Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการไปราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑

รายงานผลการไปราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2021-10-12 04:24:58

Description: นายครรชิต แซ่โฮ่ ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ ปฏิบัติหน้าที่ ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ได้เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่ สำหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑ ระหว่างวันที่ ๑๑-๑๓ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ ณ ห้องปรัชุมนิบพยัคฆ์ อาคารสำนักงานอธิการบดี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช จัดโดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราชร่วมกับ สสวท.

Search

Read the Text Version

ศตวรรษท่ี ๒๑ และเพ่ือสร้างความร่วมมือกับ สสวท. ในการขับเคลื่อนและผลักดันการยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาและการเรียนรู้ของโรงเรียนในท้องถ่ิน ท้ังนี้ได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่งจากทีม Master Trainers จาก กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคใต้ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต มหาวิทยาลัยราช ภัฏสุราษฎร์ธานี และมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ผู้เข้าร่วมการอบรมเป็นคณะครูและคณาจารย์จาก มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภาคใต้ทง้ั หมด ๕ จานวน ๑๖๐ คน กจิ กรรมท่ี ๑ PISA คืออะไร โปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรือ PISA) ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organisation for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพของระบบ การศึกษาของประเทศต่าง ๆ ในการ เตรียมความพร้อมให้เยาวชนมีศักยภาพหรือความสามารถพ้ืนฐานที่ จาเป็นต่อการดารงชีวิตในโลกท่ีมีการเปลี่ยนแปลง โดย PISA เน้นการประเมินสมรรถนะของนักเรียนเกี่ยวกับ การใช้ความรูแ้ ละทักษะในชีวิตจริงมากกว่าการเรียนรู้ตามหลักสูตรในโรงเรียน ปัจจุบันน้ีมีประเทศจากทั่วโลก เขา้ รว่ ม PISA มากกวา่ ๘๐ ประเทศ PISA ประเมนิ อะไร PISA ประเมินสมรรถนะท่ีเรียกว่า Literacy ซ่ึงในท่ีนี้จะใช้คาว่า “ความฉลาดรู้” และ PISA เลือก ประเมินความฉลาดรู้ในสามด้าน ได้แก่ ความฉลาดรู้ด้านการอ่าน (Reading Literacy) ความฉลาดรู้ด้าน คณติ ศาสตร์ (Mathematical Literacy) และความฉลาดรู้ดา้ นวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA ได้แบ่งการประเมินออกเป็น ๒ รอบ กล่าวคือ รอบท่ี ๑ (Phase I: PISA ๒๐๐๐ PISA ๒๐๐๓ และ PISA ๒๐๐๖) และรอบท่ี ๒ (Phase II: PISA ๒๐๐๙ PISA ๒๐๑๒ และ PISA ๒๐๑๕) ในการประเมินผล นักเรยี นจะวดั ความรู้ท้ัง ๓ ดา้ น แต่จะเน้นหนักในด้านใดด้านหนงึ่ ในการประเมนิ แตล่ ะระยะ กลา่ วคือ การประเมินผลระยะที่ ๑ (PISA ๒๐๐๐ และ PISA ๒๐๐๙) เน้นด้านการอ่าน (น้าหนักข้อสอบด้าน การอา่ น ๖๐% และที่เหลือเป็นด้าน คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตรอ์ ย่างละ ๒๐%) การประเมินผลระยะท่ี ๒ (PISA ๒๐๐๓ และ PISA ๒๐๑๒) เน้นด้านคณิตศาสตร์ (น้าหนักข้อสอบ ด้านคณิตศาสตร์ ๖๐% และด้านการอา่ นและวทิ ยาศาสตร์อย่างละ ๒๐%) การประเมินผลระยะที่ ๓ (PISA ๒๐๐๖ และ PISA ๒๐๑๕) เน้นด้านวิทยาศาสตร์ (น้าหนักข้อสอบ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ๖๐% และด้านการอา่ นและคณิตศาสตร์อย่างละ ๒๐%) นอกจากข้อสอบของ PISA จะประเมินความฉลาดรู้ (Literacy) ในสามด้าน ได้แก่ ความฉลาดรู้ด้าน การอา่ น (Reading Literacy) ความฉลาดรูด้ ้านคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และความฉลาดรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) แล้ว ยังมีการสารวจข้อมูลพื้นฐานของนักเรียน และการจัดการเรียนการ สอน ข้อสอบของ PISA มีความน่าสนใจและท้ายทาย โดยมีหลากหลายสถานการณ์ในชีวิตจริงให้นักเรียน อา่ น แตล่ ะสถานการณอ์ าจมีหลายคาถามและหลากหลายรปู แบบในการตอบคาถาม เช่น เลือกตอบ เขียนตอบ สัน้ ๆ และเขยี นอธิบายในการประเมนิ ทผ่ี า่ นมา นกั เรยี นจะทาข้อสอบในเลม่ แบบทดสอบ PISA ประเมินใคร PISA เลือกประเมินนกั เรยี นอายุ ๑๕ ปี ซ่งึ เปน็ วัยทีจ่ บการศกึ ษาภาคบงั คบั การสุ่มตัวอย่างนักเรียนทา ตามระบบอย่างเคร่งครัด เพื่อประกันว่านักเรียนเป็นตัวแทนของนักเรียนท้ังระบบ อีกทั้งการวิจัยในทุกขั้นตอน ต้องอยู่ภายใต้การควบคุมดูแลของ OECD ทุกประเทศต้องทาตามกฎเกณฑ์และวิธีการท่ีกาหนดอย่างเคร่งครัด

เพ่ือให้การวิจัยมีคุณภาพอยู่ในระดับเดียวกัน และข้อมูลของทุกประเทศมีมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้สามารถ นามาวิเคราะห์ร่วมกันได้ และตามข้อตกลงในการดาเนิน PISA ของ OECD ไม่อนุญาตให้เปิดเผยรายชื่อของ โรงเรียนกล่มุ ตัวอยา่ ง สาหรับ PISA ประเทศไทย ได้กาหนดกรอบการสุ่มตัวอย่าง (sampling frame) เป็นนักเรียนอายุ ๑๕ ปี ทีก่ าลงั ศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ข้ึนไป จากโรงเรียนทุกสังกัด ได้แก่ โรงเรียนในสังกัดของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โรงเรียนใน สังกัดสานกั การศึกษา กรงุ เทพมหานคร โรงเรียนในสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย โรงเรียนสาธิตของมหาวิทยาลัย สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และวิทยาลัยในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา จานวนโรงเรียนและนักเรยี นกลุ่มตัวอย่างในการประเมนิ ผลของ PISA PISA ประเทศไทยเร่มิ เมอ่ื ใด ประเทศไทยเข้าร่วม PISA ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๓ (PISA ๒๐๐๐) และดาเนินการต่อเน่ืองมาใน PISA ๒๐๐๓, PISA ๒๐๐๖, PISA ๒๐๐๙ และ PISA ๒๐๑๒ โดยจัดการประเมินต่อเนื่องทุกสามปี ซ่ึงขณะนี้อยู่ ในชว่ งดาเนินงาน PISA ๒๐๑๕ และ PISA ๒๐๑๘ ประเทศไทยไดอ้ ะไรจากการเข้าร่วม PISA ประเทศไทยไม่ใช่สมาชิก OECD แต่สมัครเข้าร่วม PISA ในฐานะประเทศร่วม (Partner countries) เพื่อต้องการตรวจสอบคุณภาพของระบบการศึกษา และสมรรถนะของนักเรียนวัยจบการศึกษาภาคบังคับของ ชาตเิ ก่ียวกบั ความร้แู ละทักษะที่จาเปน็ สาหรบั อนาคต โดยใช้มาตรฐานของประเทศที่พัฒนาแล้วเป็นเกณฑ์ช้ีวัด ผลสมั ฤทธิ์จากการทาแบบทดสอบและขอ้ มลู เกยี่ วกบั ตวั นกั เรยี น รวมท้งั ข้อมลู นโยบาย การบริหารจัดการ และ การจัดการเรียนการสอนจากผบู้ รหิ ารของโรงเรียนทาใหไ้ ดข้ ้อมลู คุณภาพการศึกษาของประเทศทั้งน้ีเพ่ือนาไปสู่ การประเมินและพัฒนานโยบายทางการศึกษาการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมไปถงึ การจัดการเรยี นการสอนของประเทศให้มีคุณภาพทัดเทียมกับนานาชาติต่อไป PISA THAILAND ใครเป็นผูด้ าเนนิ การ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ เป็นผู้ดาเนิน โปรแกรมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล หรือ PISA ในประเทศไทย โดยประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานภายนอกทั้งในและต่างประเทศเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างเต็มประสิทธิภาพและบรรลุ เปา้ หมาย สาหรบั การดาเนนิ งานภายในประเทศ สสวท. ได้แต่งต้ังคณะกรรมการระดับชาติ ซ่ึงประกอบไปด้วย ผู้แทนจากสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน สานกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร และสานักประสานและพัฒนาการ

จดั การศกึ ษาท้องถนิ่ กรมการปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน กระทรวงมหาดไทย โดยมีบทบาทหน้าท่ีในการให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ และติดต่อประสานงานกับโรงเรียนกลุม่ ตวั อยา่ ง กิจกรรมท่ี ๒ การวิเคราะห์ตัวชีว้ ัดการเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะ PISA การวิเคราะห์ตัวช้ีวัดการเรียนรู้และสมรรถนะ PISA โดยศึกษาตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และสมรรถนะ PISA วิชาคณติ ศาสตร์ รายละเอียดเพม่ิ เติมเก่ยี วกับตวั ชี้วดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ในระดับชน้ั อน่ื ๆ สามารถสบื คน้ ไดจ้ ากหนงั สอื คู่มอื ในลงิ ค์น้ี https://qrgo.page.link/NciPj หรอื QR code ดา้ นขวามือน้ี สมรรถนะของ PISA ในวิชาคณติ ศาสตร์ การมีความรู้ในเนื้อหา (content) คณิตศาสตร์เพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอต่อการแก้ปัญหา (problem solving) แต่ต้องอาศัย กระบวนการทางคณิตศาสตร์ (mathematical process) ร่วมด้วย กระบวนการเหล่าน้ีถือเป็น สมรรถนะทางคณิตศาสตร์ (mathematical competency) ซึ่งจะสะท้อนและ อธบิ ายวิธกี ารคิดให้เปน็ คณติ ศาสตรเ์ พื่อเชอื่ มโยงบริบทของปัญหากับคณิตศาสตร์ แลว้ นาไปสกู่ ารแกป้ ัญหา ในที่นี้จะเรียกแต่ละ “กระบวนการ” ว่าเป็น “สมรรถนะ” แทน โดยในแต่ละสมรรถนะจะแบ่งเป็น ความสามารถย่อยต่าง ๆ เพ่ือให้ง่ายต่อการอ่านและความเข้าใจโดยในการสอบ PISA ๒๐๑๒ ๒๐๑๕ และ ๒๐๑๘ กระบวนการทางคณิตศาสตร์แบง่ ออกเปน็ ๓ กระบวนการดังต่อไปน้ี สมรรถนะที่ ๑ การคิดสถานการณ์ของปญั หาในเชิงคณติ ศาสตร์ (Formulating situations in mathematical terms) ๑.๑ การระบุประเด็นทางคณิตศาสตร์ของปัญหาที่ต้ังอยู่ในบริบทโลกชีวิตจริง และการระบุตัวแปรที่ สาคญั ๑.๒ การรู้โครงสร้างทางคณิตศาสตร์ (รวมถึง กฎเกณฑ์ ความสัมพันธ์ และแบบรูป) ของปัญหาหรือ สถานการณ์ ๑.๓ การทาสถานการณห์ รือปญั หาให้อยู่ในรปู อย่างงา่ ย เพ่อื ทาให้การวเิ คราะห์ทางคณิตศาสตร์งา่ ยขน้ึ ๑.๔ การระบุข้อจากัดและสมมติฐานท่ีอยู่เบ้ืองหลังแบบจาลองทางคณิตศาสตร์และจากการทาให้อยู่ ในรูปอยา่ งงา่ ยท่รี วบรวมไดจ้ ากบรบิ ท ๑.๕ การแสดงแทนสถานการณ์ในเชิงคณิตศาสตร์ โดยการใช้ตัวแปร สัญลักษณ์ แผนภาพ และแบบ จาลองมาตรฐานท่เี หมาะสม ๑.๖ การแสดงแทนปัญหาในหลากหลายวิธี รวมถึงการจัดการกับปัญหาให้สอดคล้องกับแนวคิดทาง คณติ ศาสตร์ และการสรา้ งสมมติฐานทเ่ี หมาะสม ๑.๗ การรู้ เข้าใจ และการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างภาษาเฉพาะกับบริบทของปัญหากับภาษาท่ี เป็นสัญลักษณแ์ ละภาษาอย่างเปน็ ทางการทจ่ี าเป็นต้องใชใ้ นการแสดงเชิงคณิตศาสตร์ ๑.๘ การแปลงปัญหาให้อยู่ในรูปของภาษาทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงแทนการรู้แง่มุมต่าง ๆ ของ ปญั หา ซ่งึ สอดคลอ้ งกับปัญหาทร่ี ู้หรือแนวคดิ หลกั ทางคณติ ศาสตร์ท่ีรูจ้ กั ข้อเทจ็ จรงิ หรือวธิ ีดาเนนิ การ ๑.๙ การใช้เทคโนโลยีเพื่อแสดงความสัมพันธ์ภายในปัญหาที่อยู่ในสถานการณ์เชิงคณิตศาสตร์ (เช่น ตารางโปรแกรมทางาน หรือรายการทม่ี ีใหบ้ นเครอื่ งคานวณเชงิ กราฟ)

สมรรถนะที่ ๒ การใชห้ ลกั การและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ในการแก้ปญั หา (Application) ๒.๑ การคดิ และนากลยุทธ์ในการหาวิธีแก้ปัญหาทางคณติ ศาสตรไ์ ปใช้ ๒.๒ การใชเ้ คร่ืองมือทางคณิตศาสตร์ รวมทัง้ เทคโนโลยีเพอื่ ช่วยหาวิธีแกป้ ัญหาทถี่ ูกต้องหรือเหมาะสม ๒.๓ การนาขอ้ เท็จจริง กฎเกณฑ์ ขัน้ ตอนวธิ ี และโครงสรา้ งทางคณิตศาสตรม์ าใช้ในการแก้ปญั หา ๒.๔ การดาเนินการในเรื่องจานวน ข้อมูลและข้อสนเทศเกี่ยวกับกราฟและสถิติ นิพจน์พีชคณิตและ สมการและการแสดงแทนทางเรขาคณิต ๒.๕ การสรา้ งแผนภาพ กราฟ และโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ และการสกัดข้อมูลทางคณิตศาสตร์จาก ส่งิ เหล่านั้น ๒.๖ การใช้และการสลบั ที่ระหวา่ งการใช้สญั ลกั ษณ์ตา่ ง ๆ ในกระบวนการแก้ปญั หา ๒.๗ การสร้างข้อสรุปท่ัวไปบนพ้ืนฐานของผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการนาวิธีการดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ไปใชใ้ นการแกป้ ัญหา ๒.๘ การสะท้อนข้อโต้แย้งทางคณิตศาสตร์ การอธิบายและการแสดงเหตุผลต่อผลลัพธ์ทาง คณติ ศาสตร์ สมรรถนะท่ี ๓ การตคี วามและประเมนิ ผลลพั ธท์ างคณิตศาสตร์ (Interpretation) ๓.๑ การตคี วามผลลัพธท์ างคณิตศาสตรก์ ลับไปที่บริบทโลกชวี ิตจริง ๓.๒ การประเมินความเปน็ เหตุเป็นผลของวิธแี ก้ปัญหาทางคณิตศาสตรใ์ นบรบิ ทของปญั หาโลกชีวติ จริง ๓.๓ ความเข้าใจว่าบริบทในชีวิตจริงส่งผลกระทบต่อผลลัพธ์และวิธีคิดคานวณทางคณิตศาสตร์หรือ แบบจาลองอยา่ งไร เพอื่ ตดั สนิ ว่าจะต้องปรับปรงุ หรือนาผลไปใช้ในสถานการณ์ได้อย่างไร ๓.๔ การอธิบายไดว้ ่าเพราะเหตใุ ดผลลัพธห์ รอื ขอ้ สรุปทางคณติ ศาสตรจ์ งึ เหมาะสมหรือไม่เหมาะสมกับ บริบทของปญั หา ๓.๕ ความเข้าใจขอบเขตและขอ้ จากัดของแนวคดิ คณิตศาสตร์และวิธแี ก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ๓.๖ การวิจารณแ์ ละระบุขอ้ จากัดของแบบจาลองทใ่ี ช้แก้ปัญหา ตวั อย่างการวิเคราะหค์ วามสัมพันธ์ระหว่างตัวช้ีวดั ฯ กับสมรรถนะ PISA ของวิชาคณติ ศาสตร์

การจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่เน้นสมรรถนะ PISA กับตัวชี้วัดฯ วิชาคณิตศาสตร์ รายละเอียด ศกึ ษาจากเอกสารท่แี นบมาดว้ ย ตัวอยา่ งขอ้ สอบคณติ ศาสตร์ PISA ๑. ขอ้ สอบคณิตศาสตร์ PISA ๒๐๑๒ ๒๐๑๕ และ ๒๐๑๘ เน่ืองจากการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของ PISA ในปี ค.ศ. ๒๐๑๒ ๒๐๑๕ และ ๒๐๑๘ จะใช้กรอบการ ประเมินเดียวกัน ในที่นี้จึงสามารถศึกษาตัวอย่างข้อสอบคณิตศาสตร์ PISA ๒๐๑๒ ได้ซึ่งเผยแพร่ไว้ในหนังสือ ทง้ั ในรูปแบบภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เอกสารทไี่ ดร้ ับ จานวน ๑ เล่ม ๑) เอกสารประกอบการอบรมคณติ ศาสตร์ฯ ๒. ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั  พัฒนางานให้มคี ุณภาพและผลสมั ฤทธิ์ยง่ิ ขึ้น  พัฒนาตนเอง  พฒั นาผเู้ รียน เพ่มิ พูนประสบการณ์ ข้าพเจ้าจะนาความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ ทักษะหรืออ่ืน ๆ ท่ีได้รับในการไปราชการในครั้งน้ี มาเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน และพัฒนางานของโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จังหวัดยะลา ให้ดียิ่งข้ึนคือ โดยจะได้นาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการไปในครั้งนี้มาพัฒนางานการจัดการเรียนการสอนของ โรงเรียนคณะราษฎรบารงุ จังหวดั ยะลาใหด้ ขี น้ึ ในคร้งั ต่อไป



ภาคผนวก







ภาพกิจกรรม

ภาพกจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพ่ิมศกั ยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครบู ุคใหม่ สาหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑

ภาพกจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพ่ิมศกั ยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครบู ุคใหม่ สาหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑

ภาพกจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพ่ิมศกั ยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครบู ุคใหม่ สาหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑

ภาพกจิ กรรมการประชุมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเพ่ิมศกั ยภาพครใู ห้มสี มรรถนะของครบู ุคใหม่ สาหรับการเรียนรู้ศตรวรรษที่ ๒๑