การเขียนโปรแกรมไพธอนเบอื้ งตน้ จัดทําโดย 033 ปวช.1/1 คธ นางสาว ชมพู่ แผลงกระโทก 034 ปวช.1/1 คธ นางสาว เบญจวรรณ มาดาเมนทร์ 021 ปวช.1/1 คธ นางสาว ชลณิชา สงวนอาภรณ์ 041ปวช.1/1 คธ นางสาว รมิดา หีบไธสง
คํานํา รายงานฉบบั น้เี ปนสว นหนึ่งของ วิชาหลกั การเขียนโปรแกรม ปวช.1/1 คอมพวิ เตอรธ ุรกจิ ในเร่อื ง การเขยี นโปรแกรมไพธอนเบอื้ งตน จดั ทาํ ขน้ึ เพ่อื การศึกษาคนควา ความรูเพ่อื ที่จะเอาไปใชจริง เปน เนือ้ หาสอนการเขียน โปรแกรมไพธอนเชน วิธเี ขียน ตัวอยางการเขียน หวังเปนอยา งยง่ิ วา รายงานฉบับนีจ้ ะมปี ระโยชนส ําหรับผูอา นทกุ ๆคน
สารบัญ 4 6 สวนประกอบของโปรแกรมไพธอน(The Anatomy of a Python Program) 7 คาํ สงวนในภาษาไพธอน (Reserved Words) 8 การตง้ั ชอื่ ตวั แปรในไพธอน Naming การใชง านตัวแปรไพธอน (Variadles) 16 ฟงกชนั ทใ่ี ชก บั ตวั แปร 17 27 เขียนโปรแกรมครง้ั แรกกบั ไพธอน 29 ความผิดพลาดจากโปรแกรม (Bugs) 30 การแสดงผลลพั ธท างจอภาพ 31 การรบั อนิ พตุ ทางคียบอรด การรบั คา ตวั เลขจาํ นวนเตม็ ใน Python 3
4 ส่วนประกอบของโปรแกรมไพธอน (The Anatomy of a Python Program) คุณจะไดเรยี นรูแ ละทําความเขา ใจในโครงของภาษา Python ในภาษาคอมพิวเตอรน ั้นก็มโี ครงสรา ง ของภาษาเชนเดยี วกกับภาษามนุษย ซึ่งสิง่ เหลา นถ้ี กู กําหนดเพือ่ เปนรปู แบบและวธิ ีในการเขยี นโปรแกรม ในภาษา Python มนั ใชส ําหรับควบคมุ วิธีท่ีคณุ จะเขยี นโคดของคุณเพ่ือใหเขาใจโดยตัวแปรภาษาหรือ คอมไพเลอรSimple Python program เพ่อื เร่มิ ตน การเรียนรูในภาษา Python มาดตู วั อยางของ โปรแกรมอยา งงาย โดยเปนโปรแกรมที่ถามชอ่ื ผูใชและแสดงขอ ความทักทายทางหนาจอ มาเร่ิมเขยี น โปรแกรมแรกในภาษา Python ของคุณ ใหค ดั ลอกโปรแกรมขางลางแลวนาํ ไปรนั ใน IDE # My first Python program name = input('What is your name?\\n') print ('Hi, %s.' % name) print ('Welcome to Python.')
5 (ตอ)ในตวั อยางเปนโปรแกรมในการรับชื่อและแสดงขอ ความทกั ทายออกทางหนาจอ ในการรนั โปรแกรมคุณสามารถรันไดห ลายวธิ ี แตทแ่ี นะนาํ คอื การใช Python shell ใหคณุ เปด Python shell ขึน้ มาแลวกดสรา งไฟลใ หมโ ดยไปท่ี File -> New File จะปรากฏกลอ ง Text editor ของภาษา Python ขน้ึ มา เพอ่ื รนั โปรแกรม Run -> Run Module หรอื กด F5 โปรแกรมจะเปลยี่ นกลบั ไปยงั Python shell และเร่ิมตนทาํ งาน น่ีเปน ผลลพั ธก ารทํางานในการรันโปรแกรม first.py จาก Python shell ในตัวอยา งเราไดก รอกชือ่ เปน \"Mateo\" และหลงั จากนน้ั โปรแกรมไดแ สดงขอ ความทักทายและจบการทํางาน ในตอนน้ีคุณยงั ไมตอ ง กังวลวา โปรแกรมในแตละบรรทดั นัน้ ทํางานยงั ไง ซึง่ เราจะอธิบายในตอไป
คําสงวนในภาษาไพธอน (Reserved Words) 6 เหมือนๆกับทกุ ภาษาท่จี ะตอ งมีคาํ สงวนทหี่ า มใหโปรแกรมเมอร หา มตั้งชื่อตวั แปรซํ้ากบั คําสงวน ภาษา ไพธอนกเ็ ปน ภาษาหน่ึงทมี่ ีคาํ สงวนที่สงวนไวสําหรบั ตวั แปลภาษาไพธอนเหมือนกัน ซึ่งเราก็ตองรูไว เหมือนกนั วา ไพธอน มีคําใดบา งท่เี ปนคสงวน ดังแสดงตามตารางดา นลา งนี้ คาํ สงวนในภาษาไพรอน and assert break class continue def del elif alse except exec finally for from global if import in is lamda not or pass print saise returm try while yield
การต้ังช่ือตัวแปรในไพธอน Naming 7 1) หา มข้นึ ตนดว ยตัวเลข 2) ชื่อตัวแปรหามมชี อ งวาง 3) ตวั พมิ พเลก็ ใหญของภาษาอังกฤษมีความแตกตา งกนั 4) หามใชเคร่ืองหมายพเิ ศษหรอื เครอ่ื งหมายดําเนนิ การตางๆ 5) หา มซํ้ากับคําสงวนของภาษา python
การใช้งานตัวแปรไพธอน (Variadles) 8 ตัวแปร (variable) คอื ชื่อหรอื เครื่องหมายทกี่ าํ หนดข้นึ สาํ หรับใชเก็บคาในหนวยความจาํ ตัวแปรจะมชี ื่อ (identifier) สําหรบั ใชในการอา งถงึ ขอ มลู ของมัน ในการเขยี นโปรแกรม คาของตัวแปรสามารถที่จะ กําหนดไดใน run-time หรือเปลย่ี นแปลงอยูตลอดเวลาในขณะทีโ่ ปรแกรมทาํ งาน (executing) ในการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอรน ้นั ตัวแปรจะแตกตา งจากตวั แปรในทางคณิตศาสตร คาของตวั แปร นั้นไมจําเปน ตองประกอบไปดว ยสตู รหรอื สมการทสี่ มบรู ณเหมอื นกบั ในคณิตศาสตร ในคอมพวิ เตอร ตัวแปรน้ันอาจจะมีการทํางานซํา้ ๆ เชน การกาํ หนดคา ในที่หนึง่ และนําไปใชอกี ที่หนึ่งในโปรแกรม และ นอกจากนยี้ งั สามารถกําหนดคาใหมใหกบั ตวั แปรไดตลอดเวลา ตอ ไปเปน ตัวอยา งของการประกาศ ตัวแปรในภาษา Python
9 (ตอ ) a=3 b = 4.92 c = \"marcuscode.com\" c = 10.5 ในตวั อยาง เราไดทาํ การประกาศ 3 ตัวแปร ในการประกาศตัวแปรในภาษา Python คณุ ไมจ ําเปน ตอ ง ระบุประเภทของตวั แปรในตอนท่ีประกาศเหมือนในภาษา C ในตัวแปร a มคี า เปน 3 และเปนประเภทเปน Integer ตัวแปร b มคี าเปน 4.92 และเปน ประเภทเปน Float และตวั แปร c มคี าเปน \"marcuscode.com\" และเปนประเภท String ภายหลงั เราไดเ ปลีย่ นคา ของตัวแปร c เปน 10.5 ตัวแปรกลายเปนประเภท Float
(ตอ ) 10 a, b = 1, 2 x = y = z = 10 print(\"a = \" , a) print(\"b = \" , b) print(\"x = \" , x) print(\"y = \" , y) print(\"z = \" , z) ในภาษา Python นน้ั สนับสนนุ การกําหนดคาใหกบั ตวั แปรหลายคาในคาํ สั่งเดียว ในตวั อยา ง เปน การ กําหนดคา 1 และ 2 กับตัวแปร a และ b ตามลาํ ดับ และในคําสั่งตอ มาเปน การกาํ หนดคา 10 ใหกับ ตวั แปร x y และ z ซึง่ ทาํ ใหก ารเขียนโปรแกรมสะดวกและรวดเรว็ มากขึน้
11 Numbers ในภาษา Python น้นั สนับสนุนขอมูลแบบตวั เลข ซ่ึงขอ มูลประเภทนจ้ี ะแบงออกเปน Integer Float Decimal และ Complex อยางไรก็ตามเราจะเนนย้าํ ใน Integer ซง่ึ เปนการเกบ็ ขอมูลแบบจาํ นวนเต็ม และ Float เปน ขอ มลู แบบจาํ นวนจริง สําหรับประเภทแบบ Decimal น้นั แตกตางไปจาก Float คอื สามารถเกบ็ ความละเอียดของจดุ ทศนยิ มไดมากกวา นอกจากนี้ Python ยงั สนุนตวั เลขในรูปแบบ Complex ทีแ่ สดงในแบบ a +bj ตอ ไปเปน ตวอยางในการประกาศและใชงานตวั แปรแบบตวั เลขใน ภาษา Python
(ตอ) 12 # Integer a=7 b=3 c=a+b d=a/b print ('a = %d' % a) print ('b = %d' % b) print ('c = %d' % c) print ('d = ', d) ในตัวอยา ง เปนการประกาศและใชงานตวั แปรประเภท Integer เราไดทาํ การประกาศตัวแปรและกาํ หนด คา ใหกับ a และ b ในการแสดงผลในรูปแบบของ String format กบั ฟง กช ัน print() นนั้ จะใช specifier เปน %d เราสามารถกําหนดคาใหกบั ตัวแปรไดโดย Literal หรือ Expression และการหาร ตัวเลขในภาษา Python นนั้ จะไดค า เปน Float เสมอ ถึงแมตัวเลขทัง้ สองจะเปน Integer กต็ าม เชนใน ตวั แปร d
(ตอ ) 13 a = 7 b = 3 c = 10 d = 2.3333333333333335 น่เี ปนผลลพั ธก ารทํางานของโปรแกรม # Floating point number speed = 34.12 pi = 22 / 7 height = 2.31E5 length = 1.3E-3 print ('speed = %f' % speed) print ('pi = %f' % pi) print ('height = %f' % height) print ('length = %f' % length) print (pi) ตอไปเปน การประกาศและใชง านตวั แปรประเภท Float หรอื ตวั เลขท่ีมีจดุ ทศนิยม ในการกําหนดคา ใกกบั ตัวแปรน้ันเมอื่ คณุ กาํ หนดคา ทม่ี ีจุดนั้นตัวเลขจะเปนประเภท Float อตั โนมัติ เราสามารถกําหนดคา โดยตรงหรือในรปู แบบของ Expression ได และนอกจากน้ใี นภาษา Python ยงั สามารถกําหนดในรปู แบบสัญกรณวทิ ยาศาสตรไดเ หมือนในตัวแปร height ซึ่งหมายถงึ 2.31 x 10 ^ 5 และในตัวแปร
14 Strings Strings นนั้ เปน ประเภทขอ มูลท่ีสาํ คญั และใชงานท่วั ไปในการเขียนโปรแกรม ในภาษาเขียนโปรแกรม สวนมากแลว จะมีประเภทขอ มูลแบบ String และในภาษา Python เชนกนั String เปนลําดบั ของตวั อกั ษร หลายตัวเรียงตอกัน ซึง่ ในภาษา Python นั้น String จะอยูในเครือ่ งหมาย Double quote หรอื Single quote เทานัน้ นอกจากนี้ในภาษา Python ยงั มีฟง กช นั ในการจัดการกับ String มากมายซงึ่ เราจะพูดอกี ครั้งในบทของ String ในบทนี้มาทําความรจู ักกับ String เบ้ืองตนกันกอ น name = \"Mateo\" country = \"Ukrain\" language = 'Python'interest = 'Mountain Everest' ในตวั อยา ง เปนการประกาศตวั แปรประเภท String สองตวั แปรแรกเปนการประโดยการใช Double quote และสองตัวแปรตอมเ ปนการใช Single quote ซึ่งคุณสามารถใชแบบไหนก็ได แตมสี ิ่งทีแ่ ตกตาง กนั เลก็ นอยคือเกยี่ วกบั การกําหนดตวั อกั พเิ ศษหรอื เรียกวา Escape character
Lists 15 Lists เปนประเภทขอมูลทเี่ ก็บขอมูลแบบเปนชุดและลําดบั กลาวคือมนั สามารถเกบ็ ขอ มลู ไดห ลายคา ใน ตวั แปรเดยี ว และมี Index สําหรบั เขาถึงขอมูล ในภาษา Python น้นั List จะเปน เหมือนอาเรยในภาษา C มนั สามารถเก็บขอ มูลไดหลายตัวและยงั สามารถเปน ประเภทขอ มลู ท่แี ตกตางกนั ไดอีกดวย มาดูการ ประกาศและใชง าน List ในเบอ้ื งตน # Declare lists numbers = [1, 2, 4, 6, 8, 19] names = [\"Mateo\", \"Danny\", \"James\", \"Thomas\", \"Luke\"] mixed = [-2, 5, 84.2, \"Mountain\", \"Python\"] # Display lists print(numbers) print(names) print(mixed) # Display lists using the for loops for n in numbers: print(n, end=\" \") print() for n in names: print(n, end=\" \")print()for n in mixed: print(n, end=\" \")print()
ฟงั กช์ ันท่ใี ช้กับตัวแปร 16 ในภาษา Python นน้ั มฟี งกช นั ท่สี รางมาเพอ่ื ใหใชง านกบั ตัวแปร เชน ฟง กชันสาํ หรบั หาขนาดของ ตัวแปร ฟงกช ันในการหาประเภทของตัวแปร ฟงกชนั ลบตวั แปรออกไปในหนว ยความจํา และฟง กชนั ใน การตรวจสอบวาตวั แปรมอี ยูหรือไม ซง่ึ ในบางครัง้ การเขยี นโปรแกรมก็จําเปนที่คุณอาจจะตอ งมีการ ตรวจสอบส่งิ เหลา นใ้ี นขณะทีโ่ ปรแกรมทาํ งาน นีเ่ ปนตวั อยางการใชง าน import sys a = 8 b = 13.4 c = \"Python\" d = [1, 2, 3, 4] print('Size of a = ', sys.getsizeof(a)) print('Type of a = ', type(a)) print('Size of b = ', sys.getsizeof(b))print('Type of b = ', type(b)) print('Size of c = ', sys.getsizeof(c))print('Type of c = ', type(c)) print('Size of d = ', sys.getsizeof(d)) print('Type of d = ', type(d))del a del b, c, d if 'a' in locals(): print(\"a is exist\") else: print(\"a is not exist\")
เขียนโปรแกรมคร้ังแรกกบั ไพธอน 17 แนะนาํ หนาตา งการทาํ งานของ IDLE การเขียนโปรแกรมดวยภาษาไพธอนมีวิธกี ารเขียนได 2 วธิ ีไดแก การเขยี นโปรแกรมผา นไพธอ นเชลล หรือทเ่ี รียกวา IDLE (Python GUI) เปน การทาํ งานโตตอบกับผใู ชทันที กับวธิ ที ่ีเรยี กวา ด อสเชลล หรอื คําส่งั สครปิ ต ตอ งเขียนคาํ สั่งดวยไพธอนอดี เิ ตอร ไดเ ปน Source Code ของภาษาไพธอ น หลงั จากน้นั ตอ งสั่งใหโ ปรแกรมบันทึกเปน นามสกลุ แบบ .py
ความแตกต่างของ Shell Window และ Edit Window (ต่อ) 18 การใชงานในเร่ืองของระบบปฏิบตั กิ ารบนคอมพวิ เตอรน้นั เราสามารถใชง านไดต ามทีเ่ ราถนดั และความ สะดวกในการใชง าน ซึ่งระบบปฏิบัติการในแตล ะแบบน้ันจะมีความแตกตางหรอื ลักษณะการใชง านท่ี แตกตางกนั อออกไปอาจจะมบี างสว นที่ทําใชงานมคี วามคลา ยกนั แตถงึ ยงั ไงลักษณะการทาํ งานของ แตละระบบปฏิบัตกิ ารก็ไมไ ดมีความแตกตา งอะไรกันมากนัก อยูท่ีลักษณะการใชงานของ User มากกวา วาตองการใชง านในสวนไหน
Python IDLE กับโค้ดหลากสี 19 คณุ จะไดเรียนรกู ารเขียนโปรแกรมในภาษา Python ในพื้นฐานจนถึงระดับสูง เราจะสอนเก่ียวกับการ เขยี นโปรแกรมภาษา Python ในเบ้ืองตน โครงสรางของภาษา ตวั แปรและประเภทขอ มลู ตัวดําเนนิ การ อาเรยแ ละฟง กชัน และนอกจากนเี้ รายังครอบคลมุ การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (OOP) ในภาษา Python บทเรียนของเราจะเปน การเขียนโปรแกรมบน Console และเปนแบบ Interactive shell เปน สว นมากและ เราใช Python เวอรช นั 3 ซงึ่ เปนเวอรชนั ลา สุดซง่ึ จะมบี างอยางทแ่ี ตกตางจากเวอรช นั กอนหนา ใน บทเรยี นมตี ัวอยางและคําอธบิ ายเพ่ือชวยใหคณุ เขาใจในหลกั ของภาษา Python มากขึ้นPython เปน ภาษาเขยี นโปรแกรมระดับสูงทใี่ ชก นั อยา งกวางขวางในการเขยี นโปรแกรมสําหรับวตั ถุประสงคท่ัวไป ภาษา Python นน้ั สรา งโดย Guido van Rossum และถูกเผยแพรครงั้ แรกในป 1991 Python นนั้ เปน ภาษาแบบ interprete ทีถ่ กู ออกแบบโดยมีปรญั ชาที่จะทําใหโ คด อา นไดงา ยข้นึ
20 (ตอ ) ภาษา Python นัน้ กาํ เนดิ ขึน้ ในปลายป 1980 และการพัฒนาของมันนน้ั เรมิ่ ตน ใน December 1989 โดย Guido van Rossum ท่ี Centrum Wiskunde & Informatica (CWI) ในประเทศเนเธอรแลนด เนอื่ งในผูประสบความสําเร็จในการสรางภาษา ABC ทม่ี คี วามสามารถสาํ หรับการ exception handling และการตดิ ตอ ผสานกับระบบปฏบิ ตั กิ าร Amoeba ซ่ึง Van Rossum นั้นเปน ผูเขียนหลกั การของภาษา Python และเขาทาํ หนาเปนกลางในการตดั สินใจสําหรับทศิ ทางการพฒั นาของภาษา Pythonหลงั จาก คณุ ไดเสร็จส้ินบทเรียนของภาษา Python น้ี คุณจะรูจักกับภาษา Python และโครงสรางของภาษา และ คณุ จะสามารถเขยี นโปรแกรมดว ยภาษา Python ต้ังแตการสรา งแอพพลเิ คชันอยางงา ยไปจนถึง โปรแกรมการคาํ นวณท่ซี บั ซอ น และเขา ใจหลักกการสาํ คญั ในการเขยี นโปรแกรมท้งั ในพนื้ ฐานท้งั หมด และในขนั้ สงู ท่ีเปนการเขียนโปรแกรมแบบเชิงวัตถุ
มือใหม่หัดใช้งาน Python IDLE 21 การเขยี นโปรแกรมดวยภาษาไพธอนมีวธิ ีการเขียนได 2 วธิ ไี ดแก การเขยี นโปรแกรมผา นไพธอนเชลล หรือท่เี รยี กวา IDLE (Python GUI) เปน การทาํ งานโตต อบกบั ผูใชทันที กบั วธิ ที ี่เรยี กวา ดอสเชลล หรอื คาํ สั่ง สคริปต ตองเขียนคาํ สั่งดวยไพธอนอีดิเตอร ไดเปน Source Code ของภาษาไพธอน หลงั จากนนั้ ตอ งสงั่ ให โปรแกรมบันทึกเปน นามสกลุ แบบ .py วิธที ี่ 1 IDLE (Python GUI) ในโหมดนช้ี วยใหผูเ ขียนโปรแกรมทาํ งานโตตอบกับภาษาไพธอน ไดโดยตรง เมื่อเขียนคาํ สงั่ เสรจ็ ในหนงึ่ ชุดคําสง่ั โปรแกรมจะเอก็ ซซีคิวตท นั ที มจี ุดเดนทีส่ ีของตวั อักษร และพรอ็ มพ โดย มีเครอ่ื งหมาย >>> แทนการรอรับคาํ สัง่ ดังภาพ
(ตอ ) 22 วธิ ีที่ 2 โดยการเปด File > New window หรอื กดปมุ Ctrl+N จากหนา ตา ง Python GUI ของวิธีท่ี 1 หลงั จากนั้นใหพ ิมพคําสั่งตา ง ๆ ลงไป เหมอื นกับอีดเิ ตอรอื่น ๆ ซง่ึ จะไมม สี ญั ลักษณ prompt >>> อยู ดา นหนาบรรทดั ดงั ภาพ
(ตอ) 23 ขน้ั ตอนตอไปคือการสง่ั Run โปรแกรมหรอื การ execute เพอื่ ใหโปรแกรมประมวลผลคําส่งั ใหได ผลลัพธต ามตองการ การสงั่ Run โดยการคลกิ เลือกรายการ Run เลอื กตวั เลือก Run Module หรือกดปมุ คียลดั F5 โปรแกรมจะเปดไพธอน เชลล มาแสดงผลการทํางานดังรูป
(ตอ ) 24 ในการขยี นคําสั่งผูเขียนจะตอ งเขยี นใหถ ูกตองตามหลักไวยากรณ ของภาษาไพธอนทกุ ๆ กรณี การ เขียนคําสัง่ ผดิ พลาดแมเ พยี งอกั ขระเดียว โปรแกรมไมสามารถจะ Run ไดแตโ ปรแกรมจะบอกตาํ แหนง ที่ ผดิ พลาด คอยแนะนาํ ใหผเู ขยี นทราบวา ผดิ ในสว นใดบาง จะแจงบรรทัดที่เขียนผิด ดังรูปภาพดา นลาง ตอ ไปนี้
มือใหม่หัดเขียนโปรแกรมคร้ังแรก 25 ● เลอื กภาษาอะไรดี ภาษาโปรแกรมในปจ จุบันมหี ลากหลายภาษามาก ทกุ ภาษามีขอดขี อ ดอ ยและขอ จํากดั ตางกนั การ เลอื กภาษาทจ่ี ะเขียนมีปจ จยั หลายอยางประกอบ 1. Application ทีต่ องการจะทาํ เชน Win App หรือ Web App หรอื Mobile App เราคงตองเลือกสักอยางเพอ่ื จะได โฟกสั ไดถ กู ท่ีตอนเร่มิ ตน 2. เปาหมายงานท่ีตอ งการจะทาํ ในอนาคต สาํ หรบั คนท่ีมีเปา หมายจะทํางานบริษทั หากมีบริษทั ในใจแลว ก็ตองคํานงึ วา บริษัทเปา หมายทต่ี อ งการเขาใชภาษาอะไรในการทาํ งาน ตอ งเลือกใหถ กู (ผดิ ภาษาเขาอาจไมรบั เนอ) สว นคนท่ี คดิ จะเปนฟรแี ลนซ แนะนาํ ใหเ ลอื กภาษาตามเทรน็ ด (หัวขอ ถัดไป) 3. เทรน็ ด หรือ ความนิยมในตัวภาษา จะบอกเราวา ภาษาน้ีจะมีอนาคตแคไ หน เนอื่ งจากการเขียนโปรแกรมเดียวกัน มันสามารถสรางไดจ ากหลายภาษา เชน Web App สามารถสรางจาก PHP ASP หรอื JAVA ...... ได ถาภาษา ไหนมแี นวโนม จะไมเปนท่นี ิยมในอนาคต ก็ไมค วรเลอื กเรียนภาษาน้ันๆ 4. ชมุ ชน หรือ Community ในสมยั นีเ้ วลาที่ตดิ ขดั อะไรมนั ไมยากเหมอื นสมยั ผมอีกแลว เพราะสมัยน้มี อี นิ เตอรเ น็ตท่ี สามารถเขา ถึงไดงา ย การศึกษา เรยี นรู ตอบขอสงสัยตา งๆ หรือแมกระทง่ั ติดขดั อะไร สามารถหาไดจ ากอินเต อรเน็ต หรอื สอบถามไดจากชุมชน ยง่ิ ชมุ ชนมีความแขง็ แกรง มสี มาชกิ เยอะ นัน่ หมายความวา ภาษานนั้ ๆมอี นาคต กวา 5. เครือ่ งมอื ทตี่ อ งใช อันน้คี ือตน ทนุ แบบหนึ่ง ทเี่ ราจะตองจัดหามาในตอนเริ่มตน ยกตัวอยา งเชน จะเขยี น IOS App ก็ คงตองมเี ครอ่ื งคอมพวิ เตอร Apple ในการเขยี น หรอื Web App ซึ่ง Server PHP หางายกวา ASP
● เรมิ่ ตน กาวแรก (ตอ ) 26 สิ่งทีต่ อ งเรียนรจู รงิ ๆในตอนเริม่ ตน คือ รปู แบบวิธีการเขียนของแตล ะภาษา การใชคําสั่งพน้ื ฐานตางๆ เชน if case for while หรอื ฟง กช น่ั พนื้ ฐาน เชน echo print กฏเกณฑก ารสรา งโปรแกรมเพอ่ื ใหไ ด โปรแกรมอยา งงาย (Hello World) ● กา วทส่ี อง สรา งโปรแกรมเพื่อแกป ญหาใหต ัวเอง โดยมองวาเรามีปญ หาอะไนในชีวติ บาง แลว เลือกสรา งโปแก รมเพือ่ แกปญหานัน้ ๆ เชน 30 แลว ยังไมมีเมีย สรา งแอปหาคมู นั ซะเลย ถาสดุ ทายเราไดค จู ากโปรแกรมที่ เราสรา ง นนั่ หมายความวา เราเขยี นโปรแกรมไดแลว การสรางโปรแกรมเพือ่ แกปญหาใหต วั เอง เราจะมี ตวั เองเปน คนตรวจสอบวา โปรแกรมท่เี ราสราง สามารถใชงานไดจริงหรอื ไม มขี อผิดพลาดหรอื ไม หรือ จะปรบั ปรงุ ยังไงได ● กาวท่สี าม ทักษะที่ควรมีและการพัฒนา ทักษะทจ่ี ะขาดไมไดข องการโปรแกรมเมอรคอื อัลกอริทึม การไมเ ขา ใจส่ิงนจี้ ะทําใหเ ราเขยี นโปรแกรม ไดอ ยา งจํากดั หรอื เขยี นไดย ากขนึ้ ยกตวั อยา งเชน ถา เราเกงคณิตศาตร เราก็สามารถเขียนโปรแกรม จําพวก Photoshop ได แตถ า เราไมเ กง สิง่ ทเ่ี ราทาํ ไดอ าจเปน แคโปรแกรม Paint (การประมวลผล รปู ภาพอาศยั การคํานวณทางคณติ ศาตรใ นการทาํ งาน) แตท กั ษะเหลา นี้สามารถฝก ฝนได ยิง่ ถา เรามี ประสบกรณมากข้ึนเทาไร ทักษะดานน้ีก็จะพอกพูนมากขนึ้ เปน ลําดับ
ความผิดพลาดจากโปรแกรม (Bugs) 27 1. บ๊กั ตวั เล็กๆหรอื ความผดิ พลาดเล็กนอยก็สะเทอื นถึงดวงดาวแอนโดรเมดา อันไกลโพน มาก เชน แคล ืม ใสส ญั ลักษณบ อกการจบบรรทัดหรอื พารามเิ ตอรอยางเซมิโคลอนหรือวงเลบ็ ปดทไี่ หนสกั แหงจนทําใหรนั โปรแกรมไมไ ด คุณกต็ อ งนง่ั ไลเช็คทลี ะตวั อักษรจนตาแทบบอด แมแตชองวางหรอื ยอ หนา ในภาษายอด นิยมอยา ง Python แตป จจุบันมโี ปรแกรมแกไ ขโคดหรอื IDE มากมายทมี่ ีฟเจอรคน หาบั๊กตัวกะจิดริด พวกน้ีไดบา ง จนสามารถชวยคุณประหยดั เวลาไดหลายช่วั โมง 2. บ๊ักมโน คดิ เอาเองวามี แลวก็เสยี เวลาคนหาส่ิงทไี่ มม จี รงิ ในจกั รวาลน้ี ท้งั ท่ีสาเหตุจรงิ ๆ ไมไ ดม าจาก โคดเลย เชน คอมไพเลอรมีปญหาหรอื ลาสมยั ไมไดอพั เดทรองรับฟง กชัน่ ใหมๆ หรอื ปญหามาจากเพ่งิ อัพเดทคอมไพเลอรใ หมแลวโคดเดิมกลบั มปี ญ หา เชน อัพเดทเวอรช ั่นPHP ปบุ รนั โคด แลวเออเรอ ปบ จนดาวนเ กรดแทบไมท นั
28 (ตอ) 3. บ๊ักจรงิ ๆ บ๊ักตัวเปงๆเพราะคุณพลาดแบบจริงจังอนั เกดิ ความไมรู เชน การใสค ําสง่ั ผิดหรอื ไมเขากนั หรือเลือกใช กาํ หนดคา ประเภทอากวิ เมนตตางๆ จนทํางานเขา กนั ไมได อาจเปนความผิดพลาดเชงิ ฟง กช ่นั คณติ , ตรรกะหรอื โฟลวก ารทาํ งาน, ไปจนถึงการลิงคทรพั ยากรตางๆ ผิด การกําหนดสทิ ธ์ิการ เขาถงึ ไมถูกตอง เปนตน ปจจุบนั คอมไพเลอรด ๆี ก็มักช้แี จงเหตุผลทร่ี ันโคด มปี ญ หาใหค ุณรูและแกไขได ตรงจุดมากขน้ึ 4. บกั๊ ซอ นเรน บั๊กท่ีไมเ ห็นระหวา งการคอมไพล แตพอใชง านจริงแลว กลับเจอสิ่งท่ใี มพึงประสงคต า งๆ พฤติกรรมแปลกๆ หรอื โปรแกรมคา ง ทงั้ ๆ ทค่ี อมไพเลอรไมเหน็ ฟอ งอะไรขึ้นมา นอกจากน้บี ๊ักซอนแอบน้ี อาจจะอยูในรูปชอ งโหวทท่ี าํ ใหซอฟตแ วรม ีชองโหวจ นโดนแฮค็ จากภายนอกใหเกดิ ปญหาไดด ว ย 5. บกั๊ เซอรไพรส!กอนหนา นเี้ คยรันดๆี วนั นเ้ี กิดรวั่ ขนึ้ มาทั้งที่ไมม ีใครไปยงุ อะไรกบั มัน ท้งั น้ี ย่งิ คุณเลอะ กบั การดบี ๊ัก ก็ยงิ่ เยอะประสบการณและใชเ วลาแกไ ขบก๊ั ไดเ ร็วยง่ิ ข้ึน อยา งไรกด็ ี ขอ สรปุ ของโปรแกรมเม อรท ัว่ โลกทเี่ คยโดนบก๊ั เพิ่มจาํ นวนตัวเองหลายเทา ระหวา งการแกไขบ๊ักเล็กบก๊ั นอยนั้นคอื ถาโคดมนั เสถยี รอยูแลว อยาไดไปแตะตอ งอะไรมนั เชียว
การแสดงผลลัพธ์ทางจอภาพ 29 การแสดงผลออกทางหนา จอการทํางานพื้นฐานที่สดุ หรอื เรยี กไดวา เปนสว นหนึง่ ในการทาํ งานของทกุ โปรแกรมคอื การแสดงผลขอ มลู ออกทางจอภาพ โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลขอ มูลออกทางจอ สามารถทําไดด งั นค้ี าํ ส่งั printfคําสง่ั printf ถอื ไดว าเปน คาํ ส่งั พื้นฐานทส่ี ุดในการแสดงผลขอ มลู ทุกชนิด ออกทางหนา จอไมวา จะเปนจาํ นวนเต็ม int ทศนยิ ม float ขอความ string หรอื อกั ขระ นอกจากนคี้ ําส่ัง ยังมีความยดื หยุนสงู โดยเราสามารถกาํ หนดหรือจัดรปู แบบการแสดงผลใหมรี ะเบียบหรือเหมาะสมตาม ความตองการไดอ กี ดวยรูปแบบคําสั่ง prinft()printf (“format”,variable); format ขอมูลท่ีตองการแสดงผลออกทางหนาจอ โดยขอมลู นตี้ อ งเขียนไวใ นเครอื่ งหมาย” ” ขอ มลู ที่ สามารถแสดงผลไดม ีอยู 2 ประเภท คอื ขอความธรรมดา และคา ท่เี ก็บไวใ นตัวแปร ซง่ึ ถา เปนคาท่เี กบ็ ไว ในตวั แปรตองใสร หัสควบคมุ รปู แบบใหต รงกับชนิดของขอมลู ทเ่ี กบ็ ไวใ นตวั แปรน้นั ดว ย
การรับอินพุตทางคีย์บอร์ด (ต่อ) 30 การรบั คาขอมูล (Input) จากคยี บอรดใน Python เปน เรื่องพ้นื ฐานที่นักพัฒนาโปรแกรมไมว าภาษาไหนก็ ตองเรียนรูดวยครบั เมือ่ ตอน Python 2 มคี าํ สัง่ รับคา ขอ มลู จากคยี บอรด ดวยคําส่ัง raw_input()แตใ น Python 3 ปจ จบุ ันน้ไี ดม ีการเปลยี่ นแปลงคาํ ส่งั นิดหนอ ยจาก raw_input() เปน input() ครับ หากผูอา นเคย ใช Python 2 เปลยี่ นมาใช Python 3 สามารถนํามาใชงานงาย ๆ แคแ กไขโคดนดิ หนอ ยสําหรับคาํ ส่งั นี้ ครับ การรับค่า String ข้อความ ใน Python 3 ใช input() โดยมรี ปู แบบการใชง านดงั นคี้ รบั text = input(\"Enter some text \")
การรับค่าตัวเลขจํานวนเต็มใน Python 3 (ต่อ) 31 ตองใช int มาใชง านกบั input() เพอ่ื กาํ หนดใหรบั คา ขอมลู ไดเฉพาะทเ่ี ปนจาํ นวนเตม็ (-1 , 0 , 1) โดยใช คําสง่ั int(input()) โดยมรี ปู แบบการใชงานดังนคี้ รบั number = int(input(\"Enter a integer: \")) การรับค่าเลขทศนิยมใน Python 3 ตอ งใช float มาใชง านกบั input() เพื่อกําหนดใหร บั คาขอมูลท่ีเปนเลขทศนยิ มได (-1.84 , 0.96 , 1.78) โดยใชคาํ สั่ง float(input()) โดยมรี ปู แบบการใชง านดงั น้คี รบั floating = float(input(\"Enter a floating point number: \")) กรณที ่เี ขียนโปรแกรมโดยใชค ําสั่ง input() ไปแลว ตอ งการแปลงคา ขอมูลทร่ี ับมาเปนตัวเลขเพ่ือนําไป คํานวณ เชน number = input(\"Enter some text \") #กําหนดตัวแปร number ใหร บั คา ขอ มูล anumber = float(number) #เปลีย่ นขอ มูลท่ีรับมาในตวั แปร number ใหสามารถแปลงเปน เลข ทศนยิ ม
สรุปท้ายบท 32 ภาษาไพธอนเปนโปแกรมคอมพิวเตอรท ีไ่ ดร ับความเปน นิยมเปน อยางมากในปจจบุ ัน เพราะมรี ปู แบบการ เรียนทง่ี า ย กระชบั และสามารถใชในการพฒั นาโปรแกรมไดหลายประเภท เชน โปรแกรมประยกุ ตใื ชงาน เกม เวบ็ แอปพลเิ คชน่ั หรือการทํางานดว ย Data Sclence และ Macchine Learning เปนตน ซึ่ง ในบทนี้จะชวยใหนกั เรยี นเหน็ ความสาํ คญั ของโปรแกรมและจุดเดน ท่ีสําคญั ของภาษาไพธอนท่ีแตกตาง โปนแกรมภาษาอ่นื ๆ พรอ มกบั การเริ่มตน ติดตัง้ โปรแกรมและทดลองเขียนโปรแกรมดว ยภาษาไพธอน เบือ้ งตน
บรรณานุกรม http://marcuscode.com/lang/python/program-struct https://pythonlanguage64.wordpress.com/%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0% B8%A7%E0%B8%99/ http://marcuscode.com/lang/python/variables-and-types https://www.apple.com/th/numbers/ http://marcuscode.com/lang/python/variables-and-types http://marcuscode.com/lang/python
ประวตั ิส่วนตัว นางสาว ชมพู่ แผลงกระโทก ชอื่ นางสาว ชมพู่ แผลงกระโทก ชอ่ื เลน่ ชมพู่ อายุ 16 ปี เกิดวันท่ี 15/11/2546 กําลงั ศึกษาท่ี วทิ ยาลยั เทคนิ คปทมุ ธานี แผนกคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ปวช.1/1 จบการศึกษามาจาก โรงเรยี นวดั บอ่ เงนิ
ประวตั สิ ่วนตวั นางสาว เบญจวรรณ มาดาเมนทร์ ชอื่ นางสาว เบญจวรรณ มาดาเมนทร์ ชอื่ เลน่ แจง อายุ 16 ปี วนั เกิด 21 ตลุ าคม 2546 กาํ ลังศึกษาท่ี วทิ ยาลัยเทคนิ คปทมุ ธานี แผนก คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ปวช.1/1 จบการศึกษามาจาก โรงเรยี นวัดบอ่ เงนิ
ประวตั ิส่วนตัว นางสาวชลณิชา สงวนอาภรณ์ ชอื่ นาวสาว ชลณิชา สงวนอาภรณ์ ชอื่ เล่น เบล อายุ 16 ปี เกดิ วนั ท่ี 13/10/2546 กําลงั ศึกษาท่ี วทิ ยาลยั เทคนิ คปทมุ ธานี แผนกคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ปวช.1/1 จบการศึกษามาจาก โรงเรยี นอนบุ าลวดั บางนางบุญ
ประวตั ิส่วนตัว นางสาว รมิดา หีบไธสง ชอื่ นาวสาว รมดิ า หีบไธสง ชอื่ เลน่ น้ิ ง อายุ 16 ปี เกิดวนั ท่ี 29/07/2546 กําลังศึกษาท่ี วิทยาลยั เทคนิ คปทมุ ธานี แผนกคอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ ปวช.1/1 จบการศึกษามาจาก โรงเรยี นวรราชาทนิ ั ดดามาตวุ ิทยา
อาจารย์ผสู้ อน อาจารย์ : วลิ าวลั ย์ วัชโรทยั รายวชิ า : หลักการเขยี นโปรแกรม (รหัสวชิ า 20204-2004) ตําหน่ ง : ครู วทิ ยฐานะครูชาํ นาญการ แผนกวชิ า : คอมพิวเตอรธ์ ุระกจิ วิทยาลยั เทคนิ คปทมุ ธานี E-mail : [email protected]
75 หมู่ 5 ต.บ้านกลาง อ.เมือง จ.ปทุมธานี วิทยาลัยเทคนิ คปทมุ ธานี (Pathumthai TechnicalCollege) แผนกคอมพิวเตอรธ์ ุระกิจ (BusinessComputer)
Search
Read the Text Version
- 1 - 39
Pages: