๕) อบรมค่ายคดั เลอื กโดย สสวท. ๖) ได้ผูแ้ ทนประเทศไทยเขา้ ร่วมโอลมิ ปกิ วิชาการนานาชาติ ศูนย์โรงเรียนโอลิมปิกวิชาการ สอวน. ค่าย ๑ วิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัด ยะลา มีมหาวิทยาลัยสงขลนครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เป็นมหาวิทยาลัยพ่ีเลี้ยง และมีพื้นท่ีรับผิดชอบ ประกอบด้วยนักเรยี นทม่ี าจากจังหวดั พัทลุง สตลู นราธวิ าส ปตั ตานีและยะลา สาหรบั ค่าย ๑ สอวน. ปี ๒๕๖๒ น้ันจะต้องดาเนินควบคู่กับมหาวิทยาลัยพ่ีเลี้ยง ส่วนค่าย ๑ สอวน. ปี ๒๕๖๓ เป็นต้นไปจะไม่มีมหาวิทยาลัยพี่ เลีย้ งมาดาเนนิ การจดั ค่ายพรอ้ มกับโรงเรยี นแลว้ แต่จะขยายผลไปยังโรงเรียนซ่ึงได้แก่โรงเรียนพิมานพิทยสรรค์ จงั หวัดสตูล ดาเนินการแทน และมีพน้ื ท่รี บั ผิดชอบเช่นเดิมซึ่งประกอบด้วยนักเรียนที่มาจากจังหวัดพัทลุง สตูล นราธิวาส ปัตตานีและยะลา และทาง สพฐ. ได้อบรมเตรียมความพร้อมให้กับวิทยากรของโรงเรียนพิมานพิทย สรรค์ไปแล้วจานวน ๕ คน และในช่วงอมรบค่าย ๑ สอวน.ปี ๒๕๖๒ นี้ทาง สพฐ.ให้วิทยากรดังกล่าวมา สังเกตการณ์ดาเนนิ จดั คา่ ย ๑ ส่วนงบประมาณท่ีได้รับการจัดสรรศูนย์โอลิมปิกวิชาการ สอวน. ค่าย ๑ วิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียน คณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ มีรายละเอยี ดดงั น้ี ๑) งบกลาง จานวน ๕๐,๐๐๐ บาท ๑.๑) ค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ทีเ่ ก่ียวกบั การจัดค่าย จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท ๑.๒) คา่ ใชจ้ ่ายในการประชุมกบั ศนู ย์พี่เลี้ยง และ ค่าใช้จ่ายไปสังเกตการณ์ระดับชาติ จานวน ๓๐,๐๐๐ บาท ๒) ค่าใชจ้ ่ายผู้รบั ผดิ ชอบการดาเนนิ งาน จานวน ๑๔,๐๐๐ บาท ๒.๑) ประธานศนู ย์และรองประธานศนู ย์ (เหมาจา่ ย) จานวน ๘,๐๐๐ บาท ๒.๒) ผปู้ ระสานงาน (เหมาจา่ ย) จานวน ๓,๐๐๐ บาท ๒.๓) การเงนิ (เหมาจ่าย) จานวน ๓,๐๐๐ บาท ๓) งบเขา้ ค่าย จานวน ๔๗๑,๐๐๐ บาท ๓.๑) ค่าใชจ้ ่าย (ค่าอาหาร ท่พี กั และเดนิ ทาง) จานวน ๓๗๘,๐๐๐ บาท ๓.๒) คา่ ยวทิ ยากร จานวน ๖๓,๐๐๐ บาท ๓.๓) คา่ ยวิทยากรผชู้ ่วย จานวน ๒๐,๐๐๐ บาท ๓.๔) ค่าวัสดอุ ื่น ๆ จานวน ๑๐,๐๐๐ บาท รวมท้งั หมด จานวน ๕๓๕,๐๐๐ บาท เอกสารท่ีไดร้ ับ ๑) เอกสารการจดั สรรงบประมาณให้ศนู ยโ์ อลิมปิกวชิ าการ สอวน. คา่ ย ๑ จานวน ๑ แผ่น ๒) เอกสารการแขง่ ขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดบั ชาติฯ จานวน ๑ ชดุ ๒. ประโยชนท์ ีไ่ ด้รับ พัฒนางานให้มีคณุ ภาพและผลสัมฤทธยิ์ ่งิ ข้ึน พัฒนาตนเอง พัฒนาผเู้ รียน เพม่ิ พนู ประสบการณ์
ภาคผนวก
การแขง่ ขันคณติ ศาสตรโ์ อลิมปกิ ระดบั ชาติ (Thailand Mathematical Olympiad: TMO) การแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ จัดคร้ังแรก ในปี พ.ศ. 2547 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นการแข่งขันคณิตศาสตร์ระหว่างผู้แทนจากศูนย์ สอวน. ท่ัวประเทศ โดยเลียนแบบการ แขง่ ขนั คณติ ศาสตร์โอลมิ ปิกระหวา่ งประเทศ (International Mathematical Olympiad: IMO) คณะกรรมการฝ่ายวิชาคณิตศาสตร์ สอวน. ซ่ึงประกอบด้วย กรรมการสาขาคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. และ กรรมการจากศูนย์ สอวน. สาขาคณิตศาสตร์ทั่วประเทศ เป็นผู้กาหนดเน้อื หาหลักสตู รในการอบรมร่วมกันและในการ แข่งขนั ใช้มาตรฐานทีเ่ ทียบเคยี งกบั การแขง่ ขนั คณติ ศาสตรโ์ อลิมปิกระหว่างประเทศ รูปแบบการจดั การแขง่ ขัน จัดการสอบแข่งขันเป็น 2 วัน โดยที่ข้อสอบเป็นข้อสอบแบบอัตนัย จานวนวันละ 4 ถึง 6 ข้อ และใช้เวลาใน สอบวันละ 4 ช่ัวโมง 30 นาที ในแตล่ ะขอ้ มีคะแนนเต็ม 7 คะแนน หัวหน้าทีมแตล่ ะทีม มหี นา้ ท่ีสง่ โจทย์ที่ไดม้ าตรฐาน พร้อมเฉลยจานวนไม่น้อยกว่า 4 ข้อ ให้แก่กรรมการวิชาการกลางประจาการแข่งขัน เพ่ือคัดเลือก ปรับแก้ หรือออก เพิ่มเติม ใหไ้ ด้ขอ้ สอบจานวน 8 ถงึ 12 ข้อ สาหรบั การแขง่ ขนั หัวหน้าทีมต้องรักษาความลับของโจทย์ท่ีสง่ เขา้ ร่วมการ คัดเลือก ไม่ให้มีการเผยแพร่ หรือคัดลอก หัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม และ ผู้ช่วยหัวหน้าทีม ของแต่ละทีมมีหน้าที่ ตรวจขอ้ สอบ และอาจมโี อกาสได้ร่วมพิจารณาข้อสอบ ผลการแขง่ ขันจดั เป็น ระดบั เหรยี ญทอง เหรียญเงนิ และเหรยี ญทองแดง ในสัดส่วน 1 ตอ่ 2 ต่อ 3 โดยประมาณ และจานวนเหรียญทงั้ หมดไม่เกินกง่ึ หน่งึ ของจานวนผู้รว่ มการเข้าแขง่ ขนั * ผู้เข้าร่วมการแข่งขันที่มีคะแนนสูงสดุ อันดบั ท่ี 1 ถึงอันดับท่ี 20 แรกโดยประมาณ จะมีสิทธ์ิได้รับการคัดเลือก เข้าอบรมวิชาคณิตศาสตร์ ในโครงการจัดส่งผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศท่ีสถาบัน ส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ตอ่ ไป หัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม ผู้ช่วยหัวหน้าทีม และผู้แทนศูนย์ที่เข้าร่วมการแข่งขัน มีโอกาสได้ทัศนศึกษา เพื่อ เปิดโลกทศั นด์ ว้ ย อาจมกี ารเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ โดยกรรมการวิชาการกลางประจาการแข่งขนั หนา้ 1 ธรรมนญู และหลกั สตู รคณติ ศาสตร์โอลมิ ปิกระดับชาติ
ธรรมนูญการแขง่ ขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ (รบั รองโดยทป่ี ระชมุ คณะกรรมการสาขาคณิตศาสตร์ มลู นิธิ สอวน. ณ โรงแรมเบอรเ์ คลยี ์ ประตูนา้ กรงุ เทพมหานคร วันที่ 5 กรกฎาคม 2562) #1 มลู นธิ ิสง่ เสริมโอลิมปิกวชิ าการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตรศ์ ึกษา ในพระอปุ ถัมภส์ มเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) ตระหนักถึงความสาคัญของวิชาคณิตศาสตร์ที่มีต่อ การศกึ ษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทง้ั ตอ่ การศึกษาทว่ั ไปของเยาวชนไทย และดว้ ยวัตถุประสงค์ของมูลนิธิ ท่ีจะส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์ในประเทศไทยให้ทัดเทียมนานาประเทศ จึงได้จัดให้มีการแข่งขัน คณิตศาสตร์เป็นประจาทุกปี การแข่งขันน้ีเป็นการแข่งขันประเภทบุคคล และมีชื่อเรียกว่า การแข่งขันคณิตศาสตร์ โอลมิ ปิกระดับชาติ (Thailand Mathematical Olympiad: TMO) #2 ศูนย์ สอวน. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ (ต่อไปจะเรียกย่อ ๆ ว่า ศูนย์) จะหมุนเวียนเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพ จัดการแข่งขัน โดยการจดั การแข่งขันจะมีข้นึ ในชว่ งปิดภาคการศกึ ษาฤดูร้อนของแต่ละปี #3 มูลนิธิ สอวน. เป็นผู้ประสานงานการจัดการแข่งขันและสนับสนุนงบประมาณในการจัดการแข่งขันผ่าน ศูนยเ์ จ้าภาพ #4 ศูนยเ์ จ้าภาพตอ้ งจดั ทาโครงการเพือ่ ขออนุมตั ิงบประมาณจาก มลู นธิ ิ สอวน. อย่างน้อย 6 เดือนก่อนการแข่งขัน ศูนย์เจ้าภาพสามารถขอรับการสนับสนนุ จากหนว่ ยงานต่าง ๆ ไดอ้ ีกทางหน่งึ ศูนย์เจ้าภาพรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางระหว่างสถานท่ีต้ังของแต่ละศูนย์และสถานที่จัดการแข่งขันทง้ั ขาไปและขากลบั ของคณะผู้เข้าร่วมการแข่งขันของทุกศูนย์ (ยกเวน้ ศูนย์โรงเรยี นเตรียมทหาร และศูนยโ์ รงเรียนมหิดล วิทยานุสรณ์) และกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขัน โดยให้สารองค่าใช้จ่ายล่วงหน้า แล้วนาหลักฐานมาเบิกจาก ศนู ยเ์ จ้าภาพในระหวา่ งการแข่งขัน ศนู ย์เจ้าภาพเป็นผู้รับผิดชอบค่าใชจ้ ่ายด้านต่าง ๆ ตลอดระยะเวลาในการแข่งขนั โดยเฉพาะค่าที่พัก คา่ อาหาร คา่ ทัศนศึกษา และรางวลั ในการแขง่ ขนั ธรรมนญู และหลักสูตรคณติ ศาสตร์โอลมิ ปิกระดบั ชาติ หนา้ 2
#5 ใหม้ คี ณะกรรมการจัดการแข่งขนั คณิตศาสตรโ์ อลิมปิกระดับชาติ ซง่ึ ประกอบด้วย คณะกรรมการวิชาการกลาง ประจาการแข่งขัน หัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม และผู้ช่วยหัวหน้าทีม ของแต่ละทีม โดยศูนย์เจ้าภาพทาหน้าท่ี เลขานกุ าร #6 แต่ละศูนย์สง่ นกั เรยี นเปน็ ผู้แทนศนู ย์เขา้ ร่วมการแขง่ ขันได้ศูนย์ละ 1 ทมี ทีมละ 6 คน และส่งบคุ ลากรทาหน้าท่ี หัวหนา้ ทมี และรองหวั หน้าทมี ตาแหน่งละหน่ึงคน และสามารถส่งผูช้ ่วยหวั หน้าทีมไดอ้ กี 1 คน แต่ละศูนย์ต้องส่งข้อมูลของหัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม ผู้ช่วยหัวหน้าทีม และนักเรียนผู้แทนศูนย์ ให้แก่ศูนย์ เจ้าภาพกอ่ นการแขง่ ขันไม่น้อยกวา่ 4 สปั ดาห์ #7 ภาษาทใี่ ช้ในการแข่งขนั คือ ภาษาไทย #8 การสอบแขง่ ขนั จดั การสอบแขง่ ขันเปน็ 2 วัน ขอ้ สอบเปน็ แบบอัตนัย จานวนวันละ 4 ถึง 6 ขอ้ และใชเ้ วลาใน สอบวนั ละ 4 ชั่วโมง 30 นาที รวมข้อสอบจานวน 8 ถงึ 12 ข้อ โดยแต่ละขอ้ มคี ะแนนเตม็ 7 คะแนน การสอบแข่งขันหา้ มใช้เครือ่ งคานวณทุกชนดิ #9 การจัดทาข้อสอบ ให้หัวหน้าทีมแต่ละทีม ส่งโจทย์ที่ได้มาตรฐานพร้อมเฉลย แก่กรรมการวิชาการกลาง ประจาการแข่งขนั เพ่อื คดั เลอื ก ปรับแก้ หรอื ออกเพ่มิ เติม ให้ได้ข้อสอบจานวน 8 ถึง 12 ข้อ สาหรบั การแขง่ ขัน พรอ้ ม กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน หัวหน้าทมี ตอ้ งรักษาความลับของโจทยท์ ี่สง่ เข้าร่วมการคดั เลือก ไม่ให้มีการเผยแพร่ หรือ คัดลอก หัวหน้าทีม รองหัวหน้าทีม และ ผู้ช่วยหัวหน้าทีม แต่ละทีมมีหน้าท่ีตรวจข้อสอบ และอาจมีโอกาสได้ร่วม พิจารณาขอ้ สอบ กรณีท่ีมีการจัดพิมพ์หนังสือรวมโจทย์ท่ีได้รับการคัดเลือก (Short Listed Problems) หัวหน้าทีมแต่ละทีม มีหน้าทีร่ กั ษาความลับของหนงั สอื ในระยะเวลาตามทีก่ รรมการวิชาการกลางประจาการแข่งขนั ระบุไว้ในหนังสือ # 10 การตรวจข้อสอบ ศูนย์เจ้าภาพต้องสาเนากระดาษคาตอบของผู้เข้าแข่งขัน ให้แก่ทีมแต่ละทีม เพ่ือให้หัวหน้า ทีม รองหัวหน้าทีม และผู้ช่วยหัวหน้าทีม ทาการตรวจข้อสอบ โดยมีกรรมการวิชาการกลางประจาการแข่งขัน ทา หนา้ ที่ตรวจทาน และตัดสินชี้ขาดการให้คะแนน ธรรมนญู และหลักสูตรคณติ ศาสตร์โอลมิ ปิกระดับชาติ หน้า 3
# 11 ศนู ยเ์ จา้ ภาพต้องจดั ให้มกี ารประชมุ ทวนสอบ ระหวา่ ง กรรมการวิชาการกลางประจาการแขง่ ขนั และทมี กรรมการวิชาการกลางประจาการแข่งขนั เปน็ ผู้ทาหนา้ ทตี่ ัดสินผลการแข่งขัน ผลการแขง่ ขันเป็นผลการแข่งขันรายบุคคล โดยจดั เป็นระดับ เหรียญทอง เหรยี ญเงิน และเหรยี ญทองแดง ศนู ย์เจา้ ภาพอาจกาหนดใหม้ ีรางวลั พิเศษอ่ืน ๆ ได้อกี ตามที่เห็นสมควร # 12 ภาระหนา้ ท่ขี องศูนยเ์ จา้ ภาพ 1) ดูแลการแขง่ ขันใหด้ าเนนิ ไปตามขอ้ บังคับของธรรมนูญน้ี 2) ควรออก “กฎระเบียบการจัดงาน” บนพื้นฐานของธรรมนูญนี้ และแจ้งกฎระเบียบการจัดงานให้ศูนย์ท่ี เข้าร่วมการแข่งขันทราบล่วงหน้า กฎระเบียบการจัดงานจะต้องให้รายละเอียดของการแข่งขันท่ีไม่ ครอบคลุมโดยธรรมนูญ และให้ชื่อและท่ีอยู่ของหน่วยงาน และบุคคลที่รับผิดชอบจัดการแข่งขัน คณติ ศาสตรโ์ อลมิ ปกิ ระดบั ชาติในครง้ั นี้ 3) จัดพิธเี ปดิ และพธิ ปี ดิ โดยทาหนังสือเชญิ และออกกาหนดการต่าง ๆ สง่ ไปยังศูนย์ทเ่ี ข้าแข่งขันล่วงหน้า 4) ต้องเตรยี มพ่เี ลี้ยงคอยดูแลนกั เรยี นผเู้ ข้ารว่ มการแขง่ ขัน 5) จดั ทารายชือ่ ผไู้ ดร้ ับรางวลั 6) จัดทาเกยี รตบิ ัตร และรางวลั ตา่ ง ๆ 7) ประกาศผล และจดั พธิ มี อบรางวัล ท่มี เี กียรตอิ ย่างเปน็ ทางการ 8) ตอ้ งจดั พิมพร์ ายงานการจัดการแข่งขันฯ สง่ ใหศ้ นู ยท์ เี่ ข้ารว่ มแขง่ ขนั ศนู ยล์ ะ 1 เล่ม ภายในเวลาไมเ่ กนิ 1 ปีหลงั การแขง่ ขัน # 13 ภาระหนา้ ที่ของคณะกรรมการจัดการแขง่ ขันคณติ ศาสตร์โอลิมปิกระดบั ชาติ 1) กากับและดูแลให้การแข่งขนั เปน็ ไปตามระเบียบข้อบงั คับของธรรมนูญน้ี 2) พจิ ารณาและตรวจสอบความถูกต้องของข้อสอบ เกบ็ รักษาความลับเกี่ยวกับขอ้ สอบ และต้องไมใ่ ห้ความ ชว่ ยเหลอื ใด ๆ แกผ่ ู้เข้ารว่ มการแข่งขนั 3) พจิ ารณาผลการแข่งขัน และตัดสินการให้รางวลั โดยให้ความยตุ ิธรรมในการแบ่งกลุ่มผู้ได้รับรางวลั และ ไม่เปิดเผยผลการตัดสินก่อนการประกาศผลอย่างเป็นทางการ การตัดสินของคณะกรรมการจัดการ แข่งขนั คณิตศาสตร์โอลมิ ปกิ ระดับชาติ ถือเป็นเดด็ ขาด # 14 เง่อื นไขของนกั เรยี นในการเข้าร่วมค่ายและการสอบโอลมิ ปิกวชิ าการ สาขาคณิตศาสตร์ สอวน. เปน็ ตามผังและ รายละเอยี ด ต่อไปนี้ ธรรมนญู และหลกั สตู รคณติ ศาสตรโ์ อลมิ ปิกระดับชาติ หนา้ 4
1. 1. 1. 2. (1) ( 6) (TMO) (3) 1. (2) TMO TMO 1 1 (. ) (. ) ( 2. 2 ) IMO 1 ธรรมนญู และหลกั สูตรคณติ ศาสตรโ์ อลมิ ปกิ ระดับชาติ หน้า 5
คาอธิบายเพิ่มเติม สทิ ธิจ์ ากสมาคมคณิตศาสตร์ฯ สมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ จะส่งรายช่ือผู้มีสิทธิ์ให้แก่ มูลนิธิ สอวน. ประมาณช่วงเดือน กุมภาพันธ์ ของแต่ละปี จากนั้นมูลนิธิ สอวน. จะดาเนินการตรวจสอบความซ้าซ้อนของรายชื่อ และส่งรายช่ือให้แก่ ศูนย์ สอวน. เพ่ือรับรายงานตัวนักเรียนตามรายชื่อที่อยู่ในเขตพ้ืนที่รับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมค่าย 2 สอวน. ท้ังนี้ ทางสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทย และ มูลนิธิ สอวน. จะดาเนินการประกาศรายชื่อ เพื่อให้นักเรียนที่มีสิทธิ์ ทราบ และดาเนนิ การรายงานตวั ณ ศูนย์ สอวน. ทีม่ สี ทิ ธต์ิ ่อไป ไม่ผ่าน (1) คือ ผู้เข้าร่วมการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ แต่ไม่ได้รับการประกาศรายชื่อเพ่ือเข้าร่วมการ อบรม ครั้งที่ 1 สสวท. โดยจะต้องเข้าอบรมและทดสอบ หรือเข้าทดสอบเพียงอย่างเดียว ข้ึนกับการพิจารณาของ ศนู ย์ สอวน. ทั้งน้ีหากนักเรียนมีการย้ายเขตพื้นท่ี สอวน. นักเรียนจะต้องทาการสอบคัดเลือกเพ่ือเข้าค่าย 1 สอวน. ใน ศูนย์ สอวน. ท่รี บั ผิดชอบในเขตพ้ืนทีน่ น้ั ใหม่ ไมผ่ ่าน (2) และเปน็ ผูแ้ ทนศนู ย์ สอวน. เข้ารว่ ม TMO มาแลว้ ไมเ่ กิน 1 ครงั (สอวน. ตรวจสอบ) คอื ผ้ผู า่ นการอบรม คร้ังท่ี 1 สสวท. แต่ไมผ่ า่ นการคัดเลือกให้เข้าร่วมการอบรม ครัง้ ที่ 2 สสวท. และได้เข้า ร่วมการแข่งขันคณติ ศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ มาแล้วไม่เกิน 1 คร้ัง มโี อกาสเขา้ รว่ มการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดับชาติ เพ่ือรับสิทธิ์เข้าร่วมการอบรม ครั้งที่ 1 สสวท. แต่ไม่ได้รับการพิจารณารางวัลใด ๆ ของการแข่งขันฯ โดย มูลนิธิ สอวน. จะเป็นผู้ประกาศรายชื่อ และนักเรียนต้องยืนยันสิทธิ์ในการเข้าร่วมการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก ระดบั ชาติ ต่อ มูลนิธิ สอวน. ไม่ผา่ น (3) และเปน็ ผูแ้ ทนศนู ย์ สอวน. เข้ารว่ ม TMO มาแล้วมากกวา่ 1 ครัง (สอวน. ตรวจสอบ) คือ ผ้ผู า่ นการอบรม ครง้ั ที่ 1 สสวท. แต่ไมผ่ า่ นการคัดเลือกใหเ้ ข้ารว่ มการอบรม ครั้งท่ี 2 สสวท. แตเ่ ข้าการ แข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ มาแล้วมากกว่า 1 ครั้ง นักเรียนสามารถสมัครเข้าร่วมการคัดเลือกเข้าค่าย 1 สอวน. ไดใ้ นปีการศึกษาถัดไปได้ หรือใช้สทิ ธจ์ิ ากสมาคมคณิตศาสตร์แห่งประเทศไทยฯ ในการเขา้ อบรมค่าย 2 สอวน. ได้ ในกรณไี ด้รบั สทิ ธิ์นั้น # 15 การเปล่ียนแปลงเนื้อหาธรรมนูญ การเพ่ิมเติม หรือลดบทบัญญัติ สามารถกระทาได้โดยคณะกรรมการสาขา คณติ ศาสตร์ มลู นิธิ สอวน. เท่านน้ั (หมายเหตุ คณะกรรมการสาขาคณิตศาสตร์ มูลนิธิ สอวน. หมายถึง กรรมการที่แต่งต้ังโดย มูลนิธิ สอวน. ซึ่ง ประกอบด้วย ผูท้ รงคณุ วฒุ ิสาขาคณติ ศาสตร์ และประธานสาขาคณิตศาสตรข์ องศูนย์ สอวน. ท่ัวประเทศ) ปรับปรงุ แก้ไขโดยที่ประชุมคณะกรรมการสาขาคณิตศาสตร์ มลู นธิ ิ สอวน. เม่ือ 5 กรกฎาคม 2562 ธรรมนญู และหลักสตู รคณติ ศาสตร์โอลมิ ปกิ ระดับชาติ หน้า 6
ภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจดั ทาแผนการดาเนินงานและการใช้งบประมาณของ ศูนยโ์ รงเรียนโอลิมปิกวิชาการ คา่ ย ๑ สอวน. ประจาปี ๒๕๖๒
ภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจดั ทาแผนการดาเนินงานและการใช้งบประมาณของ ศูนยโ์ รงเรียนโอลิมปิกวิชาการ คา่ ย ๑ สอวน. ประจาปี ๒๕๖๒
ภาพกิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจดั ทาแผนการดาเนินงานและการใช้งบประมาณของ ศูนยโ์ รงเรียนโอลิมปิกวิชาการ คา่ ย ๑ สอวน. ประจาปี ๒๕๖๒
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: