และปรับปรุงแก้ไขใหเ้ หมาะสม 7. ตวั แทนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี น ครูตรวจสอบความถูกต้อง ขั้นที่ 4 ขั้นตรวจสอบผลงาน 8. ครูตรวจสอบความถูกตอ้ งของชน้ิ งาน ข้นั ท่ี 5 ขน้ั สรปุ บทเรียนและประเมินผล 9. นกั เรียนช่วยกนั สรุปประเด็นสาคญั เรอื่ ง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ 10. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ขอ้ 1-2 1) ถ้าประเทศต่างๆ ไม่มีนโยบายกดี กนั ทางการคา้ จะสง่ ผลดตี ่อการค้าระหว่างประเทศ อยา่ งไร
(การคา้ ระหว่างประเทศเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเร็ว มกี ารแข่งขนั กันอย่างเสรี และมีการ พฒั นาดา้ นการผลติ ให้มีคุณภาพดี ราคาต่า) 2) ถ้านกั เรียนเป็นนักลงทนุ ในการผลติ สินค้าประเภทเสอ้ื ผา้ นักเรยี นจะไปลงทุนทีป่ ระเทศใด (พิจารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยใหอ้ ยูใ่ นดุลยพินจิ ของครูผู้สอน) 11. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 8. การวัดและประเมินผล เครื่องมือ เกณฑ์ วธิ ีการ แบบทดสอบกอ่ นเรียน (ประเมินตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ตรวจใบงานท่ี 4.1 ใบงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจแบบบนั ทกึ การอ่าน สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบบันทึกการอ่าน ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตความมวี นิ ัย ใฝุเรยี นรู้ และมงุ่ มน่ั ในการทางาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 9. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้ 8.1 สื่อการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียน เศรษฐศาสตร์ ม.3 2) แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.3 3) หนงั สอื ค้นควา้ เพม่ิ เติม (1) ปิยะศริ ิ เรอื งศรีมน่ั . (2548). “การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ” ในเอกสารการสอน ชุดวชิ าเศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช. (2) วรนันท์ กิตตอิ มั พานนท.์ (2553). เศรษฐศาสตรร์ ะหวา่ งประเทศ. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร.์ 4) เพลงเมดอินไทยแลนด์ 5) ตัวอยา่ งข่าว 6) ใบงานที่ 4.1 เรือ่ ง การคา้ ระหวา่ งประเทศของไทย 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) ห้องสมดุ 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ - http://www.boi.go.th/thai/about/investment_policies_criteria.asp - http://www.thinkasiainvestthailand.com/th_business_opportunities.htm - http://www.thaigov.go.th/multimedia/admin/policy/taksin26_2_04.html แบบประเมินแผนทคี่ วามคิด เรอ่ื ง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ
รายการประเมนิ ดีมาก (4) คาอธบิ ายระดับคณุ ภาพ / ระดับคะแนน ปรบั ปรุง (1) ดี (3) พอใช้ (2) 1. การวิเคราะห์สาเหตุ เขยี นวิเคราะห์สาเหตขุ อง เขยี นวิเคราะห์สาเหตุของ เขียนวเิ คราะหส์ าเหตุของ เขียนวิเคราะหส์ าเหตุของ ของการ กดี กนั ทาง การกดี กนั ทางการคา้ การกดี กนั ทางการคา้ การกีดกนั ทางการค้า การกีดกันทางการค้า การคา้ ระหว่าง ระหว่างประเทศได้ถูกต้อง ระหว่างประเทศได้ถกู ต้อง ระหวา่ งประเทศได้ถูกต้อง ระหว่างประเทศได้ถูกต้อง ประเทศ 4 ประเดน็ ขน้ึ ไป 3 ประเดน็ 2 ประเด็น 1 ประเด็น 2. การอธิบายวิธีการกีด อธิบายวธิ กี ารกีดกันทาง อธิบายวิธกี ารกีดกนั ทาง อธบิ ายวธิ กี ารกีดกนั ทาง อธบิ ายวิธกี ารกดี กันทาง กนั ทางการค้า การคา้ ระหว่างประเทศได้ การค้าระหวา่ งประเทศได้ การคา้ ระหวา่ งประเทศได้ การค้าระหว่างประเทศได้ ระหว่างประเทศ ถกู ต้อง 4 ประเดน็ ขึน้ ไป ถูกตอ้ ง 3 ประเด็น ถกู ต้อง 2 ประเดน็ ถูกตอ้ ง 1 ประเด็น 3. การวเิ คราะห์ ผล เขยี นวิเคราะห์ผลจากการ เขยี นวเิ คราะห์ผลจากการ เขียนวิเคราะห์ผลจากการ เขยี นวิเคราะหผ์ ลจากการ จากการกดี กันทาง กดี กันทางการค้าระหวา่ ง กีดกนั ทางการค้าระหวา่ ง กีดกนั ทางการคา้ ระหว่าง กีดกันทางการคา้ ระหว่าง การคา้ ระหว่าง ประเทศไดถ้ กู ตอ้ ง ประเทศไดถ้ ูกตอ้ ง ประเทศไดถ้ กู ต้อง ประเทศไดถ้ ูกต้อง ประเทศ 4 ประเดน็ ข้นึ ไป 3 ประเด็น 2 ประเดน็ 1 ประเด็น 4. การอธบิ ายประโยชน์ อธิบายประโยชนข์ องการ อธบิ ายประโยชนข์ องการ อธิบายประโยชน์ของการ อธิบายประโยชนข์ องการ ของการลงทนุ ลงทุนระหวา่ งประเทศได้ ลงทนุ ระหวา่ งประเทศได้ ลงทนุ ระหวา่ งประเทศได้ ลงทนุ ระหว่างประเทศได้ ระหว่างประเทศ ถูกต้อง 4 ประเดน็ ขึ้นไป ถกู ต้อง 3 ประเด็น ถูกตอ้ ง 2 ประเด็น ถกู ตอ้ ง 1 ประเดน็ เกณฑก์ ารตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแนน 14 - 16 11 - 13 8 - 10 ตา่ กวา่ 8 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
บันทกึ หลังสอนหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เร่ือง การคา้ การลงทนุ ระหวา่ งประเทศ ชัน้ นกั เรยี นผา่ นตวั ช้ีวดั นักเรียนไมผ่ ่านตัวช้วี ัด นกั เรยี นท่ียังไม่สอบ ม.3/3 จานวน คิดเป็นร้อย จานวน คิดเป็นร้อย จานวน คดิ เป็นร้อย นักเรยี นจานวน 40 คน ละ ละ ละ ม.3/4 35 87.50 - - 5 12.50 นักเรยี นจานวน 36 คน 20 55.55 5 13.88 11 30.55 ม.3/8 นกั เรยี นจานวน 34 คน 28 82.35 - - 6 17.64 ม.3/9 21 55.26 3 7.89 17 44.73 นกั เรียนจานวน 38 คน 7 19.44 13 36.11 16 44.44 ม.3/10 นกั เรียนจานวน 36 คน 5 50.00 1 10.00 4 40.00 ม.3/11 นกั เรียนจานวน 10 คน ผู้เรียนทไี่ ด้รบั ความรคู้ วามสามารถ (K) การค้าระหว่างประเทศเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้าและบรกิ ารตา่ ง ๆ ผ่านเขตแดนของชาติ การค้าระหวา่ ง ประเทศแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การสง่ สินค้าออกและการนาสินค้าเข้า โดยสาเหตุและปัจจัยทก่ี ่อให้เกิดการค้า ระหวา่ งประเทศ ผเู้ รยี นทเี่ กิดทักษะกระบวนการ (P) 1. ความสามารถในการส่ือสาร 2. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ผเู้ รยี นมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) . มีวินัย. ใฝ่เรยี นร.ู้ มุ่งมั่นในการทางาน ลงช่อื ................................................................. ( นางมณฑริ า จนิ ดารัตน์ )
ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ................................................................. ( นางนงเยาว์ วกิ รยั เจริญยง่ิ ) หวั หน้ากลุม่ สาระสงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ความคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะของรองผู้อานวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ................................................................. ( นางสาวเพริศพิศ คูหามขุ ) รองผู้อานวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 คาช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. สนิ คา้ ส่งออกจากประเทศไทยส่วนใหญเ่ ปน็ สนิ คา้ 7. การเกบ็ ภาษีนาเข้าในราคาทเ่ี พ่ิมสงู ข้ึนมผี ลสาคัญใน ประเภทใด ข้อใด ก. ยางพารา ข. การประมง ก. สินคา้ นาเขา้ มีราคาสูงทาให้การบริโภคลดลง ค. เกษตรกรรม ง. อตุ สาหกรรม ข. รัฐบาลไดร้ ับผลตอบแทนจากภาษสี ินค้าส่งออก 2. ตลาดทซี่ ือ้ สินค้าของไทยมากทส่ี ุดคอื ขอ้ ใด มากขน้ึ ก. อาเซยี น ข. นาฟตา ค. ตน้ ทนุ การผลิตสนิ ค้านาเข้าลดลง และจานวน ค. ญปี่ นุ ง. จีน การผลิตลดลง 3. ตลาดนาเข้าสินค้าทีส่ าคญั ของไทยมากที่สดุ ง. ปริมาณการสั่งซอื้ สนิ ค้านาเข้ามจี านวนสงู ขึน้ เรยี งตามลาดับ คอื ข้อใด 8. ระบบอัตราแลกเปล่ียนเงนิ ตราแบบคงที่มีลักษณะ ก. ญ่ีปนุ จีน มาเลเซยี สิงคโปร์ อยา่ งไร ข. จนี ญป่ี ุน สหรัฐอเมริกา มาเลเซยี ก. รฐั จะไม่เขา้ ไปแทรกแซง ค. ญี่ปุน จนี มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ข. มีอัตราการแลกเปลี่ยนเปน็ ไปตามกลไกตลาด ง. ญปี่ ุน จนี สหรฐั อเมริกา สหรฐั อาหรับเอมิเรตส์ ค. รัฐบาลควบคุมโดยกาหนดอัตราคงท่ไี วก้ ับสกลุ 4. สาเหตุสาคัญที่มีการตง้ั กาแพงภาษีสินค้าจาก เงนิ หน่ึง ต่างประเทศใหม้ ีราคาสูงคืออะไร ง. มีธนาคารกลางเขา้ มาแทรกแซงตลาดให้เปน็ ไป ก. รัฐบาลต้องการเกบ็ ภาษีให้มากเพ่ือนามาพัฒนา ตามทศิ ทางที่ต้องการ ประเทศ 9. ประเทศท่มี ีนักลงทุนต่างชาติเขา้ มาลงทนุ จะได้รบั ข. ปกปูองอุตสาหกรรมภายในประเทศ ประโยชนห์ ลายประการ ยกเวน้ ขอ้ ใด ค. ประชาชนในประเทศมรี ายได้น้อย ก. มีเงินตราจากตา่ งประเทศไหลเข้ามาในประเทศ ง. ตอ้ งการใหส้ นิ ค้ามีคณุ ภาพ มากขนึ้ 5. ขอ้ ความเกยี่ วกับมาตรการดา้ นภาษีศลุ กากรข้อใด ข. ทาใหเ้ กดิ การจ้างงานในประเทศที่มผี ู้เข้ามา ถกู ต้อง ลงทุน ก. ตอ้ งการรายได้เขา้ ประเทศใหม้ ากท่สี ดุ ค. ต้นทุนการผลิตต่าแต่ทาให้ขายสนิ คา้ ไดร้ าคาสงู ข. เพอื่ คมุ้ ครองทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม ง. ผู้บรโิ ภคไมต่ ้องซ้ือสนิ ค้าจากต่างประเทศ ค. เป็นเคร่ืองมือปกปูองทางการคา้ มากกวา่ หา 10. ข้อใดเป็นการลงทนุ ทางอ้อมจากต่างประเทศใน รายได้ ประเทศไทย ง. เพ่ือความปลอดภยั ในการลกั ลอบส่งสินคา้ ทีผ่ ิด ก. องค์กรต่างชาติซื้อห้นุ ของบริษัทการปิโตรเลียม กฎหมาย แห่งประเทศไทย 6. การกาหนดโควตานาเขา้ สินค้า เปน็ มาตรการในข้อ ข. บรษิ ทั เอไอเอ จากัด ของสหรฐั อเมริกามาตั้ง ใด สาขาบรษิ ทั เอไอเอ ท่ปี ระเทศไทย ก. มาตรการกาหนดมาตรฐานสินคา้ ค. บรษิ ัทโตโยตา้ มอเตอร์ แห่งประเทศญป่ี ุนเขา้ มา ข. มาตรการควบคุมด้านราคา ลงทนุ ประกอบรถยนตใ์ นประเทศไทย ค. มาตรการช่วยเหลือผูผ้ ลิต ง. ธนาคารสแตนดาร์ดชารเ์ ตอร์แหง่ ประเทศ ง. มาตรการจากดั ปรมิ าณ อังกฤษ เข้ามาตั้งสาขาธนาคารสแตนดาร์ดชาร์ เตอร์ ในประเทศไทย เฉลย 1. ง 2. ก 3. ค 4. ข 5. ค 6. ง 7. ก 8. ค 9. ค 10. ก
แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 4 คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. ข้อใดหมายถึงประเทศคู่ค้า 6. ข้อความเกีย่ วกบั มาตรการด้านภาษศี ลุ กากรขอ้ ใด ก. มาเลเซยี ซื้อขา้ วจากไทย ไทยซ้ือน้ามันจาก ถกู ต้อง มาเลเซยี ก. เพอ่ื ความปลอดภยั ในการลักลอบสง่ สินค้าท่ผี ิด ข. เวยี ดนามขายขา้ วใหัไนจีเรยี ไนจีเรยี ขายน้ามนั กฎหมาย ใหล้ าว ข. เป็นเคร่ืองมือปกปูองทางการคา้ มากกว่าหา ค. ไทยซ้ือน้ามนั จากอนิ โดนเี ซีย อนิ โดนีเซียซอ้ื ขา้ ว รายได้ จากเวียดนาม ค. เพ่อื คมุ้ ครองทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ง. สหรฐั อเมรกิ าขายรถยนตใ์ หเ้ กาหลแี ละซื้อ ง. ตอ้ งการรายได้เข้าประเทศให้มากทสี่ ดุ เครอื่ งไฟฟาู จากญีป่ นุ 7. สาเหตุสาคญั ท่ีมีการตัง้ กาแพงภาษีสินคา้ จาก 2. ประเทศทม่ี นี ักลงทุนตา่ งชาตเิ ข้ามาลงทนุ จะได้รับ ต่างประเทศให้มีราคาสงู คืออะไร ประโยชน์หลายประการ ยกเว้นข้อใด ก. ต้องการให้สินค้ามีคณุ ภาพ ก. ผู้บริโภคไมต่ อ้ งซ้ือสินค้าจากต่างประเทศ ข. ประชาชนในประเทศมรี ายได้นอ้ ย ข. ตน้ ทนุ การผลติ ต่าแต่ทาให้ขายสนิ คา้ ไดร้ าคาสูง ค. ปกปอู งอตุ สาหกรรมภายในประเทศ ค. ทาใหเ้ กิดการจ้างงานในประเทศทม่ี ผี ูเ้ ข้ามา ง. รฐั บาลตอ้ งการเก็บภาษใี ห้มากเพ่ือนามาพฒั นา ลงทนุ ประเทศ ง.เงนิ ตราจากต่างประเทศไหลเข้ามาในประเทศมาก 8. ตลาดนาเข้าสนิ คา้ ทส่ี าคัญของไทยมากท่ีสดุ ขนึ้ เรียงตามลาดบั คือข้อใด 3. ระบบอตั ราแลกเปลยี่ นเงนิ ตราแบบคงท่ีมีลักษณะ ก. ญี่ปนุ จนี สหรฐั อเมรกิ า สหรัฐอาหรับเอมเิ รตส์ อยา่ งไร ข. ญี่ปุน จีน มาเลเซีย สหรฐั อเมริกา ก. มีธนาคารกลางเขา้ มาแทรกแซงตลาดใหเ้ ปน็ ไป ค. จีน ญีป่ ุน สหรัฐอเมริกา มาเลเซยี ตามทิศทางทีต่ ้องการ ง. ญี่ปุน จนี มาเลเซีย สงิ คโปร์ ข. รัฐบาลควบคุมโดยกาหนดอัตราคงทีไ่ วก้ ับสกลุ 9. ตลาดท่ีซื้อสนิ คา้ ของไทยมากที่สุดคือข้อใด เงินหนง่ึ ก. จีน ข. ญีป่ ุน ค. มีอัตราการแลกเปลย่ี นเปน็ ไปตามกลไกตลาด ค. นาฟตา ง. อาเซยี น ง. รัฐจะไม่เข้าไปแทรกแซง 10. การเก็บภาษนี าเข้าในราคาทีเ่ พิ่มสูงขนึ้ มีผลสาคัญใน 4. สินค้าส่งออกจากประเทศไทยส่วนใหญ่เปน็ สินคา้ ข้อใด ประเภทใด ก. ปรมิ าณการส่ังซ้อื สินค้านาเขา้ มจี านวนสูงขึ้น ก. อตุ สาหกรรม ข. เกษตรกรรม ข. ต้นทุนการผลิตสินค้านาเขา้ ลดลง และจานวน ค. การประมง ง. ยางพารา การผลติ ลดลง 5. การกาหนดโควตานาเข้าสนิ ค้า เปน็ มาตรการในข้อ ค. รัฐบาลไดร้ ับผลตอบแทนจากภาษสี นิ คา้ ส่งออก ใด มากขนึ้ ก. มาตรการจากัดปรมิ าณ ง. สนิ ค้านาเข้ามีราคาสงู ทาให้การบริโภคลดลง ข. มาตรการชว่ ยเหลือผู้ผลติ ค. มาตรการควบคมุ ดา้ นราคา ง. มาตรการกาหนดมาตรฐานสินคา้
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ ตวั ชว้ี ดั ที่ ส.๓.๒ ม.๓/๓ อภปิ รายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส.๓.๑ ม.๓/๖ วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละวธิ กี ารกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ การคา้ และการทนุ ลงระหวา่ งประเทศ หมายถึง การแลกเปลย่ี นสินคา้ และบริการตา่ งๆ ผา่ นเขตแดนของชาติ ประกอบด้วย การส่งออกและการนาเขา้ สินค้าและวัตถดุ ิบ การคา้ ระหวา่ งประเทศ การค้าระหวา่ งประเทศมีความสาคัญในแง่การก่อให้เกิดการแบ่งงานกันทาระหว่างประเทศและส่งผลให้การ จดั สรรทรพั ยากรของโลกมีประสทิ ธิภาพมากข้นึ ปจั จยั ท่กี ่อให้เกดิ การค้าระหว่างประเทศ ความแตกตา่ งทางภูมิศาสตรท์ าให้ ความแตกตา่ งทางทรัพยากร แต่ละประเทศผลิตสนิ คา้ ที่แตกตา่ งกนั ธรรมชาติ สนิ คา้ และบริการตา่ งๆ ออกไปสนิ ค้าบางชนิดที่ไม่สามารถผลติ ท่ีผลิตข้นึ ต้องอาศยั วัตถดุ ิบจาก ได้ในประเทศของตนเองกจ็ ะนาเข้าจาก ทรพั ยากรของแตล่ ะประเทศ ประเทศอ่นื เกดิ เปน็ การแลกเปลย่ี น จึงส่งผลใหส้ ินค้าทีแ่ ตกตา่ งกนั ไป สินคา้ ระหว่างกัน ปจั จัยทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ การค้า ระหว่างประเทศ ความได้เปรยี บทางการผลิตแต่ละ ความต้องการบริโภคสนิ คา้ และ ประเทศจะผลิตสนิ ค้าตามความถนัด บรกิ ารที่แตกตา่ งกัน มนุษย์มีความ ของตน เพอ่ื ลดตน้ ทุนทาให้ไดเ้ ปรียบ ตอ้ งการอย่างไม่จากัด จงึ ต้อง แสวงหา คูแ่ ข่ง สนิ ค้ามาบาบดั ความตอ้ งการของตน เกิดเป็นการติดตอ่ ค้าขายระหวา่ งกนั
ประโยชน์ของการคา้ มสี นิ ค้าอุปโภคบรโิ ภคเพยี งพอตอ่ ความต้องการของประชาชน ระหวา่ งประเทศ ประชาชนมงี านทาเพิ่มขึน้ ผู้ผลติ สนิ คา้ มีความรคู้ วามชานาญในการผลิตสินคา้ และบริการมาก ข้นึ มกี ารถ่ายโอนเทคโนโลยีระหวา่ งกนั เศรษฐกิจของประเทศมกี ารขยายตวั เพ่มิ ขึ้น ปัจจัยทีก่ ่อให้เกิดการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ ตอ้ งการลดตน้ ทนุ การผลิต โดยโยกย้ายฐานการผลิตไปยงั ประเทศท่มี บี รรยากาศเหมาะสมตอ่ การลงทนุ ตอ้ งการขยายตลาดหรือสร้างอานาจผูกขาดทางการค้า ลกั ษณะของประเทศทีน่ ่าลงทุน มีทรพั ยากรธรรมชาติ มแี รงงานท่ีมคี ่าจา้ งตา่ เปน็ ประเทศทเี่ ปน็ ตลาด ท่อี ดุ มสมบูรณ์ ขนาดใหญ่ ลกั ษณะของ ประเทศทีน่ า่ ลงทนุ เป็นประเทศท่ีมีความม่นั คง ทางการเมอื ง ประชาชนไม่ต่อตา้ น รฐั บาลมีนโยบายส่งเสริม การลงทุนจากต่างประเทศ การลงทุนจากต่างประเทศ
ประโยชนข์ องการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ ประชาชนมีคุณภาพชวี ิตทด่ี ีข้นึ เพราะมีการจา้ งงานเพ่มิ ข้ึน เศรษฐกิจของประเทศมกี าร ขยายตัวในอัตราที่สูงขึ้น ประโยชนข์ องการลงทนุ ระหว่างประเทศ การไดร้ ับการถา่ ยทอดเทคโนโลยี เป็นการเพิม่ มูลค่าของสินคา้ การผลติ สนิ ค้าและบริการจาก และวตั ถดุ บิ ท่ผี ลติ ได้ในทอ้ งถิน่ นักลงทุนต่างชาติ ผลกระทบของการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ การสิน้ เปลืองทรพั ยากรธรรมชาติเพ่อื ใช้ สง่ ผลกระทบต่อวถิ กี ารดาเนินชวี ิตของประชาชน ผลิตสินค้า เกดิ การทาลายทรพั ยากร โดยตรง วิถชี ีวิตแบบดงั้ เดิมของคนในท้องถิ่น จนเกิดเปน็ ปัญหามลพษิ ของสง่ิ แวดล้อม ถกู ทาลาย เน่อื งจากความเจรญิ ด้านวัตถุ การแขง่ ขนั เชน่ ปัญหาน้าเสยี อากาศเปน็ พิษ ขาดคุณธรรม จริยธรรม นกั ลงทนุ ภายในประเทศได้รบั ประเทศชาติประสบปัญหา ประชาชนในท้องถนิ่ ถกู เอาเปรยี บ ผลกระทบจากการลงทนุ เพราะ การขาดดลุ การค้า เพราะการ จากนักลงทุนตา่ งชาติ เพราะ นกั ลงทุนตา่ งชาตมิ เี งินในการ ลงทนุ ระหว่างประเทศจาเปน็ นกั ลงทนุ ตา่ งชาตจิ ะใช้เครอื่ ง ลงทนุ มากกว่า ผลติ สนิ ค้าได้ ตอ้ งใชเ้ ครอ่ื งจักกลราคา จักรกลในการผลิตสินค้าเป็น มากกว่า นกั ลงทุนในประเทศ แพงจากต่างประเทศมาใช้ สว่ นใหญ่ ทาให้ไมเ่ กิดการจ้างงาน จึงขาดความสามารถในการ ผลติ สนิ ค้า จึงขาดดุลกบั และปดิ บงั เทคโนโลยีขน้ั สงู แขง่ ขัน ตา่ งประเทศมากขน้ึ ไมถ่ ่ายทอดให้แรงงานในทอ้ งถ่ิน
การกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ การกดี กนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศ หมายถึง การคา้ ทม่ี งุ่ คมุ้ กนั ตลอดสินคา้ ภายในประเทศโดยพยายามไม่ให้ ประเทศอืน่ สง่ สนิ คา้ ชนดิ นั้นๆ เขา้ มาแข่งขันกับผู้ผลิตภายในประเทศ โดยมกี ารใชว้ ิธีการตา่ งๆ เชน่ การกาหนดควบคมุ การนาเขา้ การเกบ็ ภาษีขาเขา้ ในอัตราที่สงู สาเหตุการกดี กันทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ ปญั หาการขาดดลุ การค้า การมอี ตั ราการว่างงาน ในประเทศ ในประเทศสงู ขน้ึ สาเหตุ สาเหตกุ ารกีดกนั ทางการคา้ ในการค้า ระหวา่ งประเทศ เพื่อปกปอ้ งคมุ้ ครองการผลติ อปุ สงค์ต่อสนิ ค้าและบริการ สนิ ค้าภายในประเทศ ทง้ั ในและตา่ งประเทศหดตวั ลง
วธิ ีการกดี กันทางการค้าในการคา้ ระหวา่ งประเทศ รัฐบาลอาจใช้มาตรการต่างๆ เปน็ เครื่องมอื กีดกนั การนาเข้าและส่งเสริมการส่งออก ดังน้ี การต้งั กาแพงภาษี เรยี กเก็บภาษจี ากสินค้านาเขา้ จากตา่ งประเทศในอัตราท่ี สูงกว่าปกติ ทาใหส้ นิ คา้ ชนดิ นัน้ มีราคาสงู ทาใหผ้ ู้บริโภค หันมาซอ้ื สนิ ค้าที่ผลิตในประเทศแทน เปน็ วิธีทป่ี ระเทศ ต่างๆ นิยมนามาใชม้ ากท่ีสดุ การควบคมุ โควตาการนาเขา้ ช่วยแกไ้ ขภาวะดลุ การค้าท่ีขาดดุลกบั ตา่ งประเทศ โดยการ จากัดปริมาณสนิ ค้านาเข้า สามารถประหยัดเวลาเงินตรา ต่างประเทศได้ การควบคุมโควตาการส่งออก ป้องกนั การขาดแคลนสินค้าภายในประเทศ วิธีนยี้ งั สามารถทาให้ราคาสนิ ค้าท่ีสง่ ออกมรี าคาสูงขึน้ ด้วยปริมาณ ท่ีสง่ ออกจากดั การท่รี ฐั บาลให้การสง่ เสริมผู้ผลิตภายในประเทศเพอ่ื การ ดว้ ยการลดภาษีสาหรบั ผู้ผลติ ส่งออก ลดภาษีนาเขา้ วัตถุดิบ ส่งออก และการให้เงินอุดหนนุ การส่งสนิ ค้าออก กาหนดมาตรฐานคุณภาพของสนิ ค้านาเข้าให้สงู เพ่ือให้เกิดความยุง่ ยากในการนาสนิ ค้าเข้ามาจาหน่ายใน ประเทศจากการตรวจสอบอย่างละเอียด จึงทาใหส้ ินค้า นาเขา้ นอ้ ยลง การทุ่มตลาด เป็นการตดั ราคาสินค้า โดยสง่ ออกสินค้าไปขาย ตา่ งประเทศในราคาทตี่ า่ มากๆ จนค่แู ข่งขันมาสามารถขาย ได้ในราคาดังกลา่ ว
ใบงานท่ี ๘ รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ ตวั ชว้ี ดั ท่ี ส.๓.๒ ม.๓/๓ อภปิ รายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส.๓.๑ ม.๓/๖ วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละวิธกี ารกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ นกั เรยี นวเิ คราะหส์ ถานการณท์ ่ีกาหนดแลว้ ตอบคาถามเกี่ยวกบั มาตรการการกดี กันทางการคา้ ในการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชยข์ องประเทศอนิ โดนเี ชยี กาหนดภาษกี ารนาเขา้ สินค้าเทคโนโลยีจากประเทศต่างๆ เพม่ิ ข้ึนร้อยละ 20 ทาให้ประเทศคู่คา้ คดิ หนักในการขยายตลาด มาตรการการกดี กันทางการค้า ............................................................................................................................................................. ญ่ีปนุ่ ควบคุมการนาเขา้ ผลติ ภัณฑป์ ระเภทเครือ่ งจักรกล โดยวางนโยบายลดปรมิ าณการนาเข้าใหเ้ หลอื 10 % จากปที แ่ี ลว้ มาตรการการกดี กันทางการค้า ............................................................................................................................................................. รัฐบาลของประเทศไทยจดั ตงั้ กองทุนส่งเสรมิ การผลติ สนิ ค้า OTOP เพ่ือให้ผผู้ ลิตยกระดบั มาตรฐานของสินค้า เพอ่ื สง่ ออกและนารายได้เขา้ สปู่ ระเทศ มาตรการการกีดกนั ทางการค้า ............................................................................................................................................................. ประเทศสหรฐั อเมรกิ ามีการตรวจสอบคุณภาพอาหารประเภทเนื้อไก่นาเขา้ โดยวางมาตรฐานไว้สูงมาก จงึ ทาให้ประเทศอ่ืนๆ ไม่ผา่ นการตรวจสอบและมโี ควตาการสง่ ออกท่ลี ดลง มาตรการการกีดกนั ทางการคา้ ............................................................................................................................................................. เวยี ดนามหวนั่ ประชาชนลาบากในยคุ เศรษฐกิจตกต่า มกี ารกกั ตุนข้าว เว้นช่วงลดปริมาณการส่งออก จงึ ทาให้ประเทศ เพือ่ นบา้ นไดร้ บั ผลกระทบดว้ ย มาตรการการกีดกนั ทางการคา้ .............................................................................................................................................................
นกั เรยี นวเิ คราะหถ์ งึ สาเหตแุ ละวธิ กี ารกดี กนั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศลงในแผนภาพความคดิ สาเหตกุ ารกดี กัน ..................................................................................................................... ...................................................................................................................... ทางการค้าในการค้า ระหว่างประเทศ ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ..................................................................................................................... ...................................................................................................................... ............................................................................................................................. . ............................................................................ วธิ ีการกดี กัน ............................................................................... ............................................................................ ทางการคา้ ในการค้า .............................................................................. ระหวา่ งประเทศ ............................................................................................................. ....................................................................................................
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ จานวน 4 คาบ เร่ือง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ครผู ู้สอน นางมณฑริ า จินดารตั น์ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้ีวัด ส 3.1 ม.3/3 อภปิ รายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2.สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ของแต่ละกลุ่มตา่ งก็มลี กั ษณะสาคัญแตกตา่ งกันไปซึง่ มคี วามสาคญั ต่อเศรษฐกิจ โลก 3. สาระการเรียนรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) บทบาทความสาคญั ของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2) ลกั ษณะของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ 4.จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายสาเหตุและความจาเปน็ ของการรวมกลุม่ ระหว่างประเทศ (K2) 2. อภปิ รายบทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ (P1) 3. เห็นประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ระหว่างประเทศ (A3) 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 1. ความรคู้ วามเขา้ ใจ 2. ความสามารถในการคิด 1) ทกั ษะการวเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝเุ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน 7. กิจกรรมการเรียนรู้ วธิ กี ารจัดการเรยี นการสอนแบบรว่ มมือรูปแบบจี.ไอ (G.I) กจิ กรรมการเรยี นการสอนคาบที่ 1 ข้นั ท่ี 1 ข้นั เตรยี มการ 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 5 2. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ
- นักเรยี นคิดวา่ การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของประเทศต่างๆ มีความสาคัญตอ่ การขยายตัวทาง เศรษฐกจิ อยา่ งไร 3. นกั เรยี นดูภาพข่าวเกีย่ วกบั กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของกลมุ่ เศรษฐกิจต่างๆ เช่น สหภาพยโุ รป หรือ ASEAN มาเลา่ ให้นกั เรยี นฟัง แล้วให้นกั เรยี นร่วมกนั วเิ คราะหแ์ สดงความคิดเห็นถงึ ผลประโยชนส์ าคัญ จากกจิ กรรมดงั กลา่ ว 4. ครอู ธิบายเชื่อมโยงใหน้ กั เรียนเข้าใจถงึ ความสาคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ขั้นที่ 2 ขนั้ จัดการเรียนรู้ 5. นกั เรยี นแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กลุ่มละ 4 คน ใหร้ ว่ มกันศกึ ษาข้อมลู ความรู้ จากหนงั สือเรียน หรือ หนังสือค้นควา้ เพ่ิมเติม หรอื ห้องสมดุ หรอื แหลง่ ข้อมลู สารสนเทศ ในหัวข้อต่อไปนี้ 1) วตั ถุประสงค์ บทบาท ความสาคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ 2) ลกั ษณะของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ ขน้ั ที่ 3 ขนั้ ทากจิ กรรม 6. นกั เรยี นตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ - เพราะเหตใุ ด ประเทศต่างๆ จงึ ต้องมีการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ (เพ่ือประโยชน์ทางด้านการขยายการค้า การผลิต การจ้างงาน และศักยภาพการแข่งขัน) 7. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ นาข้อมลู ท่ีไดจ้ ากการศึกษาคน้ ควา้ ความรเู้ กี่ยวกับการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ มาเปน็ พื้นฐานในการทาใบงาน เร่ือง การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ ขนั้ ที่ 4 ข้ันตรวจสอบผลงาน 8. นักเรยี นและครูช่วยกันเฉลยคาตอบในใบงาน แล้วสรุปประเดน็ สาคัญ 9. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ นาความรู้ทไี่ ด้จากการศึกษาเรื่อง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ เป็นขอ้ มูลในการ วเิ คราะห์ขา่ วในใบงาน เรอื่ ง การวเิ คราะหส์ ถานการณ์กลุม่ ทางเศรษฐกิจ 10. นักเรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคดิ ข้อ 1-2 1) การขยายตวั ทางเศรษฐกิจมีผลตอ่ การเมืองของประเทศสมาชิกอย่างไร (ทาให้มกี ารรวมตัวทางการเมืองระหว่างประเทศ ผ่อนคลายความตึงเครียด และปัญหาทางการเมือง) 2) นกั เรียนเคยอ่านข่าวเกยี่ วกับการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ของกลมุ่ ใดบ้าง และผลท่ีได้รับ จากการ รวมกลมุ่ คืออะไร ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ครตู รวจ 11. นักเรียนร่วมกนั กันสรุปเร่ือง การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจ 12. นักเรียนทากิจกรรมตามตัวช้ีวดั กจิ กรรมท่ี 5.1 จากแบบวัดฯ เปน็ การบ้าน เสร็จแล้วนาส่ง
กิจกรรมการเรยี นการสอนคาบที่ 2-3 ขน้ั ท่ี 1 ขั้นเตรยี มการ 1. นกั เรยี นตอบเพ่ือเป็นการทบทวนความรู้เก่ยี วกับการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ ดงั น้ี 1) การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ของประเทศต่างๆ มวี ตั ถปุ ระสงคส์ าคัญอย่างไร 2) การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ มผี ลดหี รอื ผลเสยี อยา่ งไร 2. ครอู ธิบายเชือ่ มโยงใหน้ ักเรียนเหน็ ความสาคญั ของการรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ 3. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด นักเรยี นคดิ ว่า การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ชว่ ยทาใหต้ ลาดขยายตวั ได้อย่างไร และทาใหเ้ กดิ การ เคลอ่ื นยา้ ยทนุ และแรงงานอย่างเสรไี ดอ้ ย่างไร อธิบายเหตุผล ขนั้ ท่ี 2 ขนั้ จัดการเรยี นรู้ 4. นักเรยี นกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 1) ร่วมกนั ศึกษาความรูเ้ รอ่ื ง กล่มุ ทางเศรษฐกิจในภูมิภาค ตา่ งๆ จากหนังสือเรียน หรือหนังสอื คน้ คว้าเพมิ่ เติม หรือห้องสมุด หรอื แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ในหวั ขอ้ ดงั นี้ 1) สหภาพยโุ รป 2) กลมุ่ สมาคมเขตการคา้ เสรียโุ รป 3) กลมุ่ สมาคมเขตการค้าเสรีอเมริกาเหนอื 4) กล่มุ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชยี -แปซฟิ ิก 5) กล่มุ ประเทศผสู้ ่งออกนา้ มนั 6) สมาคมประชาชาติเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ 7) กลมุ่ ประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างรวดเร็ว ข้ันที่ 3 ขน้ั ทากิจกรรม 5. สมาชกิ แต่ละกลุ่มรว่ มมือกันเขียนแผนผังความคิด 6. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ผลดั กันนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น ขัน้ ที่ 4 ขั้นตรวจสอบผลงาน 7. นกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกต้องและครูมอบหมายให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มไปสืบค้นความรูเ้ พมิ่ เติม เกย่ี วกบั กิจกรรมต่างๆ ของกลมุ่ ทางเศรษฐกิจในภมู ิภาคต่างๆ แลว้ นาไปตดิ ปาู ยนิเทศ ขน้ั ท่ี 5 ขั้นสรปุ บทเรยี นและประเมนิ ผล 8. สรปุ วตั ถุประสงค์และนโยบายของกลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคตา่ งๆ จากนั้นคัดเลือกตัวแทนกลุ่มนาเสนอ ผลงานหน้าชั้นเรียน 9. นักเรียนตอบคาถามกระต้นุ ความคดิ ประเทศทอ่ี ยู่ในกลุ่มเศรษฐกจิ เดียวกนั จะได้ประโยชน์จากเขตการค้าเสรีอยา่ งไร (ได้ประโยชน์ท่ีไมต่ ้องมีข้อจากดั ทางการคา้ ระหวา่ งประเทศสมาชิก มีการยกเลิกมาตรการจากัดการ นาเข้าดา้ นการเกบ็ ภาษีศลุ กากรจากการนาเข้าสินค้า)
กจิ กรรมการเรยี นการสอนคาบที่ 4 ขน้ั ที่ 1 ขน้ั เตรียมการ 1. นักเรยี นแต่ละกลมุ่ (กลุ่มเดมิ จากแผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1) นั่งล้อมวงผลดั กันนาข่าวที่คน้ ควา้ มา ล่วงหนา้ เกีย่ วกบั ผลงานขององคก์ รระหวา่ งประเทศ มาเล่าสกู่ ันฟงั โดยผลัดกนั เลา่ ทลี ะคน แบบเลา่ เรือ่ งรอบวง และช่วยกันเลอื กว่าขา่ วใดจดั เปน็ ข่าวท่มี ีผลงานเด่น 2. นกั เรียนตัวแทนกลุ่ม 2-3 กลุ่ม ออกมาเลา่ ข่าวทีก่ ลุ่มคดั เลือกวา่ เปน็ ข่าวทม่ี ีผลงานเดน่ ขององคก์ ร ระหวา่ งประเทศ 3. นักเรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรยี นชอบผลงานขององค์กรระหว่างประเทศองค์กรใด เรื่องใด อธิบายเหตผุ ล (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ย่ใู นดุลยพินจิ ของครูผ้สู อน) 4. ครอู ธบิ ายเชอื่ มโยงให้นกั เรยี นเขา้ ใจว่า องคก์ รระหว่างประเทศมบี ทบาทสาคัญต่อการรวมกลุ่มเศรษฐกจิ ของโลก ขน้ั ที่ 2 ขนั้ จัดการเรียนรู้ 5. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั ศึกษาความรเู้ ร่ือง องคก์ รระหว่างประเทศ จากหนงั สือเรียน หรอื หนงั สอื ค้นคว้าเพิ่มเตมิ หรือหอ้ งสมุด หรอื แหล่งข้อมลู สารสนเทศ และช่วยกันสรปุ สาระสาคัญ 6. นกั เรยี นแตล่ ะคนในกลุ่มนาข่าวที่หามาวิเคราะห์แล้วตอบคาถามลงในใบงาน เรอ่ื ง การวิเคราะหผ์ ลงานองค์กรระหวา่ งประเทศ ขั้นที่ 3 ขั้นทากิจกรรม 7. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลุ่มผลดั กันเลา่ ผลงานในใบงาน ของตนให้สมาชกิ คนอ่นื ฟงั ทลี ะคนแบบ เล่าเรื่องรอ บวง และให้ทุกคนช่วยกนั เสนอแนะเพ่มิ เติม 8. สมาชกิ ทุกคนในกลุ่มรว่ มกันสรุปรวมผลงานของทุกคนเพื่อเปน็ ผลงานของกลุ่ม ข้นั ท่ี 4 ขน้ั ตรวจสอบผลงาน 9. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น ครูตรวจสอบความถูกต้อง 10. นักเรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ ขอ้ 1-2 1) องค์กรระหว่างประเทศมีความสาคัญอย่างไร (กาหนดทิศทางเศรษฐกจิ และสงั คมของกลุ่มเศรษฐกิจโลกให้สอดคลอ้ งและเกิดประโยชน์ร่วมกัน) 2) ปัญหาสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ คอื อะไร (การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจไม่ไดเ้ ปน็ การช่วยเหลอื หรือใหส้ ิทธิพเิ ศษแกป่ ระเทศสมาชิกอย่างแท้จรงิ ฯลฯ) ขั้นท่ี 5 ข้ันสรปุ บทเรยี นและประเมนิ ผล 11. นักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบและสรปุ บทบาทหน้าท่ีขององค์กรระหวา่ งประเทศ 12. นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5
ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนแต่ละกลุม่ ร่วมกนั อภปิ ราย เร่อื ง บทบาทและความสาคญั ของการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ โดยใหค้ รอบคลุมประเด็นตามทีก่ าหนด ดงั น้ี 1) การอภิปรายความสาคญั ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ 2) การอภิปรายผลงานสาคัญของกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 3) การอภปิ รายผลจากการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ 8. การวัดและการประเมินผล 7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 เรอ่ื ง การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 7.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1) ตรวจใบงานท่ี 5.1 เรื่อง การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ 2) ตรวจใบงานที่ 5.2 เรอ่ื ง การวเิ คราะหส์ ถานการณ์กลมุ่ ทางเศรษฐกิจ 3) ตรวจใบงานท่ี 5.3 เรื่อง กลมุ่ ทางเศรษฐกิจในภูมภิ าคตา่ งๆ 4) ตรวจใบงานที่ 5.4 เร่ือง การวิเคราะหผ์ ลงานองค์กรระหว่างประเทศ 5) ตรวจแบบบันทึกการอา่ น 6) ประเมนิ การนาเสนอผลงาน 7) สังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล 8) สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกล่มุ 9) สังเกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 7.3 การประเมนิ หลงั เรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ที่ 5 เรอื่ ง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 7.4 การประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) - สงั เกตการอภปิ ราย เร่ือง บทบาทและความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ 9. สือ่ /แหล่งการเรียนรู้ 8.1 สอ่ื การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรียน เศรษฐศาสตร์ ม.3 2) แบบวดั และบันทึกผลการเรยี นรู้ เศรษฐศาสตร์ ม.3 3) หนังสือคน้ ควา้ เพ่มิ เติม - วรนนั ท์ กิตติอัมพานนท.์ (2553). เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ. กรงุ เทพมหานคร :โอเดียนสโตร.์ 4) ตัวอย่างข่าว 5) ใบงานที่ 5.1 เรอื่ ง การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกิจ 6) ใบงานท่ี 5.2 เรื่อง การวเิ คราะหส์ ถานการณก์ ลุ่มทางเศรษฐกจิ
8.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://www.oknation.net/blog/print.php?id=318917 - http://lks.ac.th/kukiat/student/betterroyal/social/33.html. แบบประเมินการอภิปราย เร่อื ง บทบาทและความสาคัญ ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ รายการประเมนิ ดมี าก (4) คาอธิบายระดับคณุ ภาพ / ระดับคะแนน ปรับปรงุ (1) ดี (3) พอใช้ (2) 1. การอภปิ ราย อภิปรายความสาคญั ของ อภิปรายความสาคญั ของ อภิปรายความสาคญั ของ อภิปรายความสาคญั ของ ความสาคญั ของการ การรวมกล่มุ ทาง การรวมกลมุ่ ทาง การรวมกล่มุ ทาง การรวมกลมุ่ ทาง รวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ เศรษฐกจิ ระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหวา่ ง ไดถ้ กู ตอ้ ง สมบรู ณ์ ได้ถกู ต้อง คอ่ นขา้ ง ได้ถกู ตอ้ ง เป็นบางสว่ น ได้ถกู ต้อง เปน็ บางสว่ น ประเทศ ชดั เจน สมบรู ณ์ ชัดเจน แตไ่ มช่ ดั เจน 2. การอภิปรายผลงาน อภิปรายผลงานสาคัญ อภิปรายผลงานสาคัญ อภิปรายผลงานสาคญั อภปิ รายผลงานสาคญั สาคัญของกลุม่ ทาง ของกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ของกลุ่มทางเศรษฐกิจ ของกลุม่ ทางเศรษฐกจิ ของกล่มุ ทางเศรษฐกจิ เศรษฐกจิ ระหวา่ ง ระหวา่ งประเทศได้ถกู ตอ้ ง ระหว่างประเทศไดถ้ กู ตอ้ ง ระหวา่ งประเทศได้ถกู ต้อง ระหว่างประเทศได้ถูกตอ้ ง ประเทศ ชัดเจน 3 กลุ่มขึ้นไป ชดั เจน 2 กล่มุ ชดั เจน 1 กลมุ่ 1 กลุม่ แตไ่ มช่ ดั เจน 3. การอภปิ รายผลจาก อภิปรายผลจากการ อภปิ รายผลจากการ อภิปรายผลจากการ อภิปรายผลจากการ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ การรวมกลมุ่ ทาง รวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศได้ ระหวา่ งประเทศได้ ระหว่างประเทศได้ ถกู ตอ้ ง ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ถูกต้อง ชดั เจน เศรษฐกจิ ระหวา่ ง ระหวา่ งประเทศได้ 3 ประเดน็ 2 ประเดน็ 1 ประเด็น ประเทศ ถูกต้อง ชดั เจน 4 ประเดน็ เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ช่วงคะแนน 11 - 12 9 - 10 6-8 ต่ากวา่ 6 ระดับคณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง
บันทึกหลังสอนหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 เรื่อง การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ช้นั นักเรียนผา่ นตัวชวี้ ัด นักเรยี นไมผ่ ่านตวั ชว้ี ดั นกั เรียนที่ยงั ไมส่ อบ ม.3/3 จานวน คดิ เปน็ รอ้ ย จานวน คิดเป็นรอ้ ย จานวน คดิ เป็นร้อย นกั เรียนจานวน 40 คน ละ ละ ละ ม.3/4 35 87.50 - - 5 12.50 นกั เรยี นจานวน 36 คน 20 55.55 5 13.88 11 30.55 ม.3/8 นกั เรียนจานวน 34 คน 28 82.35 - - 6 17.64 ม.3/9 21 55.26 3 7.89 17 44.73 นกั เรียนจานวน 38 คน 7 19.44 13 36.11 16 44.44 ม.3/10 นักเรียนจานวน 36 คน 5 50.00 1 10.00 4 40.00 ม.3/11 นกั เรยี นจานวน 10 คน ผเู้ รียนทีไ่ ด้รบั ความรู้ความสามารถ (K) กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ของโลก ต่างก็มีวัตถุประสงค์และนโยบายสาคัญเพื่อให้ดาเนินการไปสู่ เปูาหมายทีก่ าหนด ผเู้ รียนทเ่ี กิดทักษะกระบวนการ (P) 1. ความสามารถในการส่อื สาร 2. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ 3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ผู้เรยี นมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) . มีวนิ ยั . ใฝ่เรียนร.ู้ มงุ่ มน่ั ในการทางาน ลงชอ่ื ................................................................. ( นางมณฑริ า จนิ ดารัตน์ )
ความคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของหัวหนา้ กล่มุ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชอื่ ................................................................. ( นางนงเยาว์ วกิ รัยเจริญย่งิ ) หวั หน้ากลุม่ สาระสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะของรองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ลงชือ่ ................................................................. ( นางสาวเพริศพิศ คูหามุข ) รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ
แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 5 คาชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. การรวมกลุม่ ทางเศรษฐกจิ มคี วามสาคัญอยา่ งไร 5. สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ก. ตลาดขยายตัว ตน้ ทุนการผลิตสินค้าลดลง มวี ตั ถปุ ระสงค์ในการกอ่ ตั้งหลายประการ ยกเว้นขอ้ ใด ปจั จัยการผลติ เคลอ่ื นย้ายได้เสรมี ากขึ้น ก. รว่ มมอื กนั ทางด้านการค้า อุตสาหกรรม การลงทนุ ข. มกี ารคา้ ภายในกลมุ่ น้อยกวา่ การคา้ นอกกลุม่ ข. อานวยความสะดวกในการขนส่งสนิ คา้ ผ่านแดนของ ปัจจยั การผลติ จะอยใู่ นพ้นื ทก่ี ารผลติ อาเซียน ค. การผลติ ใชว้ ัตถุดบิ นอ้ ยลง มกี ารบรกิ ารมากขึน้ ค. ร่วมมอื กนั ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมและ อตั ราดอกเบย้ี สงู ขนึ้ วัฒนธรรม ง. การใช้ทรัพยากรมากขน้ึ ตน้ ทนุ การผลิตลดลง ง. ชว่ ยเหลอื และรว่ มมอื กนั ทางดา้ นการทหาร การเมือง ตลาดขยายวงกวา้ งไปยงั ทกุ ภูมภิ าคของโลก เพ่ือความโดดเด่นระดับโลก อตั ราดอกเบย้ี สงู 6. องค์การค้าโลกมบี ทบาทสาคญั ในข้อใด 2. เขตการคา้ เสรีมลี กั ษณะสาคญั อยา่ งไร ก. วางกฎระเบยี บ กติกา ด้านการค้าและการบริการ ก. สมาชิกตกลงยกเลกิ การเก็บภาษีศลุ กากรระหว่าง ระหวา่ งประเทศสมาชกิ ประเทศสมาชกิ ข. เป็นตวั แทนของกล่มุ เศรษฐกิจในภมู ิภาคตา่ งๆ ข. สมาชกิ ตกลงกันต้ังอตั ราภาษีกับประเทศนอกกลมุ่ ในด้านการคา้ ขาย สมาชกิ ในราคาท่เี ปน็ ธรรม ค. ให้ความช่วยเหลอื แก่ประเทศสมาชิกในด้านการเงิน ค. ยกเลิกมาตรการจากดั การนาเขา้ ดา้ นการเก็บภาษี การกู้เงนิ ซึง่ มีอัตราดอกเบี้ยต่า ศุลกากรจากการนาเข้าสนิ คา้ ระหว่างประเทศในกลุ่ม ง. เปน็ องคก์ รที่ตัดสินขอ้ พพิ าทระหวา่ งกลุ่มประเทศ ง. สมาชิกทกุ ประเทศยนิ ยอมสละอานาจอธปิ ไตยเพอ่ื สมาชกิ กาหนดนโยบายต่างๆ รว่ มกนั อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 7. บทบาทสาคญั ของการประชมุ สหประชาชาตวิ ่าด้วยการคา้ 3. การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจกลุ่มแรก คอื กลมุ่ ใด และการพัฒนา (UNCTAD) คืออะไร ก. สหภาพยโุ รป ก. บรหิ ารงานและประสานงานกบั องค์กรระหวา่ ง ข. เขตการค้าเสรอี เมรกิ าเหนือ ประเทศ ค. กล่มุ สมาคมเขตการค้าเสรยี โุ รป ข. ใหป้ ระเทศสมาชกิ กลมุ่ เศรษฐกจิ ได้กู้เงนิ ไปลงทนุ ง. กล่มุ ความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ เอเชยี -แปซฟิ กิ ค. กาหนดอตั ราภาษีของประเทศกลมุ่ สมาชิก 4. กลุม่ เศรษฐกิจทม่ี ีอานาจการกาหนดราคาน้ามนั ของโลก คอื ง. สง่ เสริมการคา้ ระหว่างประเทศทม่ี รี ะดับการพัฒนา กลุ่มใด ที่แตกตา่ งกนั ก. กล่มุ โอเปก (OPEC) ข. กลุม่ เอเปก (APEC) ค. กลุม่ อาฟตา (AFTA) ง. กลุ่มนาฟตา (NAFTA)
8. ปญั หาสาคญั ของ UNCTAD คืออะไร 9. องคก์ รระหวา่ งประเทศในขอ้ ใดใหค้ วามช่วยเหลอื ทาง ก. การบริหารจัดการใหเ้ ป็นไปตามขอ้ ตกลงเปน็ ไป การเงินกบั ประเทศสมาชิกท่ีประสบปญั หาดลุ ชาระเงนิ อย่างลาบาก ก. องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) ข. ประเทศตา่ งๆ ขาดความรว่ มมือในการดาเนนิ งานตาม ข. กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) ข้อตกลงทก่ี าหนดไว้ ค. กลมุ่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟกิ (APEC) ค. การท่ปี ระเทศในกลุ่มเศรษฐกจิ หลายกลุ่มมารวมกนั ง. การประชุมสหประชาชาตวิ ่าด้วยการคา้ และการพัฒนา ทาให้ข้อคิดเห็นมีความแตกต่างกนั มีความยากลาบาก (UNCTAD) ในการกาหนดระเบยี บรว่ มกัน 10. กล่มุ เศรษฐกิจกลมุ่ ใดมบี ทบาทสาคัญทางการค้าและมผี ล ง. ประเทศกาลงั พฒั นาได้ถือเอาองั ถดั เปน็ เวทีเรยี กร้องสง่ิ ต่อการค้าของประเทศอนื่ ทั่วโลก ตา่ งๆ จากประเทศพฒั นาแลว้ ทาให้ประเทศพฒั นา ก. กลมุ่ ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ เอเชยี -แปซฟิ ิก แลว้ ลดการบรจิ าคเงิน ข. กลุ่มประเทศผสู้ ง่ ออกน้ามัน สมาคมประชาชาติ เอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ ค. กลุ่มสหภาพยโุ รป กลมุ่ การคา้ เสรอี เมริกาเหนือ ง. เขตการคา้ เสรอี าเซียน กลมุ่ ประเทศผสู้ ง่ ออกน้ามนั เฉลย 1. ก 2. ค 3. ก 4. ก 5. ง 6. ก 7. ง 8. ง 9. ข 10. ค
แบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 5 คาชแ้ี จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. กล่มุ เศรษฐกิจกลมุ่ ใดมบี ทบาทสาคญั ทางการค้าและมผี ล 5. องค์การค้าโลกมีบทบาทสาคญั ในข้อใด ต่อการคา้ ของประเทศอืน่ ทัว่ โลก ก. เป็นองค์กรทต่ี ดั สนิ ข้อพพิ าทระหวา่ งกลมุ่ ประเทศ ก. เขตการคา้ เสรอี าเซียน กลมุ่ ประเทศผู้ส่งออกนา้ มนั สมาชกิ ข. กลมุ่ สหภาพยโุ รป กลมุ่ การคา้ เสรอี เมริกาเหนือ ข. ให้ความช่วยเหลือแกป่ ระเทศสมาชกิ ในด้านการเงิน ค. กลมุ่ ประเทศผู้ส่งออกนา้ มนั สมาคมประชาชาติ เอเชยี การกเู้ งนิ ซงึ่ มอี ัตราดอกเบ้ยี ต่า ตะวันออกเฉียงใต้ ค. เปน็ ตัวแทนของกลุ่มเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคตา่ งๆ ง. กลมุ่ ความร่วมมอื ทางเศรษฐกิจเอเชยี -แปซิฟกิ ในด้านการค้าขาย ง. วางกฎระเบยี บ กตกิ า ดา้ นการค้าและการบริการ 2. องค์กรระหวา่ งประเทศในข้อใดใหค้ วามช่วยเหลือทาง ระหว่างประเทศสมาชกิ การเงนิ กับประเทศสมาชกิ ทปี่ ระสบปัญหาดลุ ชาระเงิน ก. การประชมุ สหประชาชาติวา่ ด้วยการคา้ และการพฒั นา 6. สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ (ASEAN) มี (UNCTAD) วตั ถปุ ระสงคใ์ นการก่อต้งั หลายประการ ยกเวน้ ขอ้ ใด ข. กลุ่มความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟกิ (APEC) ก. ชว่ ยเหลอื และร่วมมือกันทางด้านการทหาร การเมอื ง ค. กองทุนการเงนิ ระหวา่ งประเทศ (IMF) เพื่อความโดดเดน่ ระดบั โลก ง. องคก์ ารการคา้ โลก (WTO) ข. รว่ มมือกนั ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและ วฒั นธรรม 3. ปัญหาสาคัญของ UNCTAD คืออะไร ค. อานวยความสะดวกในการขนสง่ สนิ คา้ ผ่านแดนของ ก. ประเทศกาลังพัฒนาได้ถอื เอาอังถดั เป็นเวทีเรยี กรอ้ ง อาเซยี น สิง่ ตา่ งๆ จากประเทศพัฒนาแลว้ ทาให้ประเทศพฒั นา ง. ร่วมมือกนั ทางด้านการค้า อตุ สาหกรรม การลงทนุ แลว้ ลดการบรจิ าคเงนิ ข. การทป่ี ระเทศในกลุ่มเศรษฐกจิ หลายกล่มุ มารวมกัน 7. กลมุ่ เศรษฐกจิ ทม่ี ีอานาจการกาหนดราคาน้ามนั ของโลก คือ ทาให้ขอ้ คดิ เห็นมคี วามแตกตา่ งกนั มคี วามยากลาบาก กลุ่มใด ในการกาหนดระเบยี บร่วมกนั ก. กลมุ่ นาฟตา (NAFTA) ค. ประเทศต่างๆ ขาดความรว่ มมือในการดาเนินงานตาม ข. กลุ่มอาฟตา (AFTA) ข้อตกลงทก่ี าหนดไว้ ค. กล่มุ เอเปก (APEC) ง. การบริหารจดั การให้เปน็ ไปตามขอ้ ตกลงเป็นไป ง. กลุม่ โอเปก (OPEC) อยา่ งลาบาก 8. การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ กลุ่มแรก คือกล่มุ ใด 4. บทบาทสาคัญของการประชมุ สหประชาชาติวา่ ดว้ ยการคา้ ก. กลุ่มความรว่ มมือทางเศรษฐกจิ เอเชยี -แปซิฟิก และการพฒั นา (UNCTAD) คอื อะไร ข. กลมุ่ สมาคมเขตการคา้ เสรียโุ รป ก. สง่ เสรมิ การค้าระหว่างประเทศท่ีมรี ะดบั การพฒั นา ค. เขตการคา้ เสรอี เมรกิ าเหนือ ที่แตกตา่ งกัน ง. สหภาพยโุ รป ข. กาหนดอตั ราภาษขี องประเทศกลมุ่ สมาชกิ ค. ให้ประเทศสมาชิกกลมุ่ เศรษฐกจิ ได้กเู้ งนิ ไปลงทุน ง. บริหารงานและประสานงานกบั องคก์ รระหว่าง ประเทศ
9. เขตการค้าเสรมี ลี กั ษณะสาคญั อยา่ งไร 10. การรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจมคี วามสาคญั อย่างไร ก. สมาชกิ ทุกประเทศยนิ ยอมสละอานาจอธิปไตยเพอ่ื ก. การใชท้ รพั ยากรมากขึน้ ตน้ ทุนการผลติ ลดลง กาหนดนโยบายตา่ งๆ ร่วมกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ตลาดขยายกว้างไปยังทกุ ภมู ภิ าคของโลก ข. ยกเลิกมาตรการจากดั การนาเขา้ ดา้ นการเก็บภาษี อตั ราดอกเบย้ี สูง ศุลกากรจากการนาเขา้ สนิ ค้าระหว่างประเทศในกลุ่ม ข. การผลิตใช้วัตถุดบิ นอ้ ยลง มีการบรกิ ารมากขน้ึ ค. สมาชกิ ตกลงกนั ตัง้ อตั ราภาษกี บั ประเทศนอกกลมุ่ อตั ราดอกเบย้ี สูงขน้ึ สมาชิกในราคาท่ีเปน็ ธรรม ค. มกี ารคา้ ภายในกลมุ่ นอ้ ยกว่าการคา้ นอกกล่มุ ง. สมาชกิ ตกลงยกเลิกการเก็บภาษศี ลุ กากรระหว่าง ปจั จัยการผลติ จะอยู่ในพ้ืนทกี่ ารผลติ ประเทศสมาชิก ง. ตลาดขยายตัว ตน้ ทนุ การผลติ สินคา้ ลดลง ปจั จยั การผลติ เคลอ่ื นย้ายได้เสรมี ากขน้ึ เฉลย 1. ข 2. ค 3. ก 4. ก 5. ง 6. ก 7. ง 8. ง 9. ข 10. ง
เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๔ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ(การรว่ มกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ) ตวั ชว้ี ดั ท่ี ส.๓.๒ ม.๓/๓ อภปิ รายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส.๓.๑ ม.๓/๖ วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละวิธกี ารกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ บทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ เพ่อื ประโยชน์การค้าของประเทศสมาชกิ ลดเงอ่ื นไขการตอ่ รองระหวา่ งกัน และรักษาผลประโยชน์รว่ มกนั ของ สมาชิก สรา้ งอานาจการตอ่ รองกบั ประเทศนอกกลมุ่ เพ่ือเพ่มิ ความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศสมาชิก ใชท้ รพั ยากรผลิตสนิ คา้ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ และมีตน้ ทุนทีต่ า่ เพ่ือขยายตลาดทงั้ ของประเทศในกล่มุ กบั ตลาดนอกภูมิภาคใหม้ ขี นาดใหญ่ข้นึ เพอ่ื ลดการพงึ่ พาทางเศรษฐกิจและเงนิ ทุนจากประเทศทพ่ี ัฒนาแลว้
ลกั ษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ เขตสทิ ธพิ เิ ศษทางการคา้ (Preferentiaf Trade Areas: PTAS) เปน็ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ในลกั ษณะที่ประเทศสมาชิกทาการตกลงลดภาษีหรือยกเลกิ อปุ สรรคทางการค้า ระหว่างกนั ซ่ึงเป็นไปตามหลกั การทาข้อตกลงทั่วไปดว้ ยภาษศี ุลการกรและการคา้ การรวกลมุ่ แบบการคา้ เสรี (Free Trade Area: FTA) เป็นการรวมกล่มุ ในข้นั แรกทางเศรษฐกิจเพื่อขจดั อุปสรรคทางการค้าระหวา่ งประเทศสมาชกิ ดว้ ยการยกเว้นการ เกบ็ ภาษีนาเข้าของประเทศสมาชิกหรอื เกบ็ ในอัตราทตี่ ่า และมีการเคลอ่ื นย้ายสนิ ค้าโดยเสรี สหภาพศลุ กากร (Cust0ms Unions) เปน็ การรวมกลุ่มทางเศรษฐกจิ ในขน้ั ท่ี 2 ซ่งึ มีลักษณะทั่วไปคล้ายคลึงกบั การดาเนนิ การรวบรวมของกลุ่มการค้า แบบเขตการคา้ เสรี โดยประเทศสมาชกิ จะมีการยกเลิกภาษีทางการคา้ เพ่อื ลดอุปสรรคระหว่างกัน และมกี ารกาหนดอัตรา ภาษีศุลกากรสินค้าขาเข้าจากประเทศนอกกลุม่ ในอตั ราเดยี ว การรวมกลมุ่ แบบตลาดรว่ ม (Common Market) เปน็ การรวมกลมุ่ ที่มคี วามต่อเนอื่ งจากการรวมกลุ่มในชั้นสหภาพศลุ กาการ มกี ารกระชบั ความรว่ มมอื ระหวา่ ง สมาชิกเพ่ิมมากขึ้น โดยเปน็ การพยายามรวมตลาดของประเทศสมาชกิ เป็นตลาดเดยี ว การอนญุ าตให้ทุน วัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยตี ่างๆ สามารถเคลื่อนยา้ ยได้อยา่ งเสรรี ะหว่างประเทศสมาชกิ เพ่ือใช้เปน็ ปัจจยั ในการผลติ รว่ มกัน การรวมกลมุ่ แบบสหภาพเศรษฐกจิ (Economic Unions) ประเทศสมาชกิ จะมีการกาหนดนโยบายทางเศรษฐกจิ ร่วมกนั ทัง้ ด้านนโยบายการเงนิ การคลัง การขนส่ง ระหวา่ งประเทศ กาหนดนโยบายการค้าเสรตี อ่ กันโดยไมเ่ กบ็ ภาษนี าเขา้ เปดิ โอกาสให้มกี ารเคลือ่ นย้ายทนุ ระหวา่ งประเทศ สมาชิกไดอ้ ย่างเสรี นอกจากนีย้ ังมกี ารใชเ้ งินสกุลเดยี วกัน การรวมกลมุ่ แบบสหภาพเหนอื ชาติ (Supranational Union) จัดเปน็ ข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกิจ กลา่ วคอื ประเทศสมาชกิ จะมีนโยบายเป็นหนึง่ เดียว มี การรวมกลุ่มในทุกๆ ด้าน
การรวมกล่มุ ทางเศรษฐกจิ ระหว่างประเทศในภมู ิภาคต่างๆ กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี ยโุ รปทส่ี าคญั สหภาพยุโรป เป็นการรวมตวั กนั ของประเทศในทวปี ยุโรป เพื่อมุง่ ขจัดอปุ สรรคทางการคา้ ระหวา่ งกนั ยกระดบั การดารงชีวิตของชาวยโุ รป ใชน้ โยบายเศรษฐกิจรว่ มกัน สมาคมการคา้ เสรยี ุโรป มวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื เปิดเสรที างการค้า การเคลอื่ นยา้ ยสินคา้ เสรีโดยมีภาคบรกิ ารเป็น สว่ นสาคัญ กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี เอเชยี เอเปก เปน็ การรวมกลมุ่ เพ่ือส่งเสรมิ ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการคา้ ในภูมภิ าคเอเชียและแปซฟิ ิก อาเซยี น เปน็ การรวมกลมุ่ ประเทศในภูมภิ าคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ เพื่อสง่ เสรมิ การคา้ และการลงทุนระหวา่ ง กัน ลดภาษีทางการค้า นอกจากน้ียงั ร่วมมอื กันทางสงั คมและวัฒนธรรมดว้ ย กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ในทวปี อเมรกิ าเหนอื เขตการคา้ เสรอี เมริกาเหนือ เปน็ การรวมกลุ่มเพอ่ื ขจดั อปุ สรรคทางการค้าและบรกิ ารระหว่างประเทศภาคี ขยาย โอกาสลงทนุ แกไ้ ขข้อพิพาททางการค้าระหว่างสมาชิก และคมุ้ ครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญา กลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ทม่ี สี มาชกิ อยู่ในทกุ ทวปี กล่มุ ประเทศทมี่ ีพฒั นาการทางเศรษฐกจิ อยา่ งรวดเรว็ เป็นกลมุ่ ท่มี ีการรว่ มมอื ดา้ นเศรษฐกิจการเมอื ง และอนื่ ๆ เชน่ ความมั่นคงทางอาหารและพลงั งาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การก่อสร้างโครงสร้างพนื้ ฐาน องคก์ ารการคา้ โลก เปน็ องค์การความตกลงทว่ั ไปวา่ ด้วยพกิ ัดอัตราภาษีศลุ กากรและการคา้ เพือ่ ให้เกดิ การค้าเสรี โดยการลดภาษศี ลุ กากรต่อกันของประเทศสมาชิก ป้องกนั การกดี กันทางการคา้ และการละเมดิ ทรพั ย์สินทาง ปัญญาของประเทศสมาชิก โอเปก เป็นการรวมกลมุ่ ของประเทศผูส้ ง่ ออกนา้ มนั เพื่อร่วมกนั สร้างเสถยี รภาพของปรมิ าณและราคานามันของ โลกให้มัน่ คง
ใบงานท่ี 7 รายวชิ า ส.๒๒o๗๑ สงั คมศกึ ษา ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๓ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๔ การคา้ และการลงทนุ ระหวา่ งประเทศ(การรว่ มกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ) ตวั ชว้ี ดั ท่ี ส.๓.๒ ม.๓/๓ อภปิ รายบทบาทความสาคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ ส.๓.๑ ม.๓/๖ วเิ คราะหส์ าเหตแุ ละวธิ กี ารกดี กนั ทางการคา้ ในการคา้ ระหวา่ งประเทศ นกั เรียนวเิ คราะห์ความสาคัญของการรวมกล่มุ ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศลงในแผนภาพความคิด ........................................................................................................... ................................................................................................. ........................................................................................................... .................................................................................................. ........................................................................................................... .................................................................................................. ความสาคญั ของ การรวมกลมุ่ ระหว่าง ประเทศ ........................................................................................................... ................................................................................................. ........................................................................................................... ................................................................................................. ........................................................................................................... ................................................................................................. ใหน้ ักเรียนอา่ นขอ้ ความท่ีกาหนดใหแ้ ล้วนาชอ่ื กลมุ่ เศรษฐกจิ ทก่ี าหนดให้มาเตมิ ลงในชอ่ งว่างใหส้ มั พนั ธ์กัน
APEC ASEAN AFTA BRICS EU OPEC EFTA 1.กลุม่ เศรษฐกจิ ท่มี ีพนื้ ทีร่ วมกันมากกว่า 1 ใน 4 ของโลก ประกอบดว้ ยประเทศ บราซลิ รสั เซยี อินเดีย จนี และ แอฟรกิ าใต.้ ......................................................................... 2.เปน็ การรวมกลุ่มกันทางเศรษฐกจิ ระดบั ภูมภิ าค โดยมอี อสเตรเลยี เปน็ ผูร้ ิเรมิ่ ในการกอ่ ตั้ง......................................... 3.ประกอบดว้ ยสมาชิก 10 ประเทศ มีสานักงานใหญต่ ้งั อยู่ทีก่ รุงจาการต์ าประเทศอินโดนเี ซยี .......................................... 4.ประเทศไทยมีบทบาทสาคญั ในการประกาศเจตนารมณ์เพอื่ ร่วมมือกันจดั ตัง้ ................................................. 5.เปน็ กลุ่มเศรษฐกจิ ที่เกดิ ข้นึ ภายหลังจากประเทศสมาชกิ ของประชาคมยุโรปไดร้ ว่ มมอื กันลงนามในสนธิสัญญามาสทรชิ ต์ ............................................................. 6.ใน พ.ศ. 2546 ประเทศไทยได้รับเกียรตใิ หเ้ ป็นเจ้าภาพการจัดประชุมระดบั รฐั มนตรแี ละผู้นาทางเศรษฐกจิ ..................................................................... 7.เขตการคา้ เสรีของกลมุ่ ประเทศสมาชิกอาเซยี น เพ่อื ส่งเสริมการคา้ เสรีในอาเซียนเสรมิ สรา้ งอานาจการต่อรองและเพ่มิ ศกั ยภาพด้านการผลติ ของประเทศสมาชกิ ..................................... 8.กล่มุ ประเทศทแี่ สดงถงึ การย้ายฐานอานาจเศรษฐกิจโลกจากกลุ่มประเทศพฒั นาแล้วมาสปู่ ระเทศกาลงั พัฒนา ............................ 9.กลุ่มทางเศรษฐกจิ ที่มคี วามมัน่ คงและเข้มแขง็ ท่สี ดุ ในโลก................................... 10.มงุ่ สกู่ ารเปน็ ประชาคมเศรษฐกจิ ใน พ.ศ. 2558 เพื่อเปน็ เขตการผลติ เดยี วตลาดเดียว และสรา้ งขีดความสามารถใน การแขง่ ขนั ............................................... 11.กลุ่มประเทศทม่ี ีความม่งั ค่ังจากการเปน็ ผผู้ ลิตน้ามนั รายใหญ่ของโลก................................. 12.วตั ถปุ ระสงคใ์ นการกอ่ ตง้ั เพอ่ื เปน็ การส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ทางดา้ นตา่ งๆเชน่ ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สนั ติภาพ ฯลฯ............................................... 13.มีการจัดตัง้ กรอบความรว่ มมอื 3 เสาหลกั คอื ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงประชาคมเศรษฐกิจและประชาคม สงั คมและวฒั นธรรม..................................... 14.กลมุ่ เศรษฐกิจท่ีเอ้ือต่อการขยายตวั ทางเศรษฐกิจในลักษณะสง่ เสรมิ กันเนอ่ื งจากการมีทรัพยากรสมบูรณ์และเป็น ศนู ย์กลางการผลิตและบรโิ ภคของโลก................................................ 15.เขตการค้าเสรใี นยุโรป เพื่อส่งเสรมิ การคา้ ใหเ้ ปน็ การค้าเสรใี นประเทศสมาชิก........................
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 6 เคร่ืองมอื ทางภูมศิ าสตร์ จานวน 5 คาบ เร่ือง เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ท่คี วรรู้ ครูผูส้ อน นางมณฑริ า จินดารัตน์ --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้ีวดั ส 3.1 ม.3/1 ใช้เคร่ืองมือทางภูมศิ าสตรใ์ นการรวบรวม วเิ คราะห์ และนาเสนอข้อมลู เก่ียวกับลักษณะ ทางกายภาพและสังคมของทวปี อเมรกิ าเหนือและอเมริกาใต้ 2. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด การใช้เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ในการรวบรวม วิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูลเกย่ี วกบั ลักษณะทางกายภาพ และสงั คมของทวปี อเมรกิ าเหนอื และอเมริกาใตน้ น้ั จะต้องร้จู กั เลอื กใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ลักษณะข้อมูล และสามารถ ใช้เคร่อื งมือทางภูมศิ าสตร์หลากหลายผสมกัน 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง - เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ทีแ่ สดงลกั ษณะทางกายภาพและสังคมของทวปี อเมรกิ าเหนือและ อเมรกิ าใต้ 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายความหมายของเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (K) 2. ใช้เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์วเิ คราะห์และนาเสนอข้อมลู เกีย่ วกบั ลักษณะภูมปิ ระเทศของ ทวีปอเมรกิ าเหนือและทวปี อเมรกิ าใต้ (P) 3. เห็นประโยชนแ์ ละความสาคัญของเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ (A) 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการสารวจคน้ หา 2) ทักษะการรวบรวมขอ้ มลู 3) ทกั ษะการวิเคราะห์ 4) ทกั ษะการสังเคราะห์ 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเุ รียนรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทางาน
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ วธิ ีการจดั การเรยี นการสอนแบบรว่ มมือรปู แบบจ.ี ไอ (G.I) กจิ กรรมการเรียนการสอนคาบที่ 1 ขน้ั ที่ 1 ขน้ั เตรียมการ 1. นกั เรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน ครูใหเ้ วลาทา 20 นาที 2. ให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครถู ามคาถามทา้ ทาย ดังน้ี ถ้านักเรยี นตอ้ งการทราบลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศของสถานท่ีต่าง ๆ แต่ไมต่ ้องการ เดินทางไปศึกษายังสถานที่จริง นักเรียนจะมีวิธีศึกษาด้วยวิธีใดบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ศึกษาจากแผนท่ีแสดงข้อมูล ทางภูมปิ ระเทศของสถานทท่ี ่สี นใจ) ขัน้ ท่ี 2 ขนั้ จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 3. ครูนาแผนท่มี าให้นักเรียนดู จากนั้นให้นักเรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ โดยถามคาถาม ดงั นี้ สิ่งทีน่ กั เรยี นเห็นอยนู่ ี้ คืออะไร (ตวั อยา่ งคาตอบ แผนทภี่ ูมปิ ระเทศ) แผนที่มีประโยชน์อย่างไร (ตวั อยา่ งคาตอบ ใชว้ างแผนการเดินทาง) ในแผนที่นี้บอกข้อมูลอะไรบา้ ง (ตวั อยา่ งคาตอบ ตาแหน่งของสถานทที่ ี่ตอ้ งการไป) นกั เรียนเคยใชแ้ ผนทีห่ รอื ไม่ (ตัวอย่างคาตอบ เคย) นกั เรียนเคยใช้แผนที่เพ่ือประโยชน์อะไร (ตัวอยา่ งคาตอบ เพ่ือวางแผนการเดนิ ทาง ทอ่ งเทยี่ ว) แผนทท่ี ี่นกั เรียนเคยใชเ้ ปน็ แผนทีอ่ ะไร (ตวั อย่างคาตอบ แผนท่ีการเดินทางทอ่ งเที่ยว ของประเทศไทย) 4. นักเรียนอธิบายความหมายของแผนท่ีตามความเข้าใจของตนเอง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุ ป ความหมายของแผนท่ที ่ถี ูกต้อง ข้นั ท่ี 3 ข้นั ทากจิ กรรม 6. นักเรียนศึกษาความหมายของแผนที่อ้างอิง หรือแผนที่ท่ัวไป (General maps) จากหนังสือเรียน จากนั้น ให้นักเรียนแต่ละคนไปสืบค้นหาภาพตัวอย่างแผนท่ีภูมิประเทศของประเทศในทวีปอเมริกาเหนือและทวีป อเมรกิ าใต้ คนละ 1 ประเทศ ห้ามซา้ กัน ข้ันท่ี 4 ข้ันตรวจสอบผลงานและทดสอบ 7. นาภาพตวั อย่างแผนทภี่ ูมิประเทศของประเทศในทวปี อเมริกาเหนือและทวปี อเมริกาใต้ทีแ่ ต่ละคนสืบค้นมาได้ มานาเสนอหน้าช้ันเรียน ร่วมกันอภิปรายเพ่ืออธิบายลักษณะภมู ิประเทศของแต่ละประเทศ ขนั้ ท่ี 5 ขั้นสรปุ บทเรียนและประเมินผล 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ แผนที่ คือ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ท่ีแสดงลักษณะของส่ิงต่าง ๆ ท่ี ปรากฏข้ึนบนพ้ืนผิวโลก ทั้งที่มีอยู่ตามธรรมชาติและท่ีมนุษย์สร้างขึ้น โดยการย่อส่วนให้เล็กลงบนพื้นท่ีราบตาม ขนาดท่ีต้องการ โดยแสดงเคร่ืองหมายและสัญลักษณ์ท่ีกาหนดขึ้น พร้อมท้ังกาหนดค่าพิกัดทางภูมิศาสตร์ มาตรา สว่ นและเครือ่ งหมายบอกทิศทาง แผนที่อ้างอิงหรือแผนท่ีท่ัวไป (General maps) หมายถึง แผนท่ีที่ใช้เป็นพ้ืนฐานท่ัว ๆ ไป ใช้ในการศึกษา และอ้างอิงข้อมูล ไดแ้ ก่ แผนท่ีภูมิประเทศ (Topographic Map) เป็นแผนท่ีท่ีแสดงรายละเอียดของพื้นผิวโลก โดย ใช้เส้นช้ันความสูงจากระดับทะเลปานกลาง ในปัจจุบันมีการนาภาพถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมมา ประยุกต์ใช้ร่วมกับการทาแผนท่ี รวมถึงโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันสามารถช่วยให้การผลิตและแก้ไขแผนท่ีมี
ความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย และมีความถูกต้องมากขึ้น ภาพที่แสดงออกมาเสมือนจริง มีความสูง ต่า ลึก นูน ใน รูปแบบภาพสามมิติ กจิ กรรมการเรียนการสอนคาบท่ี 2 ข้นั ท่ี 1 ขนั้ เตรียมการ 1. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูถามคาถามทา้ ทาย ดงั น้ี ในแผนที่ 1 แผน่ ตอ้ งประกอบดว้ ยองค์ประกอบใดบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ ชื่อแผนท่ี มาตราส่วน ฯลฯ) ขน้ั ท่ี 2 ข้ันจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2. นักเรียนศึกษาแผนที่ประเภทต่างๆ อภิปรายเปรียบเทียบความเหมือนและความต่างของแผนท่ีแต่ละ ประเภท โดยถามคาถาม ดังน้ี แผนทีแ่ ต่ละประเภทมีอะไรท่เี หมอื นกันบา้ ง (ตัวอยา่ งคาตอบ องคป์ ระกอบหลักของ แผนทเี่ หมอื นกัน เชน่ ชื่อแผนท่ี มาตราสว่ น) แผนทแ่ี ต่ละประเภทมอี ะไรทแี่ ตกต่างกนั บา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ ขอ้ มูลที่แสดงในแผน ท่ีมคี วามแตกต่างกนั น้นั อยู่กบั ประเภทของแผนที่) นักเรียนคดิ ว่าในแผนทแี่ ต่ละประเภทต้องมีองค์ประกอบหลักอะไรบา้ ง (ใหน้ กั เรียนศึกษาแผนท่ี แตล่ ะประเภทแล้วอธิบายองค์ประกอบที่แผนทแ่ี ตล่ ะประเภทมีเหมอื นกนั ) (ตวั อยา่ งคาตอบ องค์ประกอบหลกั ของแผนท่ี ประกอบดว้ ย 3 สว่ น คือ เส้นกรอบแผนท่ี องคป์ ระกอบภายนอก กรอบแผนท่ี และองค์ประกอบภายในกรอบแผนท่ี) ข้ันที่ 3 ขั้นทากิจกรรม 3. นกั เรียนศึกษา องคป์ ระกอบของแผนที่ หมายถึง ส่ิงต่าง ๆท่ปี รากฏบนแผน่ แผนท่ี แสดงไว้เพ่ือให้ผู้ใช้ แผนที่ไดท้ ราบข้อมลู และรายละเอยี ดอย่างเพียงพอสาหรบั การอ่านและการใชแ้ ผนที่ได้อย่างถกู ต้องและสะดวก รวดเรว็ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ เสน้ กรอบแผนที่ องค์ประกอบภายนอกกรอบแผนที่ และองคป์ ระกอบภายใน กรอบแผนที่ 5. ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายว่าเหตใุ ดเราจงึ ต้องเรยี นรู้เกีย่ วกับองคป์ ระกอบของแผนทแ่ี ละนกั เรยี นจะนา ความรู้เรอ่ื งองค์ประกอบของแผนท่ไี ปใช้ประโยชนอ์ ะไร ขัน้ ที่ 4 ขัน้ ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 6. นกั เรยี นทาใบงานเร่ือง องค์ประกอบของแผนท่ี สง่ ภายในคาบ ขั้นท่ี 5 ข้นั สรุปบทเรียนและประเมินผล 7. นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี องค์ประกอบของแผนที่ หมายถงึ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทปี่ รากฏบนแผ่น แผนที่ แสดงไว้เพอ่ื ให้ผใู้ ช้แผนที่ไดท้ ราบขอ้ มลู และรายละเอยี ดอยา่ งเพียงพอสาหรบั การอ่านและการใช้แผนที่ได้ อย่างถูกต้องและสะดวกรวดเร็ว ประกอบดว้ ย 3 สว่ น คอื เส้นกรอบแผนท่ี องคป์ ระกอบภายนอกกรอบแผนที่ และ องคป์ ระกอบภายในกรอบแผนท่ี กิจกรรมการเรียนการสอนคาบท่ี 3 ข้นั ท่ี 1 ขั้นเตรยี มการ 1. ให้นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครถู ามคาถามท้าทาย ดงั น้ี นกั เรียนรจู้ ักรีโมตเซนซงิ หรอื ไม่ นักเรียนคดิ วา่ รีโมตเซนซิง คอื อะไร (ตัวอย่างคาตอบ รูจ้ ักคะ่ เป็นเครื่องมอื ทใี่ ช้ในการสารวจข้อมลู ระยะไกล)
ข้นั ที่ 2 ขั้นจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ใหน้ ักเรียนทบทวนความร้เู กี่ยวกบั แผนที่ โดยครถู ามคาถาม ดงั นี้ แผนทม่ี ีก่ปี ระเภท อะไรบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ แผนท่มี ี 3 ประเภท คอื 1. แผนทอี่ ้างอิง 2. แผนทเ่ี ฉพาะเรื่อง และ 3. แผนทเ่ี ลม่ หรอื แอตลาส) องค์ประกอบของแผนท่มี ีอะไรบ้าง (ตวั อย่างคาตอบ 1. เส้นกรอบแผนท่ี 2. องคป์ ระกอบภายนอกกรอบแผนท่ี 3.องค์ประกอบภายในกรอบแผนท)่ี แผนท่ีมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (ตัวอยา่ งคาตอบ เชน่ แผนท่มี ปี ระโยชน์ในดา้ นของการ วางแผนพฒั นา ปูองกันประเทศ) ข้ันที่ 3 ขัน้ ทากิจกรรม 3. นักเรียนศกึ ษาเครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์ นอกจากแผนที่แล้ว ยังมีเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์อีกหลายอย่างท่ี ใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกบั ลักษณะทางกายภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อมภายในโลก 1 ในเครื่องมือเหล่านั้น คือ รโี มตเซนซงิ (Remote Sensing) ให้นักเรยี นรว่ มกนั อภปิ รายวา่ รจู้ กั รโี มตเซนซงิ หรือไม่ รโี มตเซนซงิ คืออะไร 4. นักเรียนศกึ ษา รีโมตเซนซงิ หรอื การสารวจข้อมลู จากระยะไกล คือ การรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับวัตถุ หรือ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ โดยไม่มีการสัมผัสวัตถุนั้น เป็นการบันทึกข้อมูลจากการสะท้อนแสงหรือการแผ่รังสีพลังงาน แม่เหลก็ ไฟฟูา โดยเครอื่ งวัดหรืออุปกรณบ์ ันทึกทตี่ ิดอยกู่ ับยานสารวจ เชน่ เคร่อื งบิน ดาวเทยี ม 5. นักเรียนศึกษากระบวนการทางานของรีโมตเซนซิงให้นักเรียนฟัง ให้นักเรียนดูภาพตามในหนังสือเรียน ภมู ศิ าสตร์ แผนภาพแสดงกระบวนการทางานของรีโมตเซนซิง 6. นักเรียนดูภาพถ่ายทางอากาศและเปรียบเทียบข้อแตกต่างของแผนท่ีกับรูปถ่ายทางอากาศ โดยครูถาม คาถาม ดังนี้ รูปถ่ายทางอากาศแตกตา่ งจากแผนทอี่ ย่างไรบา้ ง (ตวั อยา่ งคาตอบ ภาพถา่ ยทาง อากาศจะปรากฏรายละเอยี ดเก่ียวกบั พื้นท่ี เช่น ภาพของตึก ภาพของแม่น้า ส่วนแผนที่จะย่อส่วนของสิ่งต่าง ๆ บน พืน้ ผิวโลก แทนดว้ ยสญั ลกั ษณ์) นกั เรยี นคิดว่าระหว่างแผนที่กบั รปู ถา่ ยทางอากาศสิ่งไหนมีความละเอียดมากกวา่ กัน
(ตวั อยา่ งคาตอบ รปู ถา่ ยทางอากาศ) นักเรียนคิดวา่ รปู ถา่ ยทางอากาศไดม้ าอย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ การนากล้องขึน้ ไปติด กับเครอื่ งบนิ บอลลูน ทบี่ นิ เหนือภูมปิ ระเทศจริงแลว้ ทาการถ่ายรูปตามตาแหนง่ ที่ต้องการ) 7. นักเรียนศึกษาความหมาย และประเภทของรูปถ่ายทางอากาศ จากหนังสือเรียน จากน้ันร่วมกันสรุป ความรู้ลงในสมดุ ขั้นที่ 4 ขนั้ ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 8. นกั เรียนทาใบงาน ภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม ขนั้ ที่ 5 ขั้นสรุปบทเรยี นและประเมนิ ผล 9. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังน้ี รูปถ่ายทางอากาศ เป็นรูปถ่ายโดยใช้กล้องติดไปกับเครื่องบิน หรืออากาศยานท่ีบินอยู่เหนือภูมิประเทศจริง แล้วทาการถ่ายรูป ลักษณะของวัตถุที่ปรากฏในรูปถ่าย จะแสดงให้ เห็นรายละเอยี ดในพนื้ ท่ีเปน็ บริเวณกวา้ งทาใหส้ ามารถศึกษาข้อมลู ในภูมปิ ระเทศจริงได้ กจิ กรรมการเรียนการสอนคาบที่ 4 ขั้นท่ี 1 ข้ันเตรียมการ 1. นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เห็น โดยครูถามคาถามทา้ ทาย ดงั นี้ นกั เรยี นรจู้ ักจไี อเอสหรือไม่ จไี อเอสคอื อะไร (ตวั อยา่ งคาตอบ รู้จกั คะ่ GIS คอื เครือ่ งมอื ท่ีใชร้ วบรวมข้อมลู วิเคราะห์ แสดงผลให้เหน็ ความสัมพนั ธ์เชิงพน้ื ทีข่ องข้อมูล) ขน้ั ที่ 2 ขั้นจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 2. นักเรียนศึกษา จีไอเอส (GIS) ย่อมาจาก Geographic Information System ซ่ึงแปลเป็นภาษาไทยได้ ว่า ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือ เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ช่วยในการนาเข้าข้อมูล จัดเก็บ วิเคราะห์และแสดงผลการวิเคราะห์ รวมท้ังสามารถสืบค้นเพื่อปรับปรุงแก้ไขและ นาเสนอขอ้ มูล โดยแสดงให้เห็นมิติและความสมั พนั ธ์เชิงพ้ืนทข่ี องข้อมูล ข้นั ที่ 3 ขนั้ ทากจิ กรรม 3. นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายแสดงความคดิ เห็นว่า ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ มีองคป์ ระกอบอะไรบ้าง 4. นักเรียนสรุปความคิดเห็นโดยการวาดแผนภาพ หรือนาภาพองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ภมู ศิ าสตรห์ รือจไี อเอส (GIS) ใหน้ กั เรยี นดดู ังภาพ แผนภาพแสดงองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์หรือจไี อเอส (GIS) 5. ใหน้ ักเรียนศึกษาองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ จากหนงั สอื เรียน ในหวั ขอ้ ตอ่ ไปน้ี 1. ข้อมลู หรือสารสนเทศ 4. กระบวนการวเิ คราะหห์ รอื ขั้นตอนการทางาน 2. ระบบฮาร์ดแวร์ 5. บุคลากร 3. ซอฟต์แวร์
6. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มไปสืบค้นข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จากอินเทอร์เน็ต จัดทาเป็นรูปเล่ม รายงานให้สวยงาม จากน้นั สง่ ตวั แทนออกมานาเสนอหน้าชน้ั เรียน ข้ันที่ 4 ขน้ั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 7. ให้นกั เรยี นรว่ มกนั บอกประโยชน์ของระบบสารสนเทศภมู ิศาสตร์ ข้ันที่ 5 ขัน้ สรุปบทเรียนและประเมนิ ผล 8. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ GIS เป็นกระบวนการทางาน เกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ท่ีใช้กาหนดข้อมูลและสารสนเทศท่ีมีความสัมพันธ์กับตาแหน่งใน เชิงพื้นท่ี GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศที่อยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กับข้อมูล เชงิ พน้ื ท่ี สามารถนามาใช้ศึกษาข้อมูลในพนื้ ที่ได้ เช่น การแพรร่ ะบาดของโรคระบาด การเปล่ยี นแปลงการใช้พนื้ ที่ กจิ กรรมการเรียนการสอนคาบท่ี 5 ข้ันที่ 1 ขน้ั เตรียมการ 1. ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครูถามคาถามท้าทาย ดังน้ี นกั เรียนร้จู กั จพี เี อสหรอื ไม่ จพี ีเอสคืออะไร แตกตา่ งจากจีไอเอสอย่างไร (ตวั อยา่ ง คาตอบ GPS คือ ระบบค้นหาพิกัดตาแหน่งบนพ้ืนผิวโลกด้วยสัญญาณดาวเทียม แตกต่างจาก GIS คือ GIS เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ท่ีใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการรวบรวมข้อมูล จัดเก็บ วิเคราะห์ แสดงผล ปรับป รุง แก้ไข นาเสนอในรูปของความสัมพนั ธเ์ ชิงพื้นที)่ ขั้นที่ 2 จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 2. ให้นักเรียนทบทวนความรู้เกี่ยวกับความหมายและองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ GIS 3. ให้นกั เรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับระบบกาหนดตาแหน่งบนโลกหรือจีพีเอส (GPS : Global Positioning System) โดยครถู ามคาถาม ดังนี้ นักเรยี นเคยไดย้ นิ คาว่า จพี เี อสหรอื ไม่ ถา้ เคย เคยไดย้ นิ ท่ไี หน (ตัวอยา่ งคาตอบ เคย ได้ยินท่บี า้ น) จีพีเอสคืออะไร และมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคาตอบ ระบบค้นหาพิกัดตาแหน่งบนพ้ืนผิวโลกด้วย ระบบดาวเทยี ม ใช้ประโยชนใ์ นการนาทางของยานพาหนะจากจดุ หนงึ่ ไปอกี จุดหน่งึ เช่น รถ เรอื ) ปัจจุบันจีพีเอส นามาใช้ประโยชน์ในลักษณะใด (ตัวอย่างคาตอบ นิยมนาจีพีเอสมาใช้ในการนาทางของ ยานพาหนะ) ข้ันที่ 3 ขน้ั ทากิจกรรม 4. นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นว่า องค์ประกอบของระบบกาหนดตาแหน่งบนโลกหรือจีพี เอส (GPS-Global Positioning System) มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง
แผนภาพแสดงองคป์ ระกอบของระบบจีพเี อส (GPS) 7. นักเรียนใช้ GPS ในการนาทางไปยังสถานท่ีต่างในวันหยุดสุดสัปดาห์น้ี แล้วแคปหน้าจอโทรศัพท์พิกัด สถานทน่ี ัน้ ๆ แลว้ ส่งมาใน Inbox ของครู ขนั้ ท่ี 4 ข้นั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 8. นกั เรียนทาใบงาน ระบบกาหนดตาแหน่งบนโลก GPS เป็นส่ิงท่ีใชร้ ะบตุ าแหน่งบนพื้นโลก โดยผู้ใช้ระบบ GPS จะต้องมีเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม โดย GPS จะสามารถนาไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้ ทาให้เกิดความสะดวก รวดเรว็ ขั้นที่ 5 ขน้ั สรุปบทเรยี นและประเมนิ ผล 9. นักเรยี นร่วมกันสรุปความรู้ ดงั น้ี ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือ GIS เป็นกระบวนการทางานเก่ียวกับ ข้อมลู ในเชิงพื้นที่ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้กาหนดข้อมูลและสารสนเทศที่มีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิงพ้ืนที่ GIS เป็นระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีอยู่ในรูปของตารางข้อมูล และฐานข้อมูลท่ีมีความสัมพันธ์กับข้อมูล เชิงพื้นที่ สามารถนามาใชศ้ กึ ษาขอ้ มูลในพื้นที่ได้ เช่น การแพรร่ ะบาดของโรคระบาด การเปลีย่ นแปลงการใชพ้ ื้นท่ี กิจกรรมการเรียนการสอนคาบที่ 6 ขน้ั ท่ี 1 ขนั้ เตรยี มการ 1. ใหน้ กั เรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครูถามคาถามท้าทาย ดงั นี้ นกั เรยี นคิดวา่ เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ชนิดใดทใี่ หข้ อ้ มลู ละเอยี ดครบถว้ นมากที่สดุ (ตวั อยา่ งคาตอบ ภาพจากดาวเทียม) ข้ันท่ี 2 ขั้นจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 2. ใหน้ ักเรยี นทบทวนความรูเ้ กี่ยวกับเครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตร์ โดยครถู ามคาถามดงั นี้ เครื่องมอื ทางภมู ศิ าสตรม์ ีกป่ี ระเภท อะไรบา้ ง (ตัวอย่างคาตอบ มี 2 ประเภท คือ 1. เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตรป์ ระเภทให้ขอ้ มูล และ 2. เครื่องมือทางภูมิศาสตรป์ ระเภทใชห้ าข้อมลู ) เครื่องมอื ทางภูมศิ าสตร์แตล่ ะประเภทให้ข้อมูลท่ีแตกต่างกนั อย่างไรบ้าง (ตัวอย่างคาตอบ 1. เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ประเภทให้ข้อมูล จะแสดงข้อมูลในลักษณะของข้อความ ตัวเลข และ รปู ภาพ 2. เคร่อื งมอื ทางภมู ศิ าสตร์ประเภทใชห้ าข้อมูล จะแสดงการบอกทศิ ทาง ใชว้ ดั ระยะทาง ความสูง)
ขน้ั ท่ี 3 ขัน้ ทากิจกรรม ถา้ ให้นกั เรยี นเลือกศกึ ษาขอ้ มูลทางกายภาพของทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกา ใต้ นกั เรียนจะเลือกใช้เครื่องมอื ชนดิ ใด (ตวั อยา่ งคาตอบ เลือกใช้แผนทเ่ี ลม่ หรือแอตลาส) 3. นักเรยี นอ่านเพือ่ ทบทวนความรู้แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ ภาพถา่ ยดาวเทยี ม GIS และ GPS ขน้ั ท่ี 4 ข้นั ตรวจสอบผลงานและทดสอบ 4. นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื ง การใช้ประโยชนจ์ ากเครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ ขั้นท่ี 5 สรปุ บทเรยี นและประเมินผล 5. นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ ดังน้ี เคร่ืองมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์เป็นเคร่ืองมือสาคัญที่ใช้ ในการศึกษาเก่ียวกบั ลกั ษณะทางกายภาพและลกั ษณะทางสงั คมของประชากรในภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น ครูให้เวลาทา 20 นาที 8. การวัดและการประเมินผล 8.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรื่อง เครอ่ื งมือทางภมู ิศาสตร์ 8.2 การประเมนิ ระหว่างการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 1) ตรวจใบงานที่ 1.1 เร่ือง เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ 2) ตรวจใบงานท่ี 1.2 เรอ่ื ง การสืบค้นลักษณะทางกายภาพของทวีปอเมรกิ าเหนือ 3) ตรวจใบงานท่ี 1.3 เรื่อง การสบื คน้ ลักษณะทางสังคมของทวีปอเมรกิ าเหนือ 4) ตรวจใบงานที่ 1.4 เร่อื ง การสืบค้นลกั ษณะทางกายภาพของทวีปอเมริกาใต้ 5) ตรวจใบงานท่ี 1.5 เรื่อง การสืบคน้ ลักษณะทางสงั คมของทวีปอเมริกาใต้ 6) ตรวจใบงานท่ี 1.6 เรอื่ ง การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบแผนที่ 7) ตรวจใบงานท่ี 1.7 เรอ่ื ง การนาเสนอข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์แบบกราฟ 8) ตรวจใบงานที่ 1.8 เรื่อง การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบแผนภูมิ 9) ตรวจใบงานที่ 1.9 เรอ่ื ง การนาเสนอข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์แบบกราฟิก 10) ตรวจแบบบันทึกการอา่ น 11) ประเมินการนาเสนอผลงาน 12) สงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล 13) สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ 14) สงั เกตคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 8.3 การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 เร่ือง เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ 8.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ตรวจรายงานการนาเสนอขอ้ มลู ทางภมู ิศาสตร์ 9. สื่อ/แหลง่ การเรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สือเรยี น ภมู ศิ าสตร์ ม.3 2) หนงั สือค้นคว้าเพมิ่ เติม - กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ. (2545). โลกของเรา. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน.์ 3) เครื่องมือทางภมู ศิ าสตร์ เชน่ ลูกโลก แผนที่ 4) ตวั อยา่ งขา่ ว
5) บตั รภาพ 6) ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง เคร่อื งมือทางภูมิศาสตร์ 7) ใบงานท่ี 1.2 เร่อื ง การสืบค้นลกั ษณะทางกายภาพของทวปี อเมริกาเหนอื 8) ใบงานที่ 1.3 เรื่อง การสบื คน้ ลักษณะทางสงั คมของทวีปอเมริกาเหนือ 9) ใบงานที่ 1.4 เรอ่ื ง การสบื ค้นลักษณะทางกายภาพของทวปี อเมรกิ าใต้ 10) ใบงานท่ี 1.5 เรอ่ื ง การสืบคน้ ลักษณะทางสังคมของทวีปอเมริกาใต้ 11) ใบงานท่ี 1.6 เรือ่ ง การนาเสนอข้อมลู ทางภมู ิศาสตรแ์ บบแผนท่ี 12) ใบงานที่ 1.7 เรอ่ื ง การนาเสนอข้อมูลทางภมู ิศาสตรแ์ บบกราฟ 13) ใบงานท่ี 1.8 เรอ่ื ง การนาเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์แบบแผนภมู ิ 14) ใบงานท่ี 1.9 เรื่อง การนาเสนอข้อมลู ทางภมู ิศาสตรแ์ บบกราฟกิ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ - http://jakkrit-geography1.blogspot.com/2010/07/2.html - http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=2106 - http://www.thaigoodview.com/node/16670 - http://tcmengrai.ac.th/punnapa/social/เครือ่ งมือ.htm
แบบประเมินผล ม.3/3 ม.3/4 ม.3/8 ผา่ น ไม่ผ่าน ผา่ น ไมผ่ ่าน ผ่าน ไม่ผ่าน ผลการจดั การเรียนรู้ คน % คน % คน % คน % คน % คน % 1. ด้านความรู้ 1. อธบิ าย ความหมายของแผนที่ และลักษณะท่ัวไปของ แผนท่ีอา้ งอิงหรือแผนท่ี ทว่ั ไป (K) 2. ดา้ นทักษะ 2. ใชแ้ ผนทอ่ี ้างอิงหรือ แผนท่ีทวั่ ไปวิเคราะห์ และนาเสนอข้อมูล เก่ียวกับลกั ษณะภมู ิ ประเทศของ ทวีปอเมริกาเหนือและ ทวปี อเมรกิ าใต้ (P) 3. ดา้ นคณุ ลักษณะฯ 3. เห็นประโยชนแ์ ละ ความสาคัญของแผนท่ี (A)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171