Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการเป็นวิทยากร การพัฒนาหลักสูตรฯ ปีการศึกษา 2562

รายงานการเป็นวิทยากร การพัฒนาหลักสูตรฯ ปีการศึกษา 2562

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2021-10-10 03:51:31

Description: นายครรชิต แซ่โฮ่ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ปฏิบัติหน้าที่ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้เป็นวิทยากร การพัฒนาหลักสูตรฯ วันที่ 2 - 4 เมษายน 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีการศึกษา 2562

Search

Read the Text Version

สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนาธรรม (ฉบับปรับปรุง ๒๕๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑ ไปจัดทาหลักสูตร สถานศึกษา มรี ายละเอียดดังน้ี นโยบายและความเป็นมา สืบเนื่องจากการปฏิรูปการศึกษาซึ่งเป็นผลมาจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึ่งได้บัญญัติให้มีกฎหมายเก่ียวกับการศึกษาแห่งชาติเพ่ือเป็นกฎหมายแม่บทในการบริหาร จัดการการศึกษาท่ีนาไปสู่การปฏิรูปการศึกษาอย่างจริงจัง และต่อมาได้มีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒” เป็นกฎหมายหลักในการบริหารจัดการการศึกษาขึ้น จากพระราชบัญญัติ ดังกล่าวนาไปสู่การดาเนินการปฏิรูปการศึกษารอบแรกข้ึนในระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๕๑ ซึ่งกระทรวง ศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๔๔ แต่ผลของการปฏิรูปกลับพบว่า ระบบการศึกษาของไทยยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียน ให้มีคุณภาพได้ตามที่กาหนดไว้ จนนามาสู่การปฏิรูป การศึกษารอบสอง หรือที่เรียกว่าการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองพ.ศ. ๒๕๕๒-๒๕๖๑ กระทรวงศึกษาธิการจึงได้ประกาศให้ใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ให้ สถานศึกษาทุกแห่งใช้ในปีการศึกษา ๒๕๕๓ พร้อมกันท่ัวประเทศ เพื่อมุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของ ชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลและต่อมากระทรวงศึกษาธิการมีคาสั่ง ที่ สพฐ. ๑๒๓๙ /๒๕๖๐ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรือ่ ง ให้ใช้มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตัวชวี้ ัด กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ สาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ด้วยเหตุผลที่ต้องการจะปรับปรุงหลักสูตรให้ สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สภาพแวดล้อมและความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีท่ีเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วเป็นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคนของชาติให้สามารถเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากลสอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติผู้เรียนมี ศักยภาพในการแขง่ ขันและดารงชีวติ อยา่ งสรา้ งสรรค์ในประชาคมโลกตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หลกั สูตรถอื ไดว้ ่ามีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการจัดการศึกษาเพราะเป็นสิ่งที่กาหนดเป้าหมายและกรอบ ทิศทางทจี่ ะทาให้การจัดการเรยี นการสอนบรรลตุ ามจดุ มุ่งหมายท่ีต้ังไว้และด้วยเหตุที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เกิดนวัตกรรมและวิทยาการใหม่ๆ อยู่เสมอ หลักสูตรจึงต้องมี การปรับปรุงพัฒนาไม่หยุดน่ิง เพ่ือให้สามารถพัฒนาคนในชาติ ให้ดารงชีวิตและก้าวทันต่อการเปล่ียนแปลง ต่างๆ ที่เกดิ ขนึ้ ในโลกยุคปัจจบุ ัน ดังน้ันการศึกษาต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนกระทรวงศึกษาธิการโดยสา นักงาน ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น จึ ง ไ ด้ ด า เ นิ น ก า ร ท บ ท ว น ห ลั ก สู ต ร แ ก น ก ล า ง ก า ร ศึ ก ษ า ขั้ น พ้ื น ฐ า น พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนาข้อมูลทิศทางเป้าหมายความต้องการพัฒนาประเทศจากยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ พ.ศ. (๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) มาใช้เป็นกรอบและทิศทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีความ เหมาะสมชดั เจน ย่ิงข้ึน ในระยะส้นั เห็นควรปรับปรุงหลกั สูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ่งมีความสาคัญต่อการพัฒนา ประเทศ และเป็นรากฐานสาคัญที่จะช่วยให้มนุษย์มีความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบและถ่ีถ้วน สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการบูรณาการกับความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เพ่ือ

แก้ปัญหาหรือพัฒนางานด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมที่นาไปสู่การคิดค้นส่ิงประดิษฐ์ หรือสร้าง นวัตกรรมต่าง ๆ ที่เอื้อประโยชน์ต่อการดารงชีวิต การใช้ทักษะการคิดเชิงคานวณ ความรู้ทางด้านวิทยาการ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีและการสื่อสารในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังใช้ ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ กระบวนการ และเครอ่ื งมือทางภูมศิ าสตร์เรยี นรสู้ งิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวอย่างเข้าใจ สภาพทเ่ี ปน็ อยู่และการเปลีย่ นแปลง เพือ่ นาไปสู่การจัดการและปรับใช้ในการดารงชีวิตและการประกอบอาชีพ อย่างสรา้ งสรรค์ การนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระ ภูมิศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ไปจัดทาหลักสูตรสถานศึกษาเพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานและ ตวั ชว้ี ัดทีก่ าหนดขน้ึ โดยการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศักราช ๒๕๕๑ ในกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม รวมทั้งเทคโนโลยีในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เพ่ือให้สถานศึกษานา มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ไปจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา เพ่อื พัฒนาผเู้ รียนใหบ้ รรลมุ าตรฐานและตัวชวี้ ดั ทีก่ าหนด อน่ึงการปรับปรุงหลักสูตรคร้ังนี้ ยังคงใช้หลักการและโครงสร้างเดิมของหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คือ ประกอบด้วย ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ แต่มุ่งเน้นการปรับปรุงเนื้อหาให้มี ความทันสมัย ทันต่อการเปล่ียนแปลงและ ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ คานึงถึงการส่งเสริมให้ ผู้เรียน มีทักษะที่จาเป็นสาหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ เป็นสาคัญ เพ่ือเตรียมผู้เรียนให้มีความพร้อมที่จะ เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ พร้อมที่จะประกอบอาชีพ เม่ือจบการศึกษา หรือสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงข้ึน สามารถ แขง่ ขันและอยรู่ ่วมกบั ประชาคมโลกได้ กรอบในการปรับปรุง คือ ให้มีองค์ความรู้ที่เป็นสากลเทียบเท่านานาชาติ ปรับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวช้ีวัดให้มีความชัดเจน ลดความซ้าซ้อน สอดคล้องและเชื่อมโยงกันภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และ ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ ตลอดจนเชื่อมโยงองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีเข้า ด้วยกัน จัดเรียงลาดับความยากง่ายของเน้ือหาในแต่ละระดับช้ันตามพัฒนาการแต่ละช่วงวัย ให้มีความ เชอื่ มโยง ความรแู้ ละกระบวนการเรียนรู้ โดยให้เรียนรผู้ า่ นการปฏิบตั ิทส่ี ง่ เสริมให้ผู้เรยี นพัฒนาความคดิ สาระสาคัญของการปรับปรุงหลักสูตร มีดงั นี้ ๑. กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ๑.๑ จัดกลุ่มความรู้ใหม่และนาทักษะกระบวนการไปบูรณาการกับตัวชี้วัด เน้นให้ผู้เรียนเกิด การคดิ วเิ คราะห์ คดิ แก้ปัญหาและมที กั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ๑.๒ กาหนดมาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชว้ี ัดสาหรบั ผูเ้ รียนทุกคน ทเ่ี ปน็ พ้ืนฐานท่ีเก่ียวข้องกับ ชวี ิตประจาวนั และเป็นพืน้ ฐานสาคัญในการศกึ ษาตอ่ ระดบั ที่สูงข้นึ ๑.๓ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๔ – ๖ กาหนดตัวชี้วัด เป็นรายปี เพื่อเป็นแนวทางให้สถาน ศกึ ษาจัดตามลาดบั การเรียนรู้ อย่างไรก็ตามสถานศึกษาสามารถพิจารณาปรับเลื่อนไหลระหว่างปีได้ตามความ เหมาะสม ๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ได้เพ่ิมสาระเทคโนโลยี ซ่ึงประกอบด้วยการ ออกแบบและ เทคโนโลยี และวิทยาการคานวณ ทั้งน้ีเพ่ือเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้บูรณาการสาระทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กบั กระบวนการเชงิ วิศวกรรม ตามแนวคดิ สะเตม็ ศกึ ษา

๓. สาระภมู ิศาสตร์ ซ่ึงเปน็ สาระหน่งึ ในกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมได้ปรับ มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ชว้ี ัดใหม้ ีความชัดเจน สอดคล้องกับพัฒนาการตามช่วงวัย มีองค์ความรู้ที่เป็นสากล เพิ่มความสามารถ ทักษะและกระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ท่ชี ดั เจนข้นึ การบริหารจัดการหลกั สูตรสถานศกึ ษา ๑. การจัดรายวิชา ๑.๑ ระดับประถมศึกษา ๑. สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ กลุ่ม ละ ๑ รายวชิ าตอ่ ปี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี ๑ จานวนและ พชี คณติ สาระท่ี ๒ การวัดและเรขาคณิต และสาระท่ี ๓ สถติ แิ ละความน่าจะเปน็ ไปจดั ทาเป็นรายวิชาพืน้ ฐาน กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ ชวี ภาพ สาระที่ ๒ วทิ ยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระที่ ๔ เทคโนโลยี ไป จดั ทาเป็นรายวิชาพ้นื ฐาน ๒. สถานศกึ ษาสามารถจัดรายวิชาเพ่ิมเติมได้ตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ความต้องการ และความถนัดของผู้เรียน โดยจัดเป็นรายปี ตามโครงสร้างเวลาเรียนท่ีกาหนด และกาหนดผลการเรียนรู้ของ รายวชิ านัน้ ๆ ๑.๒ ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๑. สถานศึกษาสามารถจัดรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ได้ตาม ความเหมาะสม ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรยี นรู้อาจจดั ได้มากกว่า ๑ รายวิชา ในแตล่ ะภาค/ปี กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๑ จานวนและ พชี คณติ สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ และสาระที่ ๓ สถิติและความน่าจะเปน็ ไปจดั ทาเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ ชีวภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตรก์ ายภาพ สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระท่ี ๔ เทคโนโลยี ไป จัดทาเป็นรายวชิ าพื้นฐาน ๒. สถานศกึ ษาสามารถจัดรายวิชาเพ่มิ เติมได้ตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ความต้องการ และความถนัดของผู้เรียน และเกณฑ์การจบ โดยจัดเป็นรายภาค ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่กาหนด และ กาหนดผลการเรียนรขู้ องรายวชิ าน้นั ๆ ๑.๓ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ๑. สถานศกึ ษาสามารถจัดรายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ได้ตาม ความเหมาะสม ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้อาจจัดได้มากกว่า ๑ รายวิชา โดยภายใน ๓ ปี ต้องครบทุก ตัวชี้วัดทีก่ าหนด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี ๑ จานวนและ พีชคณิต สาระที่ ๒ การวัดและเรขาคณติ และสาระที่ ๓ สถิติและความนา่ จะเป็น ไปจัดทาเปน็ รายวชิ าพน้ื ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ นามาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด สาระท่ี ๑ วิทยาศาสตร์ ชวี ภาพ สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระท่ี ๔ เทคโนโลยี ไป จัดทาเป็นรายวิชาพ้ืนฐาน ๒. สถานศกึ ษาสามารถจดั รายวชิ าเพมิ่ เติมได้ตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ความต้องการ และความถนัดของผู้เรียน และเกณฑ์การจบ โดยจัดเป็นรายภาค ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่กาหนด และ

กาหนดผลการเรียนรู้ของรายวิชาน้ัน ๆ สาหรับผู้เรียนที่มีศักยภาพด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เพื่อ ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ ทักษะที่จาเป็นในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ การดารงชวี ติ การประกอบอาชีพ และการศึกษาต่อในวิชาชีพท่ีต้องคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สถานศึกษา ควรพิจารณานาผลการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในคณิตศาสตร์เพิ่มเติมและวิทยาศาสตร์ เพ่ิมเติมไปจัดทารายวิชา เพิ่มเตมิ ๓. สถานศึกษาสามารถนาตัวช้ีวัดและผลการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ โดยอาจจัดให้ตรงตามชั้นปีท่ีกาหนด หรือยืดหยุ่นระหว่างช้ันปี ซึ่งอาจจัดไม่ตรง ตามช้ันปีที่กาหนดไดต้ ามความเหมาะสมและตามศกั ยภาพของผู้เรียน ๒. การจดั การเรยี นการสอน ๑. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ เน้นการเช่ือมโยงความรู้กับทักษะ กระบวนการ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ใช้ กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย เน้นการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน พัฒนาความคดิ มสี ว่ นร่วมในการเรยี นร้ทู ุกขัน้ ตอน มีการทากิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดับชัน้ ตามบรบิ ท ความตอ้ งการ ความเหมาะสม ความพร้อมของสถานศึกษาและศักยภาพของ ผ้เู รียน ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยี สถานศึกษาควรวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ บริบท ความต้องการ ความพร้อมของสถานศึกษาและศักยภาพของผู้เรียน โดยอาจพิจารณาดาเนินการจาก แนวทางการจดั กิจกรรม ดังนี้ ๒.๑ บูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยนา มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๔ เทคโนโลยี กับสาระอ่ืน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มา บรู ณาการการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ๒.๒ บูรณาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับกลุ่มสาระ การเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยนามาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๔ เทคโนโลยี กลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีความสอดคล้อง หรือเช่ือมโยงกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงาน อาชพี และเทคโนโลยี มาบูรณาการการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และนาผลการประเมินไปใช้ประกอบการตัดสินผล การเรียนได้ทัง้ สองกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๓. การจดั การเรียนการสอนในรายวิชาพน้ื ฐานในระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เพือ่ พัฒนาผู้เรียนให้เต็ม ตามศักยภาพ สถานศกึ ษาสามารถพจิ ารณานาผลการเรียนรู้ในคณิตศาสตร์เพิ่มเติม และวิทยาศาสตร์เพ่ิมเติมท่ี สอดคลอ้ งกับตัวชวี้ ดั ในรายวชิ าพ้นื ฐานมาจัดการเรียนรู้ เพอ่ื ตอ่ ยอด หรือเสริมศักยภาพของผู้เรียนได้ตามความ เหมาะสมและศกั ยภาพของผูเ้ รียน ๓. การบริหารจัดการเวลาเรยี น ใหส้ ถานศึกษาขนั้ พื้นฐานทุกแหง่ ดาเนนิ การจดั โครงสร้างเวลาเรียนทีม่ ีความยดื หยนุ่ ดังนี้ ๓.๑ ระดับประถมศกึ ษา ๑) จัดเวลาเรียนพ้ืนฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสมสอดคล้องกับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพผู้เรียน ท้ังน้ี ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้าง

เวลาเรียน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พ้นื ฐานพทุ ธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด ๒) จดั เวลาเรยี นเพ่มิ เตมิ โดยจัดเปน็ รายวิชาเพิ่มเตมิ หรอื กิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ ความพร้อมของสถานศึกษา สาหรับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ สถานศึกษาอาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับสาระ การเรยี นรพู้ น้ื ฐานในกล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ๓) จัดเวลาสาหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด ๔) จัดเวลาเรยี นรวมท้งั หมด ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ท้ังนี้ ควรคานึงถึงศักยภาพ และพฒั นาการตามช่วงวยั ของผ้เู รยี นและเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร ๓.๒ ระดบั มัธยมศกึ ษา ๑) จัดเวลาเรียนพ้ืนฐานตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด และสอดคล้องกบั เกณฑก์ ารจบหลักสตู ร ๒) จดั เวลาเรียนเพ่ิมเติม โดยจดั เป็นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ หรือกิจกรรมเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ ความพร้อมของสถานศกึ ษาเกณฑ์การจบหลกั สตู ร ๓) จัดเวลาสาหรับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามท่ีหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กาหนด ๔) จัดเวลาเรยี นรวมท้งั หมด ให้เปน็ ไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งนี้ ควรคานึงถึงศักยภาพ และพัฒนาการตามช่วงวัยของผ้เู รยี นและเกณฑ์การจบหลักสตู ร ๔. การจดั การเรียนการสอนหน้าที่พลเมือง เพือ่ ใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) และนโยบายรัฐบาลที่ต้องการให้มีการ ส่งเสริมเด็กและเยาวชนของชาติเปน็ พลเมอื งดีในระบบประชาธิปไตย มีความปรองดองสมานฉันท์ เพื่อสันติสุข ในสังคมไทย จึงกาหนดให้สถานศึกษาทุกสังกัด ทุกระดับชั้นและทุกช่วงชั้นของการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจาก จัดการเรียนการสอนสาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดาเนินชีวิตในสังคม ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมแล้ว ให้ดาเนินการส่งเสริมการสร้างความเป็นพลเมืองดีขอลชาติตามความพร้อม และบรบิ ทของสถานศึกษา โดยพิจาณราทางเลอื กดงั นี้ ๑) เพ่ิม “วิชาหน้าท่ีพลเมือง” ในหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการ เรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หรือ ๒) บูรณาการกับการเรียนรู้ในรายวิชาอ่ืนท้ังรายวิชาพื้นฐาน หรือรายวิชาเพิ่มเติมในกลุ่มสาระการ เรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม หรอื ๓) บูรณาการกับการเรยี นรูใ้ นรายวิชาพ้ืนฐาน หรือรายวชิ าเพม่ิ เตมิ ในกลุ่มสาระการเรยี นรอู้ ืน่ หรือ ๔) บูรณาการกับการเรียนรู้กับกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน หรือกิจกรรม/โครงการ/โครงงาน หรือวิถี ชีวิตประจาวันในโรงเรียน ๕. การบริหารจดั การเวลาเรียนภาษาอังกฤษช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๓ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรงศึกาธิการในการยกระดับคุณภาพการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รียนใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเป็น เครื่องมือในการเข้าถึงองค์ความรู้เพื่อก้าวทันโลก และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึง กาหนดให้สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานทุกแห่ง จัดเวลาเรียนภาษาอังกฤษในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓ จานวน ๒๐๐

ช่ัวโมงต่อปี หรือ ๕ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ได้ตามความพร้อม บริบทของสถานศึกษาและศักยภาพของผู้เรียนโดย พจิ ารณาทางเลอื ก ดังน้ี ๑) จดั เป็นรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมงตอ่ ปี หรือ ๕ ช่ัวโมงต่อสปั ดาห์ หรอื ๒) จัดเป็นรายวิชาพื้นฐานอย่างน้อย ๑๒๐ ชั่วโมงต่อปี และจัดรายวิชาเพ่ิมเติมและหรือกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน หรือกิจกรรมเสริมหลักสูตร ๘๐ ชั่วโมงต่อปี รวมเวลาเรียนท้ังหมด จานวน ๒๐๐ ช่ัวโมงต่อปี หรือ ๕ ชั่วโมงต่อสปั ดาห์ ๖. โครงสร้างเวลาเรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑. ระดับประถมศึกษา ๑) ปรับเวลาเรียนพ้ืนฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ ๔๐ ชั่วโมงต่อปี ทั้งน้ี ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม จานวน ๘๔๐ ชั่วโมงต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพ ตาม มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้ีวัดทีก่ าหนด ๒) จัดเวลาเรียนเพมิ่ เตมิ โดยจัดเป็นรายวชิ าเพิม่ เตมิ หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ ความพร้อมของสถานศึกษา และเกณฑ์การจบหลักสูตร เฉพาะระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ สถานศึกษา อาจจัดให้เป็นเวลาสาหรับสาระการเรียนรู้พื้นฐานในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ ๓) จดั เวลาสาหรับกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น จานวน ๑๒๐ ช่วั โมงตอ่ ปี ๔) จดั เวลาเรียนรวมทัง้ หมด ใหเ้ ป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ทั้งน้ี ควรคานึงถึงศักยภาพ และพัฒนาการตามช่วงวัยของผเู้ รยี นและเกณฑ์การจบหลักสตู ร ๒. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท จุดเน้นของสถานศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์ ๔๐ ชั่วโมงต่อปี หรอื ๑ หนว่ ยกิตต่อปี ทัง้ น้ี ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม จานวน ๘๘๐ ชั่วโมงต่อปี หรือ ๒๒ หน่วย กิตต่อปี และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนด และสอดคล้องกับเกณฑ์การ จบหลกั สตู ร ๒) จดั เวลาเรยี นเพม่ิ เติม โดยจัดเปน็ รายวชิ าเพม่ิ เติม หรอื กิจกรรมเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ ความพร้อมของสถานศกึ ษา และเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร ๓) จัดเวลาสาหรบั กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น จานวน ๑๒๐ ชั่วโมงตอ่ ปี ๔) จดั เวลาเรยี นรวมทงั้ หมด ใหเ้ ป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ท้ังน้ี ควรคานึงถึงศักยภาพ และพฒั นาการตามช่วงวัยของผเู้ รียนและเกณฑ์การจบหลักสูตร ๓. ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑) ปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม สอดคล้องกับบริบท จดุ เน้นของสถานศึกษา และศกั ยภาพของผู้เรียน โดยจัดเวลาเรียนพ้ืนฐานสาหรับสาระประวัติศาสตร์รวม ๓ ปี จานวน ๘๐ ชั่วโมง หรอื ๒ หน่วยกิต ทั้งนี้ ต้องมีเวลาเรียนพ้ืนฐานรวม ๓ ปี จานวน ๑,๖๔๐ ช่ัวโมง หรือ ๔๑ หน่วยกติ และผเู้ รียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดท่ีกาหนด และสอดคล้องกับเกณฑ์การ จบหลักสูตร ๒) จดั เวลาเรียนเพม่ิ เติม โดยจัดเปน็ รายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมเพ่ิมเติมให้สอดคล้องกับจุดเน้นและ ความพรอ้ มของสถานศึกษา และเกณฑก์ ารจบหลักสตู ร

๓) จดั เวลาสาหรับกจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน รวม ๓ ปี จานวน ๓๖๐ ช่ัวโมง ๔) จัดเวลาเรียนรวมท้งั หมด ให้เป็นไปตามความเหมาะสมของสถานศึกษา ท้ังน้ี ควรคานึงถึงศักยภาพ และพัฒนาการตามช่วงวัยของผ้เู รยี นและเกณฑ์การจบหลกั สตู ร เกณฑก์ ารจบการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ๑. เกณฑก์ ารจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - ผูเ้ รยี นเรยี นรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติม โดยเป็นรายวชิ าพนื้ ฐาน ๖๖ หนว่ ยกิต และ รายวชิ าเพิม่ เติมตามทสี่ ถานศึกษากาหนด - ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ นว่ ยกติ ตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกว่า ๗๗ หนว่ ยกิตโดยเปน็ รายวิชาพื้นฐาน ๖๖ หน่วยกิตและรายวิชาเพิ่มเติมไมน่ ้อยกวา่ ๑๑ หนว่ ยกิต - ผูเ้ รยี นมผี ลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี นในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศกึ ษากาหนด - ผ้เู รียนมีผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงคใ์ นระดับผ่านเกณฑ์การประเมนิ ตามท่ี สถานศึกษากาหนด - ผู้เรยี นเขา้ รว่ มกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนและมีผลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศกึ ษากาหนด ๒. เกณฑ์การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย - ผเู้ รียนเรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานและเพ่ิมเตมิ โดยเปน็ รายวิชาพืน้ ฐาน ๔๑ หนว่ ยกิต และ รายวิชาเพิม่ เติมตามที่สถานศึกษากาหนด - ผู้เรยี นต้องไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกวา่ ๗๗ หน่วยกติ โดยเป็นรายวชิ าพ้ืนฐาน ๔๑ หน่วยกิตและรายวชิ าเพิม่ เตมิ ไม่นอ้ ยกวา่ ๓๖ หนว่ ยกติ - ผู้เรียนมผี ลการประเมนิ การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศกึ ษากาหนด - ผ้เู รยี นมผี ลการประเมินคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ในระดับผา่ นเกณฑ์การประเมินตามที่ สถานศึกษากาหนด - ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี นและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามท่ี สถานศกึ ษากาหนด การสรา้ งหลักสตู รสถานศึกษา หลกั สตู รสถานศึกษาจะต้องสนองตอบการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและสิ่งแวดล้อม เพื่อสนองตอบการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ผู้สอนต้องปรับปรุงกระบวนการสอนและประเมินกระบวนการสอน ของตน ให้สนองตอบความต้องการของผู้เรียนที่เปลี่ยนแปลงไปด้วยผลกระทบของการเปล่ียนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การศึกษาจะเจริญก้าวหน้ายิ่งข้ึน ถ้ามีการปรับปรุงหลักสูตรตลอดเวลา สถานศกึ ษาจึงควรดาเนนิ การในการจัดทาหลักสตู ร ดังน้ี ๑. กาหนดวสิ ยั ทัศน์ สถานศึกษาจาเป็นต้องกาหนดวิสัยทัศน์เพื่อมองอนาคตว่า โลกและสังคมรอบ ๆ จะเปลี่ยนแปลงไป อย่างไร สถานศึกษาจะต้องปรับตัว ปรับหลักสูตรอย่างไร จึงจะพัฒนาผู้เรียนให้เหมาะสมกับยุคสมัย สถานศึกษาต้องมีวิสัยทัศน์ในการสร้างหลักสูตรสถานศึกษา หมายความว่า ผู้บริหารและบุคลากรของ สถานศึกษาสามารถมองเหน็ และคาดการณ์ได้วา่ จะเกิดอะไรขึ้นในอนาคตทีจ่ ะมีผลต่อความต้องการของผู้เรียน

และชุมชน อันจะนาไปสู่การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหลักสูตร การศึกษาค้นคว้า และการติดตามความ เปล่ยี นแปลงของส่ิงแวดล้อมในด้านตา่ ง ๆ ของสถานศึกษาจะทาให้สถานศึกษาเกิดวสิ ยั ทศั นข์ ึ้นได้ นอกจากนกี้ ารกาหนดวิสัยทศั นข์ องสถานศกึ ษาจาเปน็ จะตอ้ งอาศัยประสบการณ์และความร่วมมือของ ชุมชน บิดามารดา ผู้ปกครอง ครูผู้สอน ผู้เรียน ภาคธุรกิจ ภาครัฐในชุมชน ร่วมกันกับคณะกรรมการ สถานศึกษา ในการแสดงความประสงค์หรือวิสัยทัศน์ที่ปรารถนาให้สถานศึกษาเป็นสถาบันพัฒนาผู้เรียนท่ีมี พนั ธกิจหรือภาระหน้าที่ ร่วมกนั ในการกาหนดงานหลกั ท่สี าคญั ของสถานศึกษา พร้อมด้วยเป้าหมาย มาตรฐาน แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติการและการติดตามผล ตลอดจนจัดทารายงานแจ้งสาธารณชน และส่ง ผลย้อนกลับ ให้สถานศกึ ษาเพอื่ ปฏิบัตงิ านที่เหมาะสมและได้มาตรฐานสอดคลอ้ งกับหลักสตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานของชาติ ๒. การจัดทาหลักสูตรสถานศกึ ษา จากวิสัยทศั น์ เป้าหมาย และมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษาได้กาหนดไว้ สถานศึกษาจะต้องจัดทา สาระการเรียนรู้ จากช่วงชั้นให้เป็นรายปีหรือรายภาค พร้อมกาหนดผลการเรียนรู้ไว้ให้ชัดเจน เพื่อให้ครูทุกคน นาไปออกแบบการเรียนการสอน การบรู ณาการโครงการร่วม เวลาเรียน การมอบหมาย/โครงงาน แฟ้มผลงาน หรือการบ้าน โดยวางแผนร่วมกันท้ังสถานศึกษา หลักสูตรดังกล่าวจะเป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่ครอบคลุม ภาระงานการจัดการศกึ ษาทกุ ดา้ นของสถานศึกษา ๓. การกาหนดสาระการเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้รายปีหรอื รายภาค สถานศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้ันของกลุ่มสาระต่าง ๆ จากหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน และกาหนดสาระการเรียนรู้และผลการเรียนรู้เป็นรายปีหรือรายภาคให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรทู้ กี่ าหนดไว้ตามเปา้ หมายและวสิ ัยทัศน์ของสถานศึกษาด้วย พิจารณากาหนดวิธีการจัดการ เรียนการสอน การวัดและประเมินผล พร้อมท้ังพิจารณาใช้ภูมิปัญญาท้องถ่ิน แหล่งเรียนรู้ในท้องถ่ิน และ สามารถกาหนดในลักษณะผสมผสานบูรณาการ จดั เปน็ ชุดการเรียนแบบยดึ หวั ขอ้ เรอ่ื ง หรอื จดั เปน็ โครงงานได้ ๔. การออกแบบการเรียนการสอน จากสาระการเรียนรูแ้ ละผลการเรียนรู้รายปหี รอื รายภาค สถานศกึ ษาตอ้ งมอบหมายให้ครูผู้สอนทุกคน ออกแบบการเรียนการสอน โดยคาดหวังว่าผู้เรียนสามารถทาอะไรได้ในแต่ละช่วงช้ัน เช่น ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑-๓ น้นั ผูเ้ รียนจะเรยี นรู้สาระของแตล่ ะเรอื่ งที่กาหนดไดใ้ นระดับใด ๕. การกาหนดเวลาเรยี นและจานวนหนว่ ยกติ การจัดการศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี สถานศึกษาต้องตระหนักถึงความจาเป็นที่จะต้องจัดการศึกษาข้ัน พื้นฐานให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะในด้านการอ่าน การเขียน การ คิดเลข การคิดวิเคราะห์ และการใช้คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการสอนที่ยึดหัวข้อเรื่องจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์หรอื สังคมศกึ ษาเปน็ หลกั ตามความเหมาะสมของท้องถ่ิน บูรณาการการเรียนรู้ด้วยกลุ่มสาระต่างๆ เข้ากบั หวั ขอ้ เรื่องที่เรยี นอย่างสมดลุ ควรกาหนดจานวนเวลาเรยี นสาหรับสาระการเรียนรรู้ ายปี ดงั น้ี ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๓ ซึ่งเป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ เป็นการเรียนที่มุ่งพัฒนา ความสามารถ ความถนัดและความสนใจของผู้เรียน นอกจากสถานศึกษาจะทบทวนการเรียนรู้ในกลุ่มสาระ ตา่ ง ๆ ท่ไี ด้เรียนรตู้ ามมาตรฐานการเรยี นรู้ทก่ี าหนดไวแ้ ล้ว จะต้องจดั การเรียนแบบบรู ณาการเป็นโครงงานมาก ข้ึน เป็นการเร่ิมทาให้ผู้เรียนได้เข้าใจการศึกษาสู่โลกของการทางานตามความต้องการของท้องถิ่นและสังคม นวตั กรรมดา้ นการสอนและประสบการณ์ในการทางานด้านต่าง ๆ แม้แต่การเรียนภาษาก็สามารถเป็นช่องทาง ส่โู ลกของการทางานได้ ต้องชแี้ จงใหผ้ เู้ รียนได้ทราบว่าสังคมในอนาคตจะอยู่บนพ้ืนฐานของความรู้ สถานศึกษา จึงต้องจัดบรรยากาศให้มีสภาพแห่งการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์ เป็นตัวอย่างแก่สังคม และควรจัดรายวิชาหรือ โครงงานท่สี นองความถนัด ความสนใจของผเู้ รียนเพิม่ ขนึ้ ดว้ ย

ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๔-๖ ซง่ึ เป็นช่วงสดุ ท้ายของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน สถานศึกษาต้องจัดการเรียนรู้เพ่ือ เตรยี มตัวให้ผู้เรียนมคี วามพร้อมในการศึกษาต่อในระดับท่ีสูงขึ้นหรือการประกอบอาชีพ ดังนั้นสถานศึกษาควร จดั การเรยี นการสอนเพอ่ื มงุ่ ส่งเสรมิ ความถนดั และความสนใจของผ้เู รียนในลกั ษณะรายวิชาหรอื โครงงาน แนวทางการจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษา เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร จั ด ท า ห ลั ก สู ต ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ด า เ นิ น ไ ป อย่ า ง มีป ร ะ สิ ทธิ ภ า พแ ล ะ บ ร ร ลุ ต า ม ท่ี คา ด ห วั ง กระทรวงศกึ ษาธิการจงึ กาหนดแนวทางการดาเนนิ งานดังน้ี ๑. การจัดทาสาระของหลกั สูตร มีข้นั ตอนดงั นี้ ๑.๑ กาหนดผลการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค โดยวิเคราะห์จากมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ในแต่ ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ และจัดเป็นผลการเรียนรู้ การกาหนดการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคควรระบุถึงความรู้ ความสามารถของผ้เู รยี นซึ่งจะเกิดขึน้ หลังจากการเรียนรใู้ นแตล่ ะปหี รือแต่ละภาคนนั้ ๆ การกาหนดผลการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคของสาระการเรียนรู้ของรายวิชาท่ีมีความเข้ม (Honour Course) ให้สถานศึกษากาหนดไดต้ ามความเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั การจัดรายวชิ า ๑.๒ กาหนดสาระการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค โดยวิเคราะห์จากผลการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคท่ี กาหนดไว้ใน ๑.๑ ให้สอดคล้องกับสาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ช่วงชั้น รวมท้งั สอดคลอ้ งกับสภาพและความต้องการของทอ้ งถ่นิ และของชุมชน ๑.๓ กาหนดเวลาและหรือจานวนหน่วยกิตสาหรับสาระการเรียนรู้รายภาคทั้งสาระการเรียนรู้พื้นฐาน และสาระการเรยี นรทู้ ี่สถานศกึ ษากาหนดเพิ่มเติมขนึ้ ๑.๔ จดั ทาคาอธิบายรายวิชา ทาได้โดยนาผลการเรียนรู้รายปีหรือรายภาค สาระการเรียนรู้รายปีหรือ รายภาค รวมทั้งเวลาและจานวนหน่วยกิตท่ีกาหนดไว้นามาเขียนเป็นคาอธิบายรายวิชา ประกอบด้วยช่ือ รายวชิ า จานวนเวลาหรอื จานวนหนว่ ยกิต มาตรฐานการเรยี นรู้ และสาระการเรยี นรูข้ องรายวชิ าน้ัน ๆ แนวทางในการกาหนดชอ่ื รายวิชาคือ ชอื่ รายวิชาของสาระการเรียนรู้ให้ใช้ตามช่ือกลุ่มสาระการเรียนรู้ ส่วนช่ือท่ีสถานศึกษาจัดทาเพ่ิมเติม สามารถกาหนดได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องสื่อความหมายได้ชัดเจน และสอดคลอ้ งกับสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไวใ้ นรายวชิ านนั้ ๑.๕ จดั ทาหน่วยการเรยี นรู้ โดยนาสาระการเรยี นรู้รายปีหรือรายภาคที่กาหนดไว้บูรณาการจัดทาเป็น หน่วยการเรียนรู้หน่วยย่อย ๆ เพื่อสะดวกในการจัดการเรียนรู้และผู้เรียนได้เรียนรู้ในลักษณะองค์รวม หน่วย การเรียนรูแ้ ตล่ ะหน่วยประกอบด้วย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ และจานวนเวลาสาหรับการจัดการ เรียนรู้ เม่ือเรียนครบทุกหน่วยย่อยแล้ว ผู้เรียนสามารถบรรลุตามผลการเรียนรู้รายปีหรือรายภาคของทุก รายวิชา ในการจัดทาหน่วยการเรียนรู้ อาจบูรณาการท้ังภายในสาระการเรียนรู้กลุ่มเดียวกัน เช่น บูรณาการ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์กับเคมี ชีววิทยาและฟิสิกส์ เป็นต้น และระหว่างสาระการเรียนรู้ เช่น อาจจะ บูรณาการระหว่างสาระการเรียนรู้ของวิทยาศาสตร์กับสังคมและคณิตศาสตร์ เป็นต้น หรือบูรณาการเฉพาะ เรอื่ งตามลกั ษณะสาระการเรยี นรู้ หรือบูรณาการให้สอดคลอ้ งกบั วิถชี วี ิตของผู้เรียน โดยพิจารณาจากมาตรฐาน การเรียนรูท้ ี่เกีย่ วเนือ่ งสัมพนั ธก์ นั การจัดการเรยี นรู้สาหรับหน่วยการเรยี นร้ใู นแต่ละช่วงช้นั สถานศึกษาต้องจัด ให้ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้โดยการปฏบิ ตั ิโครงงานอยา่ งนอ้ ย ๑ โครงงาน ๒. การจดั กจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนเข้าร่วมกิจกรรมให้เหมาะสมกับวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คลของผู้เรยี น โดยคานึงถงึ สิ่งต่อไปน้ี

๒.๑ จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเก้ือกูลส่งเสริมการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ เช่น การบูรณาการ โครงงาน องค์ความร้จู ากกล่มุ สาระการเรียนรู้ เปน็ ตน้ ๒.๒ จดั กจิ กรรมตามความสนใจ ความถนดั ตามธรรมชาติ ความสามารถ และความต้องการของผู้เรียน และชมุ ชน เชน่ ชมรมทางวชิ าการต่าง ๆ เปน็ ตน้ ๒.๓ จัดกิจกรรมเพอ่ื ปลูกฝังและสร้างจิตสานกึ ในการทาประโยชน์ต่อสังคม เช่น กิจกรรมลูกเสือ เนตร นารี เป็นตน้ ๒.๔ จัดกจิ กรรมประเภทบริการดา้ นตา่ ง ๆ ฝึกการทางานท่เี ป็นประโยชน์ตอ่ ตนเองและสว่ นรวม ๒.๕ ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างเปน็ ระบบ ๓. การกาหนดคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สถานศึกษาต้องร่วมกับชุมชนกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือเป็นเป้าหมายในการพัฒนา ผเู้ รียนดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ ม คุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่สถานศึกษาจะกาหนดเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์น้ัน สามารถ กาหนดข้ึนได้ตามความต้องการ โดยให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาและความจาเป็นท่ีจะต้องปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและคา่ นิยมดังกลา่ วใหแ้ กผ่ เู้ รียนเพมิ่ จากทก่ี าหนดไว้ในกลุม่ สาระการเรียนรตู้ ่าง ๆ ในแต่ละภาคเรียนหรือปีการศกึ ษา ครผู ู้สอนตอ้ งวดั และประเมินผลรวมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนโดยประเมนิ เชงิ วินจิ ฉัยเพ่ือปรบั ปรงุ พฒั นาและส่งต่อ ทั้งน้ีควรประสานสัมพันธ์กับผู้เรียน ผู้ปกครอง และผเู้ ก่ียวข้อง รว่ มกนั ประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์เปน็ รายปหี รือรายภาค สถานศึกษาต้องจัดให้มีการวัดและประเมินผลรวมด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน เพ่ือให้ ทราบความก้าวหน้าและพัฒนาการของผเู้ รยี น และนาไปกาหนดแผนกลยุทธ์ในการปรับปรุงพัฒนาคุณลักษณะ ของผ้เู รยี นให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย เอกสารที่ไดแ้ จก ๑) เอกสารประกอบการประชมุ ปฏิบตั ิการฯ จานวน ๑ เล่ม ๒) เอกสารตัวชว้ี ัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) จานวน ๑ เลม่ ๓) เอกสารตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) จานวน ๑ เล่ม ๔) เอกสารการเทียบเคียงตัวชว้ี ัดและผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ และสาระเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) จานวน ๑ เลม่ ๒. ประโยชน์ที่ไดร้ บั  พัฒนางานให้มคี ณุ ภาพและผลสมั ฤทธยิ์ ง่ิ ขน้ึ  พฒั นาตนเอง  พฒั นาผเู้ รียน เพิ่มพนู ประสบการณ์ ข้าพเจ้าจะนาความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะหรืออื่น ๆ ที่ได้รับในการไปราชการในคร้ังน้ี มาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนางานของโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา ให้ดีย่ิงข้ึนคือ โดยจะได้นาความรแู้ ละประสบการณ์ที่ไดร้ ับจากการไปในครัง้ นมี้ าพฒั นางานหลักสูตรของโรงเรยี นให้ดีขน้ึ



ภาคผนวก



ภาพกจิ กรรมการเป็นวิทยากรโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชาติ (O-NET) กจิ กรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวดั และประเมินผลตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐)

ภาพกจิ กรรมการเป็นวิทยากรโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ชาติ (O-NET) กจิ กรรมการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวดั และประเมินผลตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรงุ ๒๕๖๐)