Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Published by ED-APHEIT, 2021-07-06 07:11:36

Description: วารสาร ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 ก.ค-ธ.ค. 63

Search

Read the Text Version

วารสารวิทยาลัยครศุ าสตร์ ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2563) นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู้ด้วย BPAP Model ปุณยภัสร์ ธนาเลศิ วรวงศ์ การปรับตวั ของเด็กไทยใหม้ สี มรรถนะต่อระบบการศึกษาไทยในความปกติใหม่ นฤมล บัญญตั ิ การพฒั นาครไู ทยในยุคศตวรรษท่ี 21 : ความท้าทายของการจัดการศึกษาไทย ชมพนู ุท ผวิ ผอ่ ง นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคใหม่ อรรถพล หอมจันทร์ อนาคตของเทคโนโลยสี ารสนเทศ และนวตั กรรมทางการศกึ ษา เอกกริช อกั โข การส่งเสริมการใชส้ ่ืออิเล็กทรอนกิ สเ์ พื่อยกระดบั คุณภาพการศึกษา นนั ทนา กัณหา เทคโนโลยกี ับการเรยี นภาษาจีนในศตวรรษที่ 21 สนุ สิ า สิงห์ลอ การจัดการความขัดแยง้ ในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 2 วนิดา เนาวนติ ย์ การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวชิ าชีพครูในสถานศึกษาเอกชนสายสามญั ควบคู่ศาสนาอิสลาม กรงุ เทพมหานคร มานิดา วงษ์สันต์ การบรหิ ารงานกิจการนกั ศกึ ษาจีนในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัย นานาชาติจนี มหาวิทยาลัยธรุ กิจบัณฑิตย์ Junheng Wang

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) ก เจ้าของ วิทยาลยั ครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กิจบัณฑติ ย์ 110/1-4 ถนนประชาชื่น เขตหลักสี่ กรงุ เทพ 10210 คณะทปี่ รกึ ษา ศาสตราจารย์ ดร.ไพฑรู ย์ สนิ ลารตั น์ รองศาสตราจารย์ ดร.อทุ ยั บุญประเสริฐ รองศาสตราจารย์ ดร.กลา้ ทองขาว ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิรธิ รังศรี บรรณาธิการ กองจดั การ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยากร ชว่ ยทุกข์เพ่อื น นางสาวนริ ดา บรรจงเปลยี่ น ผชู้ ว่ ยบรรณาธิการ ออกแบบรูปเลม่ -จัดหนา้ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วิสฤตาภา กองบรรณาธกิ าร อาจารย์ ดร.พงษภ์ ิญโญ แมน้ โกศล กาหนดออก ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นกั รบ หม้แี สน ราย 6 เดอื น (ปีละ 2 ฉบบั ) พมิ พ์ท่ี โรงพิมพม์ หาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์ ทศั นะขอ้ คิดใดๆที่ปรากฏใน CES journal วารสารวชิ าการวทิ ยาลัยครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บัณฑติ ย์ เปน็ ทัศนะวิจารณอ์ สิ ระ ทางคณะผจู้ ดั ทา ไม่จาเป็นต้องเห็นด้วยกบั ทัศนะข้อคดิ เห็นเหล่านั้นแต่ประการใด ลขิ สิทธบิ์ ทความเป็นของ ผูเ้ ขียนและวารสารและไดร้ บั การสงวนลิขสิทธิ์ตามกฎหมาย

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) ข รายชือ่ ผ้ทู รงคุณวุฒกิ ล่นั กรองบทความ (Peer Review) รองศาสตราจารย์ ดร.ทองอินทร์ วงศ์โสธร นักวชิ าการ รองศาสตราจารย์ ดร.อทุ ยั บุญประเสรฐิ มหาวิทยาลัยธรุ กิจบณั ฑิตย์ รองศาสตราจารย์ ดร.กลา้ ทองขาว มหาวทิ ยาลยั ธุรกิจบัณฑติ ย์ รองศาสตราจารย์ ดร.พิณสุดา สิริธรงั ศรี มหาวิทยาลยั ธรุ กจิ บัณฑติ ย์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พนารัตน์ ลม้ิ มหาวิทยาลัยธุรกิจบณั ฑิตย์ รองศาสตราจารย์ ดร.นฤนันท์ สุริยมณี มหาวทิ ยาลัยมหิดล ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นกั รบ ระวังการณ์ มหาวิทยาลัยมหิดล รองศาสตราจารย์ ดร.พรอ้ มพไิ ล บัวสุวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.เอ้ือจิต พฒั นจกั ร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ รองศาสตราจารย์ ดร.ทวศี ักดิ์ จนิ ดานุรักษ์ มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สนิ ธะวา คามดษิ ฐ์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศรุดา ชยั สวุ รรณ สถาบันการจดั การปญั ญาภวิ ฒั น์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วราภรณ์ ไทยมา มหาวิทยาลยั ศรีปทุม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นักรบ หม้ีแสน มหาวิทยาลัยธุรกจิ บัณฑิตย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วาสนา วสิ ฤตาภา มหาวทิ ยาลัยธุรกจิ บัณฑติ ย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนนิ ันท์ พฤกษ์ประมูล มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉววี รรณ สีสม มหาวิทยาลยั การกีฬาแหง่ ชาติ ประจาวทิ ยาเขตมหาสารคาม อาจารย์ ดร.พงษภ์ ิญโญ แม้นโกศล มหาวิทยาลัยธรุ กจิ บณั ฑิตย์ อาจารย์ ดร.วชิรศรณ์ แสงสวุ รรณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) ค สารบญั รายชอ่ื ผู้ทรงคณุ วฒุ กิ ลั่นกรองบทความ (Peer Review) .............................................................. ข บททบรรณาธิการ.................................................................................................... 4 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ดว้ ย BPAP Model.................................................................. 5 การปรบั ตัวของเด็กไทยใหม้ ีสมรรถนะต่อระบบการศกึ ษาไทยในความปกตใิ หม่ .................................. 17 การพฒั นาครูไทยในยุคศตวรรษท่ี 21 : ความทา้ ทายของการจดั การศกึ ษาไทย .................................. 31 นวตั กรรมการศึกษาและการเรียนร้อู ยา่ งสร้างสรรคใ์ นสถาบันการศกึ ษายุคใหม่.................................. 41 อนาคตของเทคโนโลยีสารสนเทศ และนวตั กรรมทางการศกึ ษา ................................................. 52 การสง่ เสริมการใชส้ อ่ื อิเลก็ ทรอนกิ สเ์ พือ่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา ............................................. 62 เทคโนโลยีกบั การเรียนภาษาจนี ในศตวรรษที่ 21................................................................ 70 การจัดการความขัดแย้งในสถานศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ............................................................... 82 การปฏิบัตติ ามจรรยาบรรณวิชาชพี ครใู นสถานศึกษาเอกชนสายสามญั ควบคู่ศาสนาอิสลาม กรงุ เทพมหานคร .... 96 การบรหิ ารงานกิจการนกั ศกึ ษาจนี ในสถาบันอดุ มศึกษาเอกชน : กรณีศึกษาวิทยาลัยนานาชาตจิ ีน มหาวิทยาลยั ธุรกจิ บณั ฑติ ย์ ................................................................................................ 108

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 4 บททบรรณาธกิ าร วารสารวิทยาลัยครศุ าสตร์ (CES Journal) ได้เผยแพรอ่ งค์ความรทู้ างดา้ นการศึกษา ดา้ นสงั คมศาสตร์ หรือสาขาที่เก่ียวข้องกับการศึกษา โดยในปีท่ี 6 ฉบับท่ี 11 กรกฎาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2563 เราได้ตีพิมพ์ บทความรวมท้ังส้ิน 10 บทความ ประกอบด้วยบทความวิจัย 3 บทความและ บทความวิชาการ 7 บทความ ซงึ่ นาเสนอองค์ความรูเ้ กยี่ วกบั การจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ การจดั การความ ขัดแย้งในสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และการบรหิ ารงานกิจการนกั ศกึ ษาในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน กองบรรณาธิการขอขอบคุณผู้เขียนทุกท่านท่ีส่งบทความเข้ามาเผยแพร่ยังวารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ (CES Journal) และขอกราบขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่ให้ความกรุณาพิจารณาประเมินผลงานทาง วิชาการ และให้ข้อคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ในการปรับปรุงบทความให้มีความสมบูรณ์ และถูกต้องตามหลัก วชิ าการ กองบรรณาธิการหวงั เป็นอย่างย่ิงว่าดว้ ยความรว่ มมอื ของทกุ ท่านจะช่วยให้วารสารวิทยาลัยครุศาสตร์ (CES Journal) ได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพและมีมาตรฐานในระดับสากล เพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ทาง การศึกษาสูส่ ังคมไทยตอ่ ไป ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธันยากร ช่วยทุกขเ์ พ่อื น Email : [email protected] บรรณาธกิ าร

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 5 นวตั กรรมการจัดการเรียนรู้ด้วย BPAP Model Innovative learning management with the BPAP Model ปุณยภสั ร์ ธนาเลิศวรวงศ*์ Punyapas Thanalertworawongse บทคดั ย่อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยใช้นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วย BPAP Model เพื่อต้องการพัฒนาทักษะของนักเรียนในด้านการคิด เชิงวิพากษ์ และทักษะการแก้ปัญหา ความสามารถในการประเมินข้อมูลที่ซับซ้อน ท้ังยังให้นักเรียนได้รับ ประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วย BPAB Model ซ่ึงถือเป็นนวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ท่ีจดั ประสบการณ์กิจกรรมสร้างสรรค์ ทาให้นักเรียนมึความคิดสร้างสรรค์ทั้งในด้านความคิดคล่องแคล่ว ความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ และความคิดละเอียดลออ และเป็นการฝึกให้นักเรียนได้แสดงความรู้สึกและจินตนาการ สามารถพรรณนาใหเ้ หน็ ภาพท่ชี ัดเจน เพอ่ื ให้เกดิ ลักษณะการคิดทล่ี ะเอียดมีขน้ั ตอนยง่ิ ขน้ึ คาสาคญั : นวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ ทกั ษะการคดิ เชงิ วิพากษ์ ทกั ษะการแก้ปัญหา ABSTRACT This study aimed to study innovation in learning management of primary school students by using the innovative learning management with the BPAP Model to develop students' skills in critical thinking and problem-solving skills. The ability to evaluate complex information It also provides students with a learning experience through learning management with the BPAB Model, a learning management innovation that organizes creative activity experiences. This allows students to be creative in their thinking, fluency, creativity, and thoughtful thoughts which are practice for students to express their feelings and imagination and easy to imagination in order to create a more detailed way of thinking. Keywords: innovation in learning management / Critical thinking skills / Problem solving skills

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 6 บทนา ท่ามกลางกระแสการตื่นตัวดา้ นการศึกษา ผู้คนท่ัวโลกกาลังพดู ถึงการจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่21 และต่างก็ พยายามพัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ใหมๆ่ ขน้ึ มาเพอ่ื ให้ตอบสนองตอ่ การเรยี นรู้ของผเู้ รียนให้มากที่สดุ ซงึ่ เปน็ ท่ี ทราบกันดีว่าในยคุ ปัจจุบันนี้การนาทคโนโลยีเข้ามาปรับปรงุ พัฒนารปู แบบการจัดการเรียนรใู้ ห้ สอดคล้องกับ สังคมยุคปัจจุบัน สมาคมเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ (ISTE) ได้กล่าวถึง มาตรฐานเทคโนโลยี ในหลักสูตร สาหรับนักเรียน ซ่ึงอธิบายเรื่องทักษะจาเป็นเรื่องการคิดเชิงวิพากษ์ การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ ซึ่งหาก นักเรียนสามารถแสดงทักษะการคิดเชิงวิพากษ์เพื่อวางแผน การบริหารโครงการ การแก้ปัญหา และ การ ตดั สินใจจากข้อมูล โดยใช้เครอื่ งมือดิจติ อลและแหลง่ ขอ้ มูลดิจิตอล ทีม่ คี วามเหมาะสมได้แล้วน้นั จะสง่ ผล ตอ่ กระบวนการการเรียนรู้ท่มี ีประสทิ ธภิ าพ (พิมพันธ์ เดชะคุปต์และพเยาว์ ยินดสี ขุ , 2558) กรอบแนวคดิ ของการ จัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กาหนดให้มียุทธศาสตร์สาคัญด้านจัดการเรียนรู้ในเชิงสหวิทยาการ (interdiscriplinary) โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเน้ือหาวชิ าแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทกุ วิชาแกนหลักในส่วนของทักษะดา้ นการเรียนรู้และนวัตกรรม ซ่งึ เป็นตวั กาหนดความพร้อมของ นักเรียนเข้าสู่โลกการทางานท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการแกป้ ัญหา การส่ือสารและการร่วมมือ รวมไปถึง ทักษะด้านสารสนเทศสอ่ื และเทคโนโลยี เน่ืองด้วยการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางส่ือและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมี ความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย ซึ่งทักษะต่างๆมี กระบวนการพัฒนาได้ด้วยพ้ืนฐานทางความคิด ซ่ึงเป็นพื้นฐานของการวางระบบเพ่ือพัฒนาทักษะอย่าง ต่อเน่ือง กระบวนการคิดเป็นฐานของการต่อยอดการคิดในกระบวนการ คือ การคิดวิเคราะห์ ซ่ึงเป็นทักษะ พ้นื ฐานสาคญั ท่จี ะส่งผลให้ผูเ้ รยี นพัฒนาทักษะการคิดคน้ ด้านอนื่ ๆที่สูงขึน้ ซ่งึ จะชว่ ยใหร้ เู้ หตผุ ลเบ้อื งตน้ ของส่ิง ทเ่ี กดิ เข้าใจความเปน็ มาของเหตุการณ์ เพ่อื นามาตัดสนิ ใจแกป้ ญั หา หรอื ตัดสนิ ใจในเรอ่ื ง ต่างๆได้ถูกตอ้ ง ด้วย ความสาคัญดังกล่าวจึงจาเป็นต้องพฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะห์ ให้แก่ผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ท่ีมีบทบาท สาคัญก็คือ ครู ดังนั้น ครูจึงควรทาความเข้าใจ และนากระบวนการคิดวิเคราะห์ มาบูรณาการเข้ากับกิจกรรม การเรียนรู้ให้กับผู้เรียน(มนตรี วงษ์สะพาน, 2556) ท่ีผ่านมา การจัดการเรียนรู้ส่วนใหญ่มักดาเนินตาม กระบวนการป้อนเนื้อหาให้นักเรียนทาความเข้าใจ จดจา แล้วทาแบบฝึกหัดด้วยความเชื่อว่า วิธีการดังกล่าว เปน็ วิธีทด่ี ีทีส่ ุดท่ีจะทาให้นักเรียนมีความรู้ และจดจาไดอ้ ย่างแมน่ ยาแล้วสามารถทาแบบทดสอบแข่งขันในเวที ตา่ งๆได้ซึง่ วิธีการดงั กล่าวจะใชไ้ ด้เฉพาะผเู้ รียนที่มีความจาดเี ทา่ น้นั ท้งั น้ีในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรม การเรียนรู้จึงต้องมุ่งเน้นท่ีการสนับสนุน ผู้เรียนในการสร้างความรู้ (Knowledge Construction Process) เน้นการไตร่ตรองไม่ใช่การจดจาและคิด (How to Think) และที่สาคัญเน้นการเรียนรู้ที่ เรียกว่า ความ เหมาะสมกับประสบการณ์ เชิงพุทธิปัญญาในสภาพจริง (Situating Cognitive Experience) ที่จะต้องสร้าง การเรียนรู้ที่มีความหมายมากกว่าการสอนท่ีเน้นการถ่ายทอด และจดจาหลักการข้อเท็จจริงท่ีมีอยู่ในตารา เท่าน้นั ซ่ึงส่งผลให้ผ้เู รียนไมส่ ามารถประยกุ ต์วธิ กี ารแกป้ ญั หาทต่ี นเองมอี ยู่เดมิ ไปส่กู ารแก้ปญั หาในสถานการณ์ ใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (Jonassen, 1991) จากทฤษฎีการเรียนรู้ตามแนวคิดของมาร์ซาโน(Marzano, 2001) ได้สรุปไว้ว่า กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพนน้ั เริ่มต้นจากแรงกระตุ้นภายในจิตใจที่เกิดแรงจูงใจ

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 7 ให้ผู้เรียนตอบสนองต่อสิ่งใหม่ เม่ือมีแรงจูงใจแล้วจึงนาไปสู่การกาหนดเป้าหมายและขั้นตอนการคิดแล้วจงึ ลง มือปฏิบัติการสร้างความรู้ให้กับตนเอง โดยผ่านกระบวนการใช้ความรู้และการคิดวิเคราะห์ ทาให้เกิดความ เข้าใจอย่างลึกซ้ึงและจดจาได้อย่างฝังลึกจนกระทั่งสามารถดึงออกมาใช้ประโยชน์ได้เมื่อต้องการ ดังน้ัน การ จัดการเรียนรู้จงึ ควรเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดประสบการณจ์ ากการวเิ คราะห์ข้อมูลสิ่งแวดล้อมจนเข้าใจและได้หลักการ แล้วนาหลักการนั้นมาใช้แก้ปัญหาหรือสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ผ่านการคิด วิเคราะห์ เช่น การเปรียบเทียบความเหมือนความต่าง การสรุปความ การทดสอบสมมติฐาน และการให้ โครงสร้างความคดิ ก่อนการเรยี น การสอนซึ่งกิจกรรมเหล่าน้ีทาให้ผู้เรียนได้เรยี นรูอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ เพราะ การวเิ คราะห์เปน็ เคร่อื งมือสาคญั ของกระบวนการสรา้ งความเขา้ ใจและสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใชไ้ ด้อย่าง มหี ลักการกระบวนการคิดวเิ คราะหจ์ ึงเป็นวธิ ีการที่ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นไดฝ้ กึ ฝนทกั ษะการคิดผ่านเคร่ืองมอื กระตุ้น การคดิ แบบตา่ งๆ เช่น การเขียนแผนผัง การเขยี นแผนทคี่ วามคิด และการเขียนผงั มโนทศั น์ เปน็ ตน้ จากเหตุที่ กล่าวมาข้างตน้ ผู้เขียนได้เหน็ ถงึ คุณค่าของการเรียนการสอนที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ ทเ่ี ป็นทกั ษะการ คิดสาคัญที่จะส่งผลต่อการพัฒนาทักษะการคิดด้านอ่ืนๆ จึงสนใจศึกษารูปแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสรมิ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ มุง่ เนน้ เพ่ือให้ไดอ้ งค์ประกอบสาคญั ของการจดั การเรียนการสอน สามารถนามาพัฒนา เป็นกิจกรรม และกาหนดเป็นแนวทางการพัฒนาการเรยี นนการสอนในรายวิชาที่สามารถนาไปประยุกต์ใชไ้ ด้ สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา อันจะก่อให้เกิดความรู้และทักษะที่นาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ตามความมุ่งหมายทางการศึกษาอย่างแท้จริง ซึ่งบทความน้ีจะเสนอนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ด้วย BPAP Model เพอื่ พฒั นารปู แบบนวัตกรรมทางการเรียนรู้ทส่ี ่งเสรมิ ทกั ษะการคิดในศตวรรษที่ 21ให้แก่ผ้เู รียน นวตั กรรม นวัตกรรม (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาสิ่งใหม่ขึ้นมา ในเชิง เศรษฐศาสตร์ความหมายของนวัตกรรม หมายถึง การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีมีอยู่ แล้วนามาใช้ในรูปแบบใหม่เพ่ือทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรืออีกนัยคือ การทาในส่ิงที่แตกต่างจาก บคุ คลอืน่ โดยอาศัยการเปลยี่ นแปลงตา่ งๆ (Change) ทเ่ี กดิ ขึ้นรอบตัวเราใหก้ ลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสแู่ นวความคดิ ใหมท่ ท่ี าใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ตนเองและสงั คม นวัตกรรม หมายถึง การกระทาที่ใหม่ของตนเอง หรือการกระทาของตนเองท่ีใหม่ วงการศึกษา นาคาว่า นวัตกรรม มาใช้ในความหมายของ “การทาขน้ึ ใหม่” หรอื “สง่ิ ที่ทาขน้ึ ใหม่” ซง่ึ ไดแ้ ก่ แนวคดิ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วธิ ีการ กระบวนการ ส่ือและเทคนคิ ต่างๆ ที่เก่ียวข้องกบั การศึกษาซ่ึงไดร้ ับการคดิ ค้นและจัดทาขึ้นใหม่ เพอื่ ชว่ ยแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ ทางการศกึ ษา (ทศิ นา เขมมณี, 2557) นวตั กรรม คอื ความคดิ การกระทาหรือส่ิงใหมซ่ ่งึ ถูกรบั รู้ว่าเป็นสงิ่ ใหม่ๆด้วยตวั บุคคลแต่ละคน หรอื หนว่ ยอื่นๆ ของการยอมรับในสังคมเป็นความสาเร็จของการผสมเชื่อมโยงในเร่ืองของวัสดุอุปกรณ์และความคิดให้เป็น ประโยชน์ในเชิงสังคมและเศรษฐกิจ ความสาเร็จจากการใช้ประโยชน์ของความคิดใหม่ สิ่งที่ต่อยอดของ สง่ิ ประดษิ ฐใ์ หเ้ ข้าถงึ และเป็นท่ียอมรบั ของตลาดในลักษณะของผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือเป็นกระบวนการใหม่ทีม่ กี าร พัฒนาข้ึนมาใช้ครั้งแรก และทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การใช้ความคิดหรือพฤติกรรมท่ีเกิดขึ้นใหม่ใน

ปที ี่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 8 องค์การ นวัตกรรมสารมารถเป็นได้ทั้งผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่ ซึ่งอาจจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงทนั ทีหรือค่อยเป็นค่อยไปและการนาความคิดไปใชใ้ นเชงิ ปฏิบตั เิ พ่ือให้ไดส้ ่ิงใหมห่ รอื กระบวนการ ใหม่ (ปรีดา ยังสุขสถาพร, 2551) สรุปไดว้ ่า นวตั กรรม หมายถึง การกระทาที่เกิดข้ึนใหม่ โดยผ่านกระบวนการคดิ เพือ่ พัฒนาทีม่ อี ยูเ่ ดิม ใหด้ ขี ้นึ หรือเพื่อช่วยแก้ปัญหา ซง่ึ การกระทาดังกล่าวสามารถนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนแ์ ละเป็นท่ียอมรบั ใน สังคมดว้ ย ทกั ษะด้านการเรียนรแู้ ละนวตั กรรมการเรยี นรู้ นวัตกรรมการเรียนรู้ (Learning Innovation) หมายถงึ สง่ิ ท่ที าขึ้นใหมห่ รอื เปลยี่ นแปลงไปจากเดิม อาจจะเปน็ ความคิด วิธีการ หรืออุปกรณ์ ท่ีนามาประยุกต์ใช้ให้เกิดความคิดใหม่ วิธีการสอนใหม่ หรือ ส่ิงท่ีประดิษฐ์ใหม่ และการพฒั นาทางเทคนิค (Technological Innovation) เกยี่ วกบั วิชาชา่ งทางอุตสาหกรรม ดงั นนั้ นวตั กรรม การเรียนรู้ จึงเป็นแนวคิด การปฏิบัติ เป็นส่ิงท่ีเป็นรูปธรรม สามารถมองเห็นหรือจับต้องได้ ในฐานะที่เป็น สิ่งประดิษฐ์ หรือแนวคิดใหม่ๆ ซึ่งส่งผลให้เกิดการยอมรับหรือปฏิเสธในนวัตกรรมน้ันๆ โลกยุคปัจจุบันมีการ เปลยี่ นแปลงท่ีรวดเร็ว รนุ แรง และอาจจะส่งผลต่อการดารงชวี ิต ดงั นั้นคนในยคุ ศตวรรษที่ 21 จึงต้องมีทักษะ สูงในการเรยี นรู้และปรับตัว การสร้างทักษะการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม โดยเรม่ิ จากการนาบริบทสภาพแวดล้อม เป็นตัวขบั เคล่ือนในการสร้างแรงกดดนั ให้นกั เรยี นต้ังคาถามอยากรใู้ ห้มากตามประสบการณ์พ้นื ฐานความรู้ที่ส่ัง สมมา และตงั้ สมมตฐิ านเพื่อหาคาตอบตามพนื้ ฐานความรู้และประสบการณ์ของตนเอง นาไปสู่การแลกเปล่ียน ประเด็นความคิดเห็นกับกลุ่มเพื่อน เพ่ือสรุปหาสมติฐานคาตอบที่มีความน่าจะเป็นไปได้มากท่ีสุด โดยมีการ พิสูจน์เพ่ือยืนยันสมมติฐานคาตอบจากการไปสืบค้นรวบรวม ความรู้จากแหล่งอ้างอิงที่เช่ือถือได้มาสนับสนุน หรือโต้แย้งได้เป็นคาตอบท่ีเรียกว่าองค์ความรู้ การเรียนไม่ใช่เป็นการจดจาแบบแต่การรู้แก่นวิชาหรือทฤษฎี ความรู้จะสามารถบูรณาการเช่ือมโยงกับวิชาอื่น ๆ เกิดแรงบันดาลใจอยากพัฒนางานสร้างผลงานท่ีเกี่ยวกับ การการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ที่เรยี กว่าความคิดเชงิ สร้างสรรค์ นาทฤษฎีความรมู้ าสร้างกระบวนการและวิธีการ ผลติ สรา้ งผลงานใหม่ท่ีเปน็ ประโยชนต์ ่อบุคคล และสังคมท่ีเรยี กวา่ การพัฒนานวตั กรรม ทักษะด้านการเรยี นรู้ และนวัตกรรม (B. Trilling and C. Fadel, 2009) จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการ ทางานท่ีมคี วามซับซอ้ นมากขน้ึ ในปจั จุบัน ไดแ้ ก่ 1. ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะทางด้านน้ี เป็นเรื่องของการนา จินตนาการมาสร้างขั้นตอน กระบวนการ โดยอ้างอิงจากทฤษฎีความรู้เพื่อนาไปสู่การค้นพบใหม่เกิดเป็น นวัตกรรมทใี่ ชต้ อบสนองความต้องการในการดารงชวี ิตทเี่ หมาะสมและนาไปสู่การเปน็ ผู้ผลิตและผปู้ ระกอบการ ตอ่ ไป ทกั ษะด้านนีไ้ ด้แก่ การคดิ อย่างสรา้ งสรรคใ์ ชเ้ ทคนิคสรา้ งมุมมองอยา่ งหลากหลายมกี ารสร้างมมุ มองที่แปลกใหมอ่ าจเป็นการ ปรบั ปรงุ พฒั นาเพยี งเล็กน้อย หรอื เปล่ียนแนวอยา่ งสิ้นเชงิ เปิดกว้าง การแสดงความคิดเหน็ ร่วมกนั สร้างความเข้าใจ ปรบั ปรุง วเิ คราะห์ และประเมินเพอื่ พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความคดิ อย่างสร้างสรรค์

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 9 การทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื อยา่ งสรา้ งสรรค์ ในการพัฒนาการลงมอื ปฏิบตั ิ และสือ่ สารมุม มองใหม่กบั ผอู้ ่ืนอยู่เสมอ มกี ารยอมรับและตอบสนองมุมมองใหม่ ๆ รับฟังขอ้ คิดเห็น และร่วมประเมนิ ผลงาน ของทีมงาน เพ่ือนาไปพฒั นาปรบั ปรุง มีการทางานดว้ ย แนวคดิ หรอื วธิ กี ารใหมๆ่ และเข้าใจขอ้ จากดั ของโลกในการยอมรบั มมุ มองใหมแ่ ละให้มองความล้มเหลวเปน็ โอกาสการเรยี นรู้ การสรา้ งนวตั กรรม การประยกุ ตส์ นู่ วัตกรรมทม่ี กี ารลงมอื ปฏบิ ัตติ ามความคิดสร้างสรรค์ ให้ไดผ้ ลสาเรจ็ ท่เี ปน็ รปู ธรรม 2. การคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณและการแกป้ ญั หาเป็นการสร้างทักษะการคิดในแบบตา่ ง ๆ ดังน้ี 2.1 การให้เหตุผลอย่างมีประสิทธิผล แบบเป็นเหตุเป็นผล ทั้งแบบอุปนัย (Inductive) และแบบอนุมาน (Deductive) 2.2 การใช้การคิดอย่างเป็นระบบ (SystemsThinking) โดยวิเคราะห์ปัจจยั ยอ่ ยว่ามี ปฏสิ ัมพนั ธ์กนั อยา่ งไรจนเกิดผลในภาพรวม 2.3 การใชว้ ิจารณญาณและการตัดสินใจ ที่สามารถวเิ คราะห์และประเมนิ ขอ้ มูลหลักฐาน การโต้แยง้ การกลา่ ว อ้างอิง และความน่าเชื่อถือ วิเคราะห์เปรียบเทียบและประเมิน ความเห็นประเด็นหลักๆสังเคราะห์และ เชอื่ มโยงระหวา่ งสารสนเทศกับข้อโตแ้ ย้ง แปล ความหมายของสารสนเทศและสรุปบนฐานของการวิเคราะหต์ ีความ ทบทวนอยา่ ง จริงจงั ทั้งในด้านความรแู้ ละกระบวนการ 2.4 การแก้ปัญหา ในรูปแบบการแก้ปัญหาท่ีหลากหลายในแนวทางท่ียอมรับกนั ทั่วไป และแนวทางท่ีแตกต่าง รูปแบบการตงั้ คาถามมีความสาคัญท่ีช่วยทาใหเ้ กิดความกระจา่ ง ในมุมมองตา่ ง ๆ เพือ่ นาไปสทู่ างออกที่ดีกว่า 3. การสอ่ื สารและการรว่ มมอื (Communication and Collaboration) ความเจรญิ กา้ วหน้าของ เทคโนโลยีดิจิตอลและเทคโนโลยีการส่ือสาร (Digital and Communication Technology) ทาให้โลก ศตวรรษที่ 21 ตอ้ งการทกั ษะของการสอ่ื สารและความร่วมมือท่กี วา้ งขวางและลกึ ซ้ึง ดังนี้ 3.1 ทักษะในการส่ือสารอย่างชัดเจน ตั้งแต่การเรียบเรียงความคิดและมุมมอง สามารถ ส่ือสารเข้าใจง่ายใน หลายแบบ ท้ังการพูด เขียน และกิริยาท่าทาง การฟังอย่างมีประสิทธิภาพ นาไปถ่ายทอดสื่อสารความหมาย และความรู้ แสดงคณุ ค่า ทัศนคตแิ ละความต้ังใจ การส่อื สารเพอ่ื การบรรลุเป้าหมายการทางาน การสอื่ สารด้วย หลากหลายภาษากับสภาพแวดล้อมท่ี หลากหลายอยา่ งไดผ้ ล 3.2 ทักษะความรว่ มมอื กับผอู้ ่นื ตง้ั แตก่ ารทางานใหไ้ ดผ้ ลราบรน่ื ที่เคารพและให้เกียรติ ผู้ร่วมงานมีความยืดหยุน่ และช่วยเหลือประนปี ระนอม เพื่อการบรรลุเป้าหมายร่วมกนั และ มีความรับผิดชอบ ร่วมกับผรู้ ่วมงานและเหน็ คุณคา่ ของบทบาทของผรู้ ว่ มงาน

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 10 ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา สานกั งานสภาสถาบันราชภัฏ (2544: 33) ไดแ้ บ่งนวตั กรรมทางการศกึ ษา ดงั น้ี 1. แบ่งตามผู้ใช้ประโยชนโ์ ดยตรง ไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ 1.1 นวตั กรรมสาหรับครู เช่น แผนการสอน คู่มอื ครู เอกสารประกอบการสอน ชุดการสอน หนังสอื อา้ งองิ เครอื่ งมือวดั ผลและอุปกรณโ์ สตทศั นปู กรณ์ต่าง ๆ เปน็ ต้น 1.2 นวตั กรรมสาหรบั นกั เรยี น เช่น บทเรียนสาเร็จรูป เอกสารประกอบการเรียน ชุดฝกึ ปฏิบัติ ใบงาน หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ ชุดเพลง ชุดเกม และการ์ตูน เปน็ ตน้ 2. แบง่ ตามลกั ษณะของนวัตกรรม ได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 2.1 ส่อื การเรียนการสอน เชน่ บทเรยี นสาเรจ็ รปู ชดุ การสอน ชุดส่ือการสอน บทเรยี นโมดูล วดี ทิ ัศน์ สไลด์ ประกอบเสยี ง ภาพยนตร์ เพลง เกม การ์ตูน คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน ใบ งาน แผน่ โปรง่ ใส บัตรคา แผ่นพับ ภาพ พลิก และแผ่นปา้ ยแมเ่ หล็ก เป็นตน้ 2.2 เทคนคิ และวธิ กี าร เช่น บทบาทสมมติ การสอนเปน็ คณะ การสอนแบบศนู ยก์ ารเรยี น การเรยี นเพื่อรอบรู้ การสอนแบบโครงการ การสอนเพือ่ เสริมสร้างลักษณะนิสัย การสอนซอ่ มเสริม การเรยี นตามความสามารถ การศึกษาเป็นรายบุคคล การฝึกทกั ษะการทางานกลมุ่ และการ สอนแบบแก้ปญั หา เปน็ ต้น พชิ ิต ฤทธ์ิจรูญ (2559: 85) ได้แบง่ ประเภทของนวตั กรรมหลายลกั ษณะข้นึ อยกู่ ับเกณฑ์ทใ่ี ช้ใน การแบ่งดังนี้ 1. การแบ่งประเภทของนวตั กรรมตามขอบข่ายของการจดั การศกึ ษา แบ่งออกได้ 5 ประเภทคือ 1.1 นวัตกรรมทางด้านหลกั สูตร เปน็ การใชว้ ธิ ใี หม่ ๆ ในการพฒั นาหลกั สูตรให้ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมใน ท้องถิ่นและตอบสนองความตอ้ งการของบคุ คลให้มากขนึ้ เชน่ หลกั สตู รบูรณาการ หลักสตู รรายบคุ คล หลกั สตู รกิจกรรมและประสบการณ์ หลกั สูตรสถานศกึ ษา หลกั สูตรท้องถ่นิ 1.2 นวัตกรรมการเรยี นการสอน เป็นการใชว้ ธิ กี ารเชิงระบบในการปรบั ปรงุ และคดิ ค้น พฒั นาวธิ ีการเรยี นการ สอนแบบใหม่ ๆ ท่ีสามารถพฒั นาการเรียนรู้ของผู้เรยี นและการจัดการเรียนรู้ ของครผู ู้สอนใหม้ คี ุณภาพขน้ึ เช่น การจดั การเรียนรูท้ ่ีเน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญ การจดั การเรยี นรู้แบบ ศนู ย์การเรยี น การใชก้ ระบวนการกลุ่มสมั พนั ธ์ การจดั การเรยี นร้แู บบร่วมมือ และการจดั การเรียนรู้ ผา่ นเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ 1.3 นวตั กรรมสื่อการเรียนการสอน เปน็ นวัตกรรมท่อี าศยั ความกา้ วหน้าของเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอรเ์ ครือขา่ ยและเทคโนโลยโี ทรคมนาคมมาใช้ในการผลติ สื่อการเรียนการสอน ใหม่ ๆ ทง้ั การเรียน ด้วยตนเอง การเรยี นเปน็ กลมุ่ และการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ที่ใชเ้ พอ่ื สนับสนนุ การฝกึ อบรมผ่าน เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ เชน่ บทเรยี นคอมพวิ เตอร์ช่วยสอนมลั ตมิ เี ดีย (multimedia) ชุดการสอน (instructional module) วดี ิทัศนแ์ บบมีปฏสิ มั พันธ์ (interactive video) การเรียนการสอนโดยใช้ส่ือประสม กับผเู้ รียนเปน็ กลมุ่ ย่อย 1.4 นวัตกรรมการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมทใี่ ชเ้ ป็นเคร่ืองมือเพอื่ การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรไู้ ด้อย่างมี ประสิทธภิ าพและทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวจิ ยั ทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 11 1.5 นวตั กรรมการบรหิ ารจัดการศึกษา เป็นการใช้นวตั กรรมท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การใช้ สารสนเทศมาช่วยในการ ตดั สินใจของผบู้ ริหารการศกึ ษาใหม้ ีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของโลก เช่น ระบบการ จดั การฐานข้อมูลของหนว่ ยงานสถานศกึ ษา เกย่ี วกบั ฐานข้อมูล นกั เรยี น นกั ศกึ ษา ฐานข้อมลู ครู อาจารย์ และ บคุ ลากรในสถานศกึ ษา ฐานขอ้ มูลด้านการเงนิ บญั ชี พสั ดุ และครภุ ณั ฑ์ 2. การแบ่งประเภทของนวัตกรรมตามผู้ใชป้ ระโยชน์โดยตรง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 2.1 นวัตกรรมการจัดการเรียนร้ขู องครู เปน็ รปู แบบหรือเทคนิควิธกี ารจดั การเรียนรู้แบบ ตา่ ง ๆ และส่ือ อุปกรณ์การสอนต่าง ๆ ที่ครูนามาใช้ในการจัดการเรยี นรูใ้ หก้ ับผู้เรียน เชน่ การจัดการ เรยี นรู้แบบร่วมมอื (cooperative learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (projectbased learning) การจดั การ เรียนรโู้ ดยใชป้ ญั หาเปน็ หลัก (problem-based learning) 2.2 นวตั กรรมการเรยี นรขู้ องผูเ้ รยี น เปน็ ส่อื นวัตกรรมการเรียนรสู้ าหรับเน้นให้ผเู้ รียนใช้ เพอื่ การเรียนรขู้ อง ตนเอง เชน่ ชุดการเรียนรู้ บทเรียนสาเร็จรปู บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน ชดุ ฝกึ ปฏิบัติ ใบงาน แบบฝกึ หนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ ชุดเพลง ชุดเกม 3. การแบ่งประเภทของนวัตกรรมตามลักษณะของนวัตกรรม แบง่ ออกได้ 2 ประเภทคือ 3 . 1 ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ สงิ่ ป ร ะ ดิ ษ ฐ์ ท าง ก า ร ศึ ก ษ า ห รื อ ส่ื อ ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น (product/invention) เชน่ บทเรียนสาเรจ็ รูป บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ชุดการสอนหนงั สือเสริม ประสบการณ์ ชุดส่อื ประสมวดี ิทัศน์ สไลด์ประกอบเสยี ง เกม นิทานการ์ตูนเพลง ใบงาน แบบฝึก 3.2 เทคนิควิธกี ารสอน รปู แบบหรือวิธีการจดั การเรยี นรู้ (instructional/model) เชน่ การจดั การเรยี นรทู้ ่ี เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ การจดั การเรยี นรูแ้ บบรว่ มมือ การจัดการเรยี นรู้ แบบบูรณาการ การจดั การเรยี นรโู้ ดยใช้ บทบาทสมมติ การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงาน การจัดการเรยี นรู้โดยใช้ เว็บชว่ ยสอน (web-based instruction) การเรยี นร้แู บบเพือ่ นช่วยเพอื่ น เทคนคิ การปรบั พฤติกรรม เทคนคิ การจัดกิจกรรมพัฒนา รูปแบบ การฝึกทกั ษะ การทางานกลุ่ม รปู แบบการสอนหรือรูปแบบการจดั การเรยี นรู้ที่นักวจิ ยั พัฒนาข้นึ จากประเภทของนวตั กรรมทางการศกึ ษาทก่ี ล่าวมา สามารถสรปุ ได้วา่ นวัตกรรมทางการศกึ ษาจาแนกออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื นวตั กรรมทีเ่ ปน็ รปู ธรรม และนวัตกรรมทเ่ี ป็นนามธรรม เชน่ เทคนคิ วิธีการสอน การ จัดการเรยี นร้รู ูปแบบตา่ ง ๆ ซงึ่ ในบทความนี้ผเู้ ขยี นได้พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ BPAP Model ดังจะกลา่ วตอ่ ไป BPAP Model BPAP ย่อมาจาก Brainstrom, Plan, Analysis and Presentation เปน็ นวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนที่ มีลักษณะการนารูปแบบการเรียนการสอนที่เน้นการพฒั นาทักษะกระบวนการ (Process Skill) และรูปแบบ การเรียนการสอนของแนวคิดแบบร่วมมือ (Instructional Models of Cooperative Learning) มา

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 12 ประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ภายในโรงเรียน ซ่ึงModelน้ีเป็นการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการบูรณาการ สาระวิชาต่างๆและประเด็นเรื่องต่าง ๆเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบโดยใช้วิธีการสอนที่ให้ผู้เรียนช่วยกันเรียน เรียนแบบสืบเสาะความรู้และแบบร่วมมือกัน ซึ่งวิธีการนี้สามารถนามาปรับใช้ได้ในบริบทต่างๆได้อย่าง หลากหลาย โดยแบ่งขัน้ ตอนและการประพฤตปิ ฏบิ ัติ 4 ขั้นตอน ซ่งึ ผู้เขียนได้สังเคราะหม์ าจากรปู แบบการเรียน การสอนทเี่ น้นการพฒั นาทักษะกระบวนการ โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี STEP 1 Brainstorm (B) นักเรียนไดเ้ กดิ ความคดิ ท่ีสอดคลอ้ งตรงกับเนือ้ หาทีเ่ รียนจากการตั้งคาถาม ของครู โดยนักเรียนร่วมกันแสดงความรู้ความคิดเห็นเกี่ยวกับเน้ือหาท่ีจะเรียนจากการกระตุ้นของ ครู จาก หัวขอ้ ทีน่ ักเรียนสนใจ STEP 2 Planning (P) นกั เรยี นวางแผนความรู้และเข้าใจ เน้อื หาเพอื่ นาไปใช้ในการเรียน โดยครคู วรพจิ ารณา วา่ นักเรียนจะไดเ้ รยี นร้อู ะไรจากกจิ กรรมน้ี และจะประยกุ ตส์ ิ่งเหลา่ นน้ั ไปสู่ปรากฏการณ์ ต่างๆได้อยา่ งไร หากบางปรากฏการณ์มีประเดน็ ที่ไมส่ ามารถตอบโจทย์ ซึ่งเป็นเปา้ หมายหลักของบทเรียนได้ ครคู วรหากจิ กรรมหรอื วิธีการอื่นท่ีจะช่วยให้ผูเ้ รียนได้เรียนเนอ้ื หาสาระท่จี าเปน็ เชน่ ใชว้ ีดีโอหรอื สไลด์ในการ นาเสนอ การบรรยาย มอบหมายเรอ่ื งให้ไปอ่าน หรอื ใชผ้ เู้ ชยี่ วชาญภายนอกเพราะใช่วา่ เนอ้ื หาทกุ เร่ืองจะ สามารถเรยี นรโู้ ดยผ่านการลงมือสบื เสาะรว่ มกันเฉพาะในหอ้ งได้ นอกจากนี้ ครูยังชว่ ยนักเรยี นให้คิดวางแผน ดว้ ยการกระตุ้นด้วยคาถาม กระตุ้นใหน้ กั เรยี นมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนรเู้ พือ่ ใหเ้ ข้าใจความเป็นไปได้ ส่งเสริมให้นักเรียนระบุส่ิงที่อยากเรียนรู้เก่ียวกับเนื้อหาท่ีเรียนสนับสนุนให้ผู้เรียนร่วมวางแผน กิจกรรมการ เรียนร้แู ละเพิ่มขั้นตอนการสรุปสิง่ ทีพ่ วกเขาได้เรยี นร้จู ากกิจกรรมโดยอาจใช้คา ถามวา่ “นกั เรยี นได้เรยี นร้อูะ ไรบ้างจากกจิ กรรมน้ี” หรือ “นักเรียนมคี าถามอะไรใหมเ่ กีย่ วกับเร่อื งนบ้ี ้าง” “มอี ะไรทีอ่ ยากจะเรยี นเพอื่ ให้เขา้ ใจในปรากฏการณ์น้ดี ยี ่งิ ขึน้ อกี บ้าง” เปน็ ต้น STEP 3 Analysis (A) นักเรียนได้เกิดการเรียนร้ดู ้วยการคิด วิเคราะห์จากกิจกรรมการเรยี นรู้ โดยให้นักเรียน เขียนคาอธิบาย ออกแบบสไลด์นาเสนอ สรุปในรูปของโปสเตอร์เพื่อนาเสนอปากเปล่า หรือแสดงออกใน รปู แบบใดรูปแบบหน่ึงเพอ่ื สะทอ้ นว่าพวกเขาสามารถวิเคราะห์ มคี วามคิดรวบยอด และสามารถประยกุ ต์ใช้ส่ิง ที่ได้เรียนรู้ได้ โดยนักเรียนและครูจะร่วมกันพัฒนาโครงงาน โดยอาศัยแหล่งความรู้ต่างๆ และบูรณาการนา เทคโนโลยมี าใช้ซึ่งจะช่วยสง่ เสรมิ ทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เช่น การส่ือสาร ความร่วมแรงร่วมใจ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดวิเคราะห์ การพัฒนาอย่างยั่งยืน และ ความเขา้ ใจในความเปน็ สากลดว้ ย STEP 4 Present (P) นักเรียนนาเน้อื หาทเ่ี รียนมาช่วยกันสรุปว่า วันน้ีเรียนอะไรบา้ ง โดยมีครูเปน็ ผคู้ อยกระตุ้น ใหน้ ักเรยี นสามารถคิดตอ่ ยอดจากการเรียนในครัง้ นี้ เพือ่ นาไปพฒั นาใหด้ ียง่ิ ข้ึนๆไป

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 13 ภาพที่ 1 BPAP MODEL (ผู้เขยี นไดส้ งั เคราะหแ์ ละวิเคราะห์จากรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเนน้ การพัฒนา ทักษะกระบวนการ) การจดั การเรียนรูด้ ว้ ย BPAP Model การส่งเสริมการจัดการเรียนรูด้ ้วยBPAP Model ในโรงเรียน ควรให้ความสาคัญ ในการพัฒนาทักษะ ความคิดของนกั เรยี นอย่างต่อเนอื่ ง สง่ิ ท่ผี ู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ไดร้ ับจากการสง่ เสรมิ การจดั การ เรยี นรู้ใหม้ ีความอย่างยัง่ ยนื ในโรงเรยี น มีดงั น้ี การสง่ เสรมิ การจดั การเรียนการสอนใหม้ ีความสอดคลอ้ งกบั นานาประเทศโดยเตรยี มความพร้อม ใหก้ บั ผเู้ รยี น เพื่อให้สอดคลอ้ งกบั การเปลีย่ นแปลงและความทา้ ทายในสงั คมโลกดว้ ยความรวดเรว็ ทางเศรษฐกจิ จาเปน็ ต้องพฒั นาทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนทใ่ี ชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละเสริมสรา้ งหลักสตู รและกจิ กรรมการ เรยี นรูด้ ว้ ยการบูรณาการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ และเพิ่มการฝึกอบรมครู จึงจะช่วยให้ครู ผสู้ อนแสดงศักยภาพนวัตกรรมของตนอยา่ งเต็มท่ี การเสริมสรา้ งความสามารถของนักเรยี นในการรวมและใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะของพวกนักเรียนใน สาขาวชิ าท่ี แตกตา่ งกันผ่านแก้ปัญหาชวี ิตประจาวันด้วยการแกป้ ัญหาในเชงิ ปฏบิ ตั ไิ ด้ แนวทางการจดั การเรียนรู้ดว้ ย BPAP Model

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 14 การพฒั นานักเรยี นใหม้ ีความรู้และทักษะที่เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงและความท้าทายในสังคมโลกปัจจุบัน และการพฒั นาหลักสตู รของสถานศึกษาอย่างตอ่ เน่ืองเพอ่ื ให้มกี ารเรยี นรู้ตลอดชีวิต แนวทางการ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ดว้ ย BPAP Model ไดแ้ ก่ นักเรียนเป็นศูนย์กลางเพื่อให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆและเป็นการเรียนรู้ท่ี หลากหลายการเรยี นการสอน และควรใชก้ ลยุทธ์การประเมนิ ผลทีเ่ หมาะกับความต้องการ และความสนใจของนักเรยี น นักเรียนรจู้ ักตวั เองว่าตนเองมีความสนใจและความต้องการของตน พร้อมทัง้ สามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ื่นได้ สร้างประสบการณ์ของสถานศึกษาในการจัดการศึกษาที่หลากหลาย และสร้างปัจจัยที่เอ้ืออานวยอื่น ๆ เช่น การใช้เวลาในการเรยี นรู้อย่างยืดหยุน่ และทาใหเ้ กิดการเรียนรู้ได้ตลอดชวี ิต กระบวนการพฒั นาต่อเนอื่ ง และมีกลไกกระบวนการปรบั ปรุง โดยอาจเริ่มต้นด้วยหัวข้อหลักสูตรขนาดเล็กที่ นกั เรยี นสนใจก่อน ซ่ึงจะช่วยใหเ้ กดิ การเรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่อื งและมีการพัฒนาตอ่ ไป นวัตกรรมการเรียนรกู้ บั การจัดการเรียนรู้ดว้ ย BPAP Model เป็นที่ทราบกันดวี า่ ปญั หาของระบบการศึกษาท่ียังคงเปน็ เร่อื งการท่ีผเู้ รียนยงั ขาดทักษะการคิด วเิ คราะห์ และ การคดิ อย่างเปน็ ระบบ อีกทง้ั ยงั ไม่สามารถนามาประยกุ ต์ใชใ้ นการทางานได้ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจและสังคมเป็นวงกวา้ ง ดังนั้นผู้เขียนจึงเห็นว่า ระบบการศึกษาต้องส่งเสริมให้นกั เรียน เรียนรู้กับการ สง่ เสริมทักษะการคดิ วเิ คราะหเ์ พ่อื พฒั นานวัตกรรมใหม่ ๆ ท้ังดา้ นผลติ ภัณฑแ์ ละการบรกิ ารซง่ึ ความสาเร็จน้ีมี ผลกระทบโดยตรงตอ่ เศรษฐกิจของประเทศ การปฏริ ปู การศกึ ษาเปน็ การจัดเตรยี มพลเมืองให้เป็นผู้มีทักษะใน สังคมท่ีเปน็ สังคมนวัตกรรม การสร้างสรรคน์ วตั กรรมตอ้ งเน้นการพัฒนาทักษะทางดา้ นเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ ดงั นัน้ สถานศึกษาจาเปน็ ต้องมองหานวตั กรรมการเรียนรู้ ซงึ่ การส่งเสรมิ การศกึ ษาเป็นแนวทางที่เป็นไปได้ สาหรบั การจดั การเรยี นการสอน ดังน้ี 1. จัดทมี วจิ ยั และพัฒนาครเู พอ่ื เจาะลกึ ใหเ้ ข้าถงึ การเรยี นรู้ โดยการให้ครเู หลา่ นีศ้ ึกษาค้าคว้า หาข้อมูลให้กว้างขวาง มอบหมายให้นักเรียนทางานเป็นทีมในการสารวจโดยบูรณาการ BPAP Modelใน สถานศึกษา 2.ดาเนินการทบทวนหลกั สูตรของและกาหนดมาตรฐานเพอ่ื พิจารณาการบูรณาการเนอ้ื หาใหเ้ ข้า กบั หลกั สูตรทมี่ อี ยแู่ ลว้ ให้สอดคล้องกบั มาตรฐานของหลักสตู รที่มอี ย่กู บั ความจาเป็นท่ีต้องเรยี นรู้ บทสรุป นวัตกรรมการจัดการเรยี นรดู้ ้วย BPAP Model เปน็ อกี แนวทางหนง่ึ ท่ผี ูเ้ ขียนเหน็ วา่ สามารถชว่ ย

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 15 พัฒนาประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของผู้เรียน การนานวัตกรรมการเรยี นร้นู ้ีไปใชจ้ ะเกดิ ประโยชนต์ อ่ นกั เรยี น ส่งผลให้ผู้เรยี นสามารถพฒั นาทักษะการคิดเชิงวพิ ากษ์ และทกั ษะการแก้ปญั หา ความสามารถในการประเมิน ข้อมลู ทซ่ี บั ซ้อนและแก้ปญั หาทย่ี งุ่ ยาก และอาจทาให้ผเู้ รยี นสามารถสร้างนวัตกรรมในอนาคตได้ด้วย จะเห็นได้ ว่าประเทศไทยจะตอ้ งการบคุ คลที่มีความรคู้ วามสามารถเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีใหมเ่ พ่ือต่อยอดการ สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ขึ้นใช้เอง เพื่อปรับเปลี่ยนให้สังคมไทยไม่เป็นสังคมบริโภคเหมือนอย่างทุกวันนี้ พร้อมทั้ง สามารถเปน็ ผู้ท่รี ับการเปล่ยี นแปลงได้ รจู้ กั ตวั เองและพฒั นาตัวของตัวเองได้ดี เปน็ คนทม่ี ีความคดิ เชงิ กระบวน ทศั นท์ ช่ี ดั เจน ซงึ่ จาเปน็ ต้องมคี วามสามารถในการรับรู้ขอ้ มลู หลกั ฐานใหม่ และนามาสังเคราะห์เป็นความรู้เชิง กระบวนทศั นใ์ หม่ไดเ้ อง ซง่ึ การทจี่ ะเรียนร้ไู ดน้ นั้ ผเู้ รียนตอ้ งเรียนรู้ จากการช่วยกันระดมความคดิ และช่วยกันต้งั ประเด็นคาถามท่อี ยากรู้กอ่ นจงึ อยากท่ีจะเรียน ๆ อีกทัง้ การ วางแผน วิเคราะห์และนาประสบการณ์เรยี นรูน้ ั้นไปประยกุ ต์ใช้ไดใ้ หเ้ หมาะสมกับบรบิ ทสภาพแวดล้อมที่ นักเรียนคนุ้ เคยและร้จู ักซงึ่ ก็คอื สภาพของครอบครวั ชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ ของนกั เรียนนน่ั เอง กลา่ วโดยสรุป การ จัดการเรียนรู้ในยุคศตวรรษที่ 21 จาเป็นต้องปลูกฝังวัฒนธรรมการสร้างในตัวผู้เรียนให้รู้จักคิดวิเคราะห์ มี ความคิดสร้างสรรค์ มีความม่ันใจในตนเอง แสวงหาความรู้ รู้เท่าทันสารสนเทศ และสามารถสร้างองค์ความรู้ ดว้ ยตนเอง อีกทงั้ ยงั สามารถทางานเป็นทมี ได้และมีความรับผดิ ชอบตอ่ สว่ นรวม เอกสารอา้ งอิง กิดานนั ท์ มลิทอง.(2553). เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวตั กรรม. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร : อรุณ การพมิ พ.์ วจิ ารณ์ พานชิ . (2556). สนุกกบั การเรียนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสยามกมั มาจล. ปรีดา ยังสขุ สถาพร. (2551). วิถีสู่แกน่ แท้องคก์ รแหง่ นวตั กรรม. กรงุ เทพมหานคร: สถาบันเพม่ิ ผลผลติ แห่งชาติ ทศิ นา แขมมณี. (2553). ศาสตรก์ ารสอนองค์ความรู้เพ่ือการจดั กระบวนการเรยี นรู้ท่ีมีประสทิ ธภิ าพ. พมิ พ์ครั้งที่ 12. กรงุ เทพมหานคร : บริษทั ดา่ นสุทธาการพิมพ์ จากัด. ทศิ นา แขมมณ.ี (2557).ปลุกโลกการสอนใหม้ ีชวี ติ สหู่ ้องเรยี นแห่งศตวรรษใหม.่ ใน เอกสารประกอบการประชมุ วิชาการ “อภวิ ัฒนก์ ารเรยี นรู้ ...สู่จุดเปลIียนประเทศไทย”. กรุงเทพฯ: สหมิตรพร้นิ ติง้ แอนดพ์ ับลิสซงิ่ . พงศธร มหาวจิ ิตร. (2558). Theme-based Unit: ความทา้ ทายในการออกแบบการเรียนร้สู าหรบั ครูยคุ ใหม.่ วารสารศึกษาศาสตรป์ ริทัศน์,30(2), 93-101. พชิ ติ ฤทธิจ์ รญู . (2559). เทคนคิ การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาการเรยี นร.ู้ กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พ์แหง่ จุฬาลงกรร์มหาวิทยาลัย. พมิ พนั ธ์ เดชะคปุ ต์ และพเยาว์ ยินดสี ขุ . (2558). รเู้ นื้อหากอ่ น สอนเก่ง การเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรมคณุ ภาพใน ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. พรพิมล พรพรี ะชนม.์ (2550). การจดั กระบวนการเรยี นร.ู้ สงขลา : เทมการพมิ พส์ งขลา.

ปที ่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 16 มนตรี วงษส์ ะพาน. (กรกฎาคม-ธนั วาคม 2556). การยกระดับการเรยี นรู้ด้วยกระบวนการคิดวเิ คราะห.์ วารสาร ศกึ ษาศาสตร์ หมาวิทยาลยั ทักษณิ . 13(2), 125-139 สานักงานสภาสถาบนั ราชภฏั . (2544). คู่มอื การฝึกอบรมการวจิ ยั ในชน้ั เรียน. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม. B. Trilling and C. Fadel. (2009), 21st Century Skills: Learning for Life in Our Times, San Francisco, CA: Jossey-Bass. Jonassen, D.H. (1991). Towards a constructivist design model. Educational Technology, 34(4), 34-37 Marzano. R. J. (2001). Designing A New Taxonomy of Educational Objectives. California: Corwin Press นวตั กรรมการจดั การเรยี นร้ทู ่ีเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั . [ออนไลน์] (แหล่งทีม่ า) : https://jarernsri๕๑๒. wordpress.com] [23 ตลุ าคม 2559]20.

ปที ่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 17 การปรับตัวของเดก็ ไทยให้มีสมรรถนะตอ่ ระบบการศกึ ษาไทยในความปกติใหม่ Adaptation of Thai Children to be Capable in the Thai Education System in the New Normal นฤมล บญั ญตั ิ บทคัดยอ่ ระบบการศึกษาไทยในปัจจุบันจัดข้ึนตามบริบทของการจัดการศึกษาและแผนพัฒนาประเทศ แผนดังกล่าว รวมถึงการพัฒนาคน พัฒนาครูผู้สอน พัฒนาสังคม ในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ และเอกชนเป็นเป้าหมายหลัก การศึกษาจาเป็นต้องให้ความสาคัญกับการอาชวี ศึกษามากข้ึน ควบคู่ไปกับการ จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษาระดับปริญญาตรี ตลอดจนการหางานทา โดยอาศัยปัจจัยหลักๆ เช่น ปัจจัยด้านเทคโนโลยี ด้านเศรษฐกิจ ด้านระบบราชการ ด้านการเมืองการปกครอง ด้านคุณธรรมจริยธรรม อย่างไรก็ตาม ระบบการศึกษาไทยได้หยุดนิ่งการปฏิรูป ซ่ึงเป็นปัญหาใหญ่ท่ีฉุดรั้งความเจริญของประเทศ รัฐบาลไทยท้ังในอดีตและปัจจุบันล้มเหลวในการเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานสากลท่ีเตรียมผู้เรียนให้มีความ พรอ้ มสาหรับโลกทมี่ กี ารเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว นอกเหนอื จากความทา้ ทายของการศึกษาทไี่ ม่เทา่ เทียมกัน ภายในประเทศแล้ว ขณะน้เี รากาลงั เผชญิ กบั การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 ซ่งึ ส่งผลกระทบต่อการศึกษาเป็น อยา่ งมาก ดังนน้ั เพอ่ื ให้ประเทศไทยบรรลุเป้าหมายของการศึกษา ระบบการศึกษาไทยจะต้องได้รับการปฏิรูป อยา่ งเร่งดว่ น เพือ่ ให้การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ มีประสิทธภิ าพ และเออ้ื ตอ่ แนวคดิ ของการศึกษาทกุ ทที่ ุกเวลา Abstract The current Thai Education System is organized based on an educational management’ s context and the national development plan. Such plan includes all kinds of human development, educator development and social development, whereby the participation of public and private organizations is the principal aim. An education needs more focus on vocational education together with providing basic education and undergraduate studies as well as finding a job by the individuals, in which may rely in the key factors such as technology, economic, bureaucracy political, government, and ethical aspects. Nevertheless, the Thai Education System has still reported as a huge issue which holds back the country’s prosperity. Thai governments, past and present, have failed to provide access to universal basic education that prepare students for a fast-changing world. Beside the challenge of inequality education in Thailand, now we are facing COVID-19 Pandemic that has impact on education substantially. Therefore, in order for Thailand to achieve the goal of education, Education Plan must be reformed urgently to provide effective and supportive lifelong learning and facilitate a concept of anytime anywhere education.

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 18 บทนำ: ระบบกำรศกึ ษำไทยจำกอดตี ถงึ ปจั จบุ นั และแนวโน้มสู่อนำคต ระบบกำรศึกษำไทยในอดีต: การศึกษามีความสาคญั มากต่อการพฒั นาบุคลากรตลอดจนเปน็ พื้นฐาน ของการพัฒนาด้านอื่นๆ เพราะไม่ว่าจะทาการพัฒนาส่วนใดต้องเริ่มมาจากการพัฒนาคน และสิ่งสาคัญที่สุด ของการพัฒนาคน คือ การใหก้ ารศึกษา ดงั นนั้ การพัฒนาประเทศตอ้ งพัฒนาควบคู่ไปกบั การพฒั นาคนโดยต้อง คานึงถึงการศึกษาเป็นสาคัญ การจัดการศึกษาในอดีตเป็นลักษณะการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย การจดั การศกึ ษามีวิวฒั นาการ มีการปรับเปล่ียน มกี ารปฏริ ปู ให้เปน็ ไปตามสากลเรื่อยมา สาหรับการ จัดการศกึ ษาท่ีไม่ใชก่ ารศึกษาในระบบ โรงเรยี นสว่ นใหญจ่ ะเปน็ ไปตามวถิ ีชวี ิตและรูปแบบอ่ืนๆ ทไ่ี ม่ได้กาหนด ชื่อเรียกที่ชัดเจน มีการจัดการศึกษาสาหรับผู้ใหญ่ที่อยู่นอกวัยเรียนข้ึน มีการบริหารและจัดการศึกษาท่ีมี ประสิทธิภาพเพ่ือทาให้ประชาชนได้มีโอกาสเรียนรู้ และสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนได้ตามศักยภาพ เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้และภูมิปัญญา อันจะมีผลในการพัฒนากาลังคนและประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้า ต่อไป กระบวนการเรียนรู้แบบเก่า เน้นการท่องจามากเกินไป เป็นการเรียนการสอนแบบสร้างผู้ตามท่ีดี ประมาณว่าเดินตามผู้ใหญห่ มาไม่กัด คนขยัน เชื่อฟัง และทาตามให้ถูกต้อง เป็นคนที่มีคุณค่า คนที่ท่องจาเก่ง จึงประสบความสาเรจ็ ได้ท้งั ในการเรยี นและการทางาน เพราะโลกยังคงมีความเปลยี่ นแปลงชา้ มาก และคาตอบ ทีถ่ กู ต้องมเี พยี งคาตอบเดยี ว ปัญหาการศึกษาไทยในอดตี คือ มุ่งผลิตผตู้ าม หา้ มคดิ ย่งิ เรียน ยง่ิ เหล่ือมล้า ระบบกำรศึกษำไทยในปัจจุบัน: เป็นการจัดการศึกษาตามบริบทของการจัดการศึกษา เป็นไปตาม แผนการศึกษาแห่งชาติ โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากภาครัฐและเอกชน เป็นการจัดการศึกษาที่เน้นด้าน อาชีวศึกษามากข้ึน มุ่งเน้นให้มีการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและระดับปรญิ ญาตรี เพ่ือการมีงานทา อย่างไรกด็ ี เปน็ ที่ทราบทั่วกันวา่ ระบบการศกึ ษาไทยในปัจจบุ นั นั้นตกต่าลงอย่างมาก ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ในเร็ววันนี้ เป็นปัญหาเรื้อรังมายาวนาน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กไทยที่เข้าเรียนในระบบการศึกษาไทย ไม่ว่าจะเป็น เร่ืองของคุณภาพการศึกษาพ้ืนฐานตกต่า: เราจะเห็นได้จากการจัดการทดสอบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (O-Net) ในทุกๆ ปี ท่ีสรุปว่า เด็กไทยมีความรู้ต่ากว่ามาตรฐาน หรือแม้แต่การศึกษาขององค์การความร่วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) หรือ โครงการประเมินผลนักเรียนร่วมกบั นานาชาติ (PISA) พบว่า นักเรยี น ไทยที่จัดได้ว่ามีความรู้วิทยาศาสตร์อยู่ในระดับสูง มีเพียงร้อยละ 1 เท่านั้น และยังพบอีกว่า เด็กไทย ร้อย ละ 74 อา่ นภาษาไทยไม่รู้เรื่อง อ่านไม่ออก ตีความไมไ่ ด้ วิเคราะหค์ วามหมายไมถ่ ูกต้อง หรอื แม้แตใ่ ช้ภาษาให้ เป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชาอื่นๆ ซ่ึงปัญหาเหล่านี้ผู้มอี านาจในการเปล่ียนแปลงของบ้านเมืองกลับมองเห็น เป็นสิ่งปกติ เป็นความเคยชิน และเช่ือว่าเด็กไทยจะต้องได้รับการพัฒนาโดยระบบการจัดการศึกษาที่มี แบบเดมิ ๆ อยา่ งทุกวันนี้ ปญั หาของครู: สังคมไทยมองเห็นวา่ วิชาชพี ครไู ม่เป็นที่นยิ มเทา่ กับการวิชาอาชีพอื่นๆ เช่น หมอ หรือวิศวกร ทั้งๆ ท่ีในภาพรวมของประเทศไทยยังมีความขาดแคลนครู โดยเฉพาะครูในสาขาวิชา สาคัญๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา เป็นต้น และยังพบอีกว่า ไม่มีความชัดเจนทางนโยบายรัฐท่ีจะ สนับสนุนให้ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวชิ าท่ีตรงกับเนอื้ หาสาระ ในทางตรงกันข้ามยังกลับพบมาตรการในเชงิ กีดกัน เช่น การกาหนดให้ผู้ที่จะรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู จะต้องไปเรียนเพ่ิมเติมอีกอย่างน้อยหน่งึ ปี เป็นต้น จะเห็นได้ว่า ระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน เป็นปัญหาที่ได้รบั ความสนใจจากสังคม ดูได้จากมีการทา

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 19 วจิ ยั ออกมาจากหลายๆ หนว่ ยงาน ท่สี ะทอ้ นถึงความลม้ เหลวของระบบการศกึ ษาไทย ปญั หาต่างๆ ท่ีเกดิ ขึ้นกับ เด็กและเยาวชนไทยเปรยี บเสมือนสายพานความป่วยไข้ทางสังคมที่สะท้อนถึงปรากฏการณ์ความอ่อนแอของ ทกุ ภาคสว่ น ท้งั สถาบันครอบครวั ออ่ นแอ พน้ื ทอี่ บายมขุ ขาดการควบคุม อันเปน็ ปฐมเหตุของปัญหาพฤติกรรม เด็กและเยาวชน ไมว่ ่าเปน็ ปัญหาติดห้าง เทีย่ วกลางคนื กนิ เหลา้ สูบบุหรี่ และมเี พศสมั พันธ์ก่อนวัยอันควร อนั จะนาไปสู่ผลกระทบกับปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นตามมาอย่างมากมาย อีกทั้ง การปฏิรูประบบการจัดการศึกษา เป็นยคุ ของการแขง่ ขันทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี เปน็ การแขง่ ขนั ในระบบเปิดเสรี การบริหารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพจึงอยู่ภายใต้เง่ือนไขที่แตกต่างจากอดีต การจัดองค์กรที่มีสายบังคับในแนวด่ิง เกิดความล่าช้า ด้อยประสิทธิภาพ ระบบการศึกษาไทยในปัจจุบัน จึงเป็นสาเหตุหนึ่งท่ีทาให้เกิดความเครียดสะสมในตัวเด็ก การเรียนการสอนที่มแี ต่ความนา่ เบ่ือ สอนให้ท่องจา พ่อแม่บังคับให้กวดวิชา ต้องสอบและแก่งแยง่ แข่งขนั กนั เพอ่ื เข้ามหาวิทยาลัย จนทาใหเ้ ด็กและเยาวชนหาทางระบายความเครยี ดไปในทางที่ไมด่ ีได้งา่ ยข้นึ แนวโน้มระบบกำรศึกษำไทยในอนำคต: เพื่อความพร้อมในการเตรียมคนให้สามารถเรียนร้ไู ด้ตลอด ชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ ควรจะต้องมุ่งสร้างความสามารถและทักษะของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้เพ่ิมเติมได้ ด้วยตนเอง เพ่ือเป็นเครื่องมือศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมตลอดชีวิต เพ่ือเป็นพ้ืนฐานสาหรับด้านเทคโนโลยีใน อนาคต มคี วามสามารถในการวิเคราะห์และสงั เคราะห์ ใช้วธิ กี ารแสดงความคิด วิพากษ์วิจารณ์ ครูผสู้ อนเป็นผู้ ชแ้ี นะให้ผ้เู รยี นสามารถค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ด้วยตนเอง จะทาให้กระบวนการเรียนรู้สมบูรณแ์ บบย่ิงขึ้น ในยุคสมัยใหม่ ความรู้เปลี่ยนแปลงรวดเร็วตามกระแสการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี จะต้องมีการปรับปรุงระบบการศึกษาและการเรียนรู้ของคนในสังคมให้เป็นระบบการศึกษาตลอดชีวิต มีการ ปรับเน้ือหาสาระให้สอดคล้องกับวัยวุฒิของผู้เรียนเหมาะกับยุคสมัย มีการพัฒนาครูอยู่ตลอดเวลา มีการ ประเมนิ ผล และการพัฒนาตลอดชีวิต สรา้ งแรงจงู ใจให้ครทู กุ คนรู้สึกวา่ จะต้องพฒั นาตนเองอย่ตู ลอดเวลา ปรับ ให้การเรียนการสอนมีมาตรฐาน พัฒนาวิชาชีพ และยกระดับมาตรฐานจริยธรรมของครู การปฏิรูประบบการ จัดการศกึ ษา ควรจดั องค์กรแบบแบนราบ แบง่ หน่วยงานให้มีขนาดเลก็ ลงและเต็มไปดว้ ยคุณภาพ ใชเ้ ทคโนโลยี สูง ทางานเป็นเครือข่ายซง่ึ กนั และกัน ระบบการศึกษาไทยในอนาคต ต้องอาศัยเทคโนโลยีและการสืบค้นดว้ ย ตนเองมากกว่าการใช้ครู บุคลากรทางการศึกษาต้องเปลี่ยนบทบาทจากผู้ให้มาเป็นผู้กากับดูแลและให้ คาปรึกษาการสืบค้นข้อมูล การใช้ข้อมูลที่เหมาะสม การเรียนรู้จะอาศัยการศึกษาเรียนรู้จากสภาพจริงของ สังคมและสง่ิ แวดลอ้ มมากกวา่ การเรยี นรู้ในช้นั เรียน การวดั และการประเมนิ ผลการเรียนรใู้ ช้เทคโนโลยีข่าวสาร ทางอเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ นวตั กรรม สังคมจะปรับตวั ตามเทคโนโลยแี ละนวัตกรรม การศกึ ษาในอนาคตจงึ ต้องปรบั ตัว ตามเพอ่ื รองรบั การเปลี่ยนแปลงเพือ่ เตรยี มความพรอ้ มสู่ประเทศไทย 4.0 ตอ่ ไป สเี่ สำหลกั ของกำรศกึ ษำไทย (4 Pillars of Thai Education) สี่เสาหลักของการศึกษาไทยมีความสาคัญในฐานะที่เป็นหัวใจของเป้าหมายและแนวทางการจัด การศกึ ษาทกุ ระดบั ที่ผบู้ ริหารการศึกษา ผู้ปฏบิ ตั ิหนา้ ทที่ างการศึกษา และผมู้ ีสว่ นเกยี่ วข้องทุกฝ่าย เช่น ชมุ ชน สังคม ท่ีมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ใช้เป็นกรอบการคิดและตัดสินใจ เพ่ือมุ่งไปสู่เป้าหมายพัฒนาคุณภาพ ของผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถ มีการคิดเป็นระบบ มีจิตสาธารณะ และมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ี

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 20 จาเป็นต่อการเรียนรู้ และดารงชีวิตอย่างมีคุณภาพและมีความสุข ส่ีเสาหลักของการศึกษาไทยท่ีเป็นหลักการ จดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย 4 องค์ประกอบ ไดแ้ ก่ รากฐานท่แี ขง็ แกรง่ (Strong Foundation) นวัตกรรม (Innovation) การร่วมมือกัน (Collaboration) และท่ัวโลก (Global) การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ยึดแนวทางการเรยี นรทู้ ้ัง 4 แบบ ทเี่ ป็นการเรยี นรู้เพอ่ื ชีวิต มุง่ จดั การศกึ ษาใหก้ บั ผูเ้ รียนสามารถดารงชวี ติ อยู่ใน สงั คมได้อยา่ งมีคุณภาพ ดงั น้ี รำกฐำนท่แี ข็งแกร่ง (Strong Foundation) สถานท่ีเรียนรู้และพัฒนาการแรกสุดของเด็ก คือ ครอบครัว เด็กทุกคนควรได้รับการเร่ิมต้นชีวิตที่ดี ทีส่ ุดเพื่อสร้างอนาคตที่ดีกว่าสาหรับตนเองและประเทศชาติ วัยเด็กเป็นชว่ งเวลาที่สาคัญของการเรยี นรู้ พ่อแม่ ควรให้ความสาคัญ และเอาใจใส่ดูแลลูกอย่างใกล้ชิด ควรทราบถึงพัฒนาการท่ีเหมาะสมของลูก และเรียนรู้ วิธีการส่งเสรมิ พฒั นาการด้านต่างๆ ให้แก่เด็ก ด้านพัฒนาการทางร่างกาย พัฒนาการทางสติปัญญาและภาษา และพัฒนาการทางสงั คมและอารมณ์ เพอื่ ใหเ้ ด็กเจรญิ เตบิ โตอยา่ งแข็งแรงสมวัย ความรู้ (Knowledge): การศึกษาไทยในปัจจุบันเป็นการเรียนรู้ท่ีเปิดกว้าง เกิดข้ึนได้ทุกที่ทุกเวลา มี หลายรูปแบบ สามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองได้อย่างรวดเร็วโดยการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาพฒั นา รูปแบบการจัดการศึกษา เพื่อให้ก้าวทันโลกยคุ ใหม่ที่ไร้ขอบเขตภายใต้จินตนาการของมนษุ ย์ที่สร้างขึน้ การศึกษาเปน็ สิง่ ที่สาคัญทีส่ ุดและนับเปน็ ปัจจัยที่ 5 ของการดาเนินชวี ิต การศึกษา คือ การสร้างคนให้มี ความรู้ ความสามารถมีทักษะพื้นฐานท่ีจาเป็นมีลักษณะนสิ ัยจิตใจที่ดีงาม สร้างระบบการศกึ ษาของประเทศให้ เขา้ ใจหลกั จติ วิทยาและการสร้างทรพั ยากรมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เมอื่ เรามีโครงสร้างพื้นฐานท่แี ขง็ แกร่ง ควรเนน้ เรื่องการพัฒนากายและจิตใจ และสอน “คนให้เป็นคน” เสียก่อน ส่วน “สมอง” น้ัน เราค่อยนามาต่อยอดใน ภายหลัง ควรสอนให้เด็ก “คิดเป็น กล้าแสดงออก และเปิดโอกาส” การวางรากฐานที่แข็งแกร่งในเรื่องของ ความรู้ จะสามารถนาพาเราไปสู่โลกแห่งอนาคตท่ีสดสวยงดงาม น่าอยู่ และดีกว่าเดิมมากย่ิงข้ึน “Make the World a Better Place” ทักษะการความรู้ (Learning Skills): โลกในศตวรรษที่ 21 มีความแตกต่างไปจากอดีตมาก มีการ เคล่ือนย้ายผู้คน ส่ือเทคโนโลยีและทรัพยากรต่างๆ จากทั่วทุกมุมโลกอย่างรวดเร็ว การเรียนรู้ในยุคนี้ จึงมิใช่ กระบวนการถ่ายทอดความรู้ แต่เป็นการส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้กับผู้คน ซึ่งประกอบไปด้วย ทักษะพ้ืนฐานในการรู้หนังสือ สามารถค้นคว้าหาความรู้จากทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีหลากหลายผ่านการอ่าน ออกเขียนได้ การคิดคานวณ การใช้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ การเงิน สังคมและวัฒนธรรม เป็นต้น ทักษะการ คิด สามารถใช้เหตุผลและความคิดในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ประเมินค่า คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจและ แก้ปญั หาได้อย่างดี เปน็ ต้น ทักษะการทางาน สามารถประยุกต์ใช้ความร้แู ละทักษะในการตดิ ต่อส่อื สาร ทางาน เป็นทีม แสดงภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ มีความยืดหยุ่น และสามารถปรับตัวได้ดี มีความอดทนอดกล้ัน และขยันทางานหนัก เป็นต้น ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถรับรู้ เข้าใจการใช้และการจัดการ สื่อสารสนเทศ เปิดใจรับสารและเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างเท่าทัน นาข้อมูลมาใช้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และ เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น เป็นต้น และทักษะการใช้ชีวิต สามารถแสวงหาความรู้ มีความม่ันใจใน ตัวเอง มีความกระตือรือร้นในความรู้ เป็นผู้ผลิต มุ่งความเป็นเลิศ สามารถดารงชีวิตด้วยความรับผิดชอบต่อ

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 21 ตนเองและผู้อื่น เป็นพลเมืองที่ดี รู้และเคารพกติกา มีระเบียบวินัย คานึงถึงสังคม คิดถึงภาพรวมโลก มี คุณธรรม ยดึ ม่ันในสันติธรรม มีความเป็นไทย เข้าใจความหลายหลายทางวฒั นธรรม และแบ่งปันประสบการณ์ เปน็ ต้น การสร้างแรงบันดาลใจ ความปรารถนาดี (Passion): ส่ิงท่ีดีของ Passion คือ เป็นแรงผลักดันในชวี ติ อนั แรงกลา้ แตใ่ นขณะเดียวกนั ก็อาจกลายเป็นสงิ่ ท่ีบนั่ ทอนกาลงั ใจได้เช่นกนั Passion ทาหนา้ ทขี่ ับเคลื่อนทุก ส่ิงทุกอย่างให้เดินหน้าต่อไปได้ ไม่ว่าปัญหาจะใหญ่โตเพียงใด ความรักและความหลงใหลจะช่วยสร้าง แรงผลักดันจนหาทางออกของปัญหาได้ในท่ีสุด เร่ืองยากกลับกลายเป็นเรื่องงา่ ย การค้นหาแรงบันดาลใจของ ตัวเองให้เจอ จึงเป็นสิ่งแรกท่ีควรจะทาก่อนจะตัดสินใจลงมือทาสิ่งใด เพราะมันจะทาให้เรามองเห็นทุกอย่าง เปน็ โอกาส มองเหน็ ทุกอย่างเปน็ ความสนกุ และตอบแทนกลับมาเป็นความสุขเม่อื เราสามารถทาสิ่งนั้นไดส้ าเร็จ หากเราเลือก Passion นั้นมาต่อยอดเพ่ือให้เกิดเป็นผลงาน และเราเปล่ียนมุมมองว่าสิ่งเหล่านี้สามารถสร้าง ความสาเร็จได้ ใส่ความต้ังใจและพยายามเข้าไป สิ่งท่ีรักก็จะผสานเป็นสิ่งเดียวกบั สิ่งท่ีต้องทาได้อย่างแน่นอน คนท่ีประสบความสาเร็จจากการใช้ Passion ใหถ้ กู วธิ ีคอื มกี ารสร้างความสมดุลระหว่าง “สิง่ ท่รี กั ” กับ “สง่ิ ท่ี ต้องทา” ได้อย่างลงตัว การสร้างแรงบันดาลใจให้เดก็ ๆ อยากรู้อยากเห็น คือ ชี้ชวน พูดคุย กระตุ้นให้เด็กเป็น คนช่างสังเกตอยากรู้อยากทดลอง ต้ังคาถามเพ่ือให้เด็กค้นหาคาตอบและฝึกให้เด็กต้ังคาถามไปพร้อมกันใน บรรยากาศที่สนกุ สนาน การสร้างส่อื การเรยี นการสอนที่แปลกใหม่ มคี วามนา่ สนใจ เป็นสิ่งกระตุน้ ความอยากรู้ อยากเหน็ ของผเู้ รยี นอยา่ งดี เพราะส่อื ทดี่ จี ะช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนือ้ หาการเรียนไดง้ ่ายขนึ้ สามารถมองเหน็ ภาพ และจับต้องได้ เช่น กิจกรรมออกภาคสนาม เป็นการเปิดโลกใหม่ใหผ้ ู้เรียนได้เก็บเก่ียวประสบการณ์และนามา สรุปเป็นการเรยี นรู้จากของจรงิ ทาให้ไม่นา่ เบ่อื และจะเรียนกันอย่างมคี วามสขุ พลเมืองดี (Citizenship): การที่จะเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกได้น้ัน เราควร ประพฤติและปฏิบัติตน ด้วยการเคารพกฎหมายและปฏิบัติตามกฎระเบียบข้อบังคับของสังคม ไม่ล่วงละเมิด สิทธขิ องผอู้ ่นื หรอื ไม่กระทาความผิดตามท่ีกฎหมายกาหนด มีเหตผุ ลและพรอ้ มรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผอู้ ่นื ทุก คนมีอิสระเสรีภาพในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน ยอมรับมติของเสียงส่วนใหญ่ จากการดาเนิน กิจกรรมอันเกิดจากความคิดเห็นท่ีแตกต่างกัน ถึงแม้ว่าจะไม่ตรงกับความคิดของเรา เราก็ต้องปฏิบัติตามมติ นั้นๆ เป็นผู้มีน้าใจประชาธิปไตย และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เคารพในสิทธิเสรีภาพของผู้อื่น มีเสรีภาพใน การแสดงความคิดเห็น การพูด แต่ต้องไม่เป็นการพูดแสดงความคิดเห็นที่ใส่ร้ายผู้อ่ืนให้เสียหาย มีความ รับผิดชอบต่อตนเอง สังคม ชุมชน ประเทศชาติ ในการอยู่ร่วมกันในสังคม มีการทางานเป็นทีม มีส่วนร่วมใน กิจกรรมการเมือง การปกครอง ในสังคมประชาธิปไตย เช่น การเลือกต้ัง เป็นต้น มีส่วนร่วมในการป้องกัน แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการปกครอง ไม่หลงเช่ือข่าวลือคากล่าวร้ายโจมตี รวมถึงส่งเสริม สนับสนุนการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ด้วยสันติวิธี รวมทั้ง มีคุณธรรม จริยธรรม และปฏิบัติตนตาม หลักธรรม ทุกคนควรมีศีลธรรมไว้เป็นหลักในการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้ดาเนินไปอย่างเหมาะสม ถงึ แม้จะไม่มีบทลงโทษใดๆ กต็ าม

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 22 นวตั กรรม (Innovation) แนวโน้มนวัตกรรมการศึกษา ในศตวรรษท่ี 21 (MAGICS) ปัจจุบันแนวโน้มการเรียนรู้ดิจิทัลมีการ ปรับเปลี่ยนไปตามเทคโนโลยีที่พัฒนาอย่างต่อเน่ือง เราสามารถสรุปแนวโน้มโลกการเรียนรู้ดิจิทัล โดยใช้ ตัวอักษรย่อ คือ คาว่า “MAGICS” ซ่ึงมีความหมายในภาษาไทย ได้แก่ เวทย์มนต์ หรือ มายากล ซึ่งแนวโนม้ ใหม่ๆ ของการเรียนรู้ดิจิทัลนี้ จะเข้ามามีบทบาทสาคัญในวงการศึกษาในอนาคตอันใกล้ ผู้สอน ผู้เรียน และ ผ้เู ก่ียวข้องกับการพฒั นาการศึกษา จึงตอ้ งเรมิ่ ปรับตัวให้พร้อมรบั การเปลย่ี นแปลงทีก่ าลงั เข้ามาในวงการศึกษา อย่างรวดเร็ว แนวโน้มการเรียนรู้ดิจิทัล “MAGICS” มาจาก เทคโนโลยีที่สาคัญ 7 ประเภท ได้แก่ 1) M: Mobile & MOOC Mobile คอื การเรยี นรทู้ ่อี าศยั อปุ กรณ์ท่สี ามารถพกพาได้ เชน่ โทรศัพท์มือถอื และอุปกรณ์ ทุกชนิดท่ีสามารถพกติดตัวไปได้ 2) MOOC: Massive Open Online Course คือ รายวิชาออนไลน์ที่เปิดให้ ใช้ฟรีสาหรับทุกคน มีการนาเสนอการเรียนรู้หลักสูตรต่างๆ ทางออนไลน์ ทุกคนเรียนได้พร้อมกัน 3) A: Analytics คอื การนาไอทมี าใช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูลสารสนเทศตา่ งๆ ของผู้เรียน เช่น การวดั การเขา้ ชนั้ เรียน ความก้าวหน้าของการเรียน การทากิจกรรม ฯลฯ เพื่อให้สามารถออกแบบการเรียนรู้ในลักษณะท่ีตอบสนอง ความแตกต่างของผู้เรียนได้ดียิ่งขึ้น 4) G: Gamifications คือ การนาเน้ือหาการเรียนรู้ไปออกแบบในรปู แบบ ของเกมส์ หรือ การนาแนวคิดและการออกแบบของเกมส์ มาประยุกต์ใช้ในการจูงใจ ทาให้ผู้เรียนสนใจท่ีจะ เรียนรู้เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย (Goal) 5) I: Internet of (Every) Thing(s) คือ อุปกรณ์ต่างๆ มีการฝังสมาร์ท เซนเซอร์หรือชิปไว้เพื่อการเชื่อมต่อกันผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถส่งผ่านข้อมูลและสารสนเทศต่างๆ ได้เพ่ือเพ่ิมประโยชน์และคุณค่าของบริการ 6) C: Cloud For Learning เป็นการให้บริการในลักษณะการ แบ่งปันแอพพลิเคช่ันและ/หรือข้อมูลต่างๆ โดยทุกอย่างจะถูกเก็บไว้บนเคร่ือง Server ขนาดใหญ่ สามารถ ให้บริการกับผู้คนจานวนมาก ผู้ใช้สามารถเช่ือมต่อกับระบบ Cloud ได้ผ่านทางคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ 7) S: Social Media คือ สื่อสังคมออนไลน์ที่อนญุ าตให้ผู้ใช้มสี ่วนร่วมในการเป็นผู้ท่ีสร้าง เนอื้ หา (Content) ดว้ ยข้อความ รปู ภาพกราฟกิ เสยี ง หรือ คลปิ วีดโี อ เปน็ ต้น ทางเวบ็ ไซต์ หรอื Application ต่างๆ เพื่อให้ทุกคนสามารถเข้าถึง ได้แลกเปล่ียนข้อมลู ข่าวสาร และตอบสนองทางสังคมออนไลน์ได้หลายทิศ ทางผา่ นเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เน็ต เพื่อสรา้ งเปน็ เครอื ขา่ ยสังคมการเรยี นรู้ หรอื เครอื ขา่ ยทางสังคมออนไลน์ การนาเครอื่ งมือ ส่ือ แนวคิด วธิ ีการ กระบวนการ หรือส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ๆ ทน่ี ามาใช้แก้ปัญหาเพอื่ การพฒั นาการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพตรงตามเป้าหมายของหลักสูตร ประเภทนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีนามาใช้ ก่อให้เกิด ความรู้ ความเข้าใจ เกดิ การเปล่ียนแปลงไปในทางทดี่ ี ดงั นี้ การเปลียนแปลง (Change): ความเปล่ียนแปลงทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีและสื่อสาร สารสนเทศเป็นปัจจัยสาคัญในการเปลี่ยนวิถีการดาเนินชีวิตของคนในยุคปัจจุบัน รูปแบบการใช้ชวี ติ มกี ารเปล่ยี นแปลง เป็นยุคที่คนใช้คอมพิวเตอรอ์ ยตู่ ลอดเวลาโดยไม่ร้ตู ัว เนื่องจากมขี นาดเล็ก และมีประสิทธิภาพมาก สามารถเชื่อมต่อข้อมูลสารสนเทศได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว มีการดาเนินงานใน รปู แบบดิจทิ ัล ทาให้ระบบดิจิทัลมบี ทบาทในการดาเนนิ ธรุ กรรมต่างๆ ผคู้ นสามารถทางานได้จากท่ีใดและเวลา ใดก็ได้ ความสัมพันธ์ในระหว่างบุคคลอยู่ในรูปแบบความสัมพันธ์เสมือนมากย่ิงข้ึน ขอบเขตทางภูมิศาสตร์ไม่ สามารถกดี ขวางการมีปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างบุคคลได้ เพราะการส่ือสารไร้พรมแดนทาให้เกิดความสมั พนั ธผ์ ่านสื่อ

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 23 ออนไลน์ รวมทั้ง การเข้าถึงแหล่งข้อมูลและการเรียนรู้ที่ไม่มีขอบเขตข้อจากัด และจากการเปล่ียนแปลงที่ เกิดขึ้น ส่งผลให้คนในยุคศตวรรษที่ 21 จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาทักษะที่เพ่ิมเติมจากคนในศตวรรษท่ี 19 และ 20 เด็กและเยาวชนจาเป็นตอ้ งมีทักษะการเรียนรู้ และนวตั กรรม ซ่ึงมอี งค์ประกอบ 3R 4C คือ Reading (การอ่าน) Writing (การเขียน) Arithmetic (คณิตศาสตร์) Critical Thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (การรว่ มมือ) Creativity (ความคิดสร้างสรรค์) รวมถึงทกั ษะ ชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศส่ือและเทคโนโลยี และการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ นวัตกรรมช่วยปรับปรุงการเรียนการสอนของผู้สอนให้มีประสิทธิภาพ ทาให้ผู้เรียนได้เข้าถึงความรู้ ได้สัมผัส เคร่อื งมอื และอุปกรณใ์ นการสอน กระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ การต่อยอดความรู้ท่ี มีอยู่ และยงั ชว่ ยทาให้ผู้สอนมีความต่นื ตวั ในการพัฒนาตนเองและการสอนอยู่อยา่ งต่อเนื่อง ทัง้ ดา้ นองค์ความรู้ กระบวนการคิด และสอ่ื การสอน เชน่ การเนน้ เปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) มากกว่าเป็น องค์กรท่เี นน้ ในกฎระเบยี บ ความแปลกใหม่ (Novelty): นวัตกรรมทางการศึกษาท่ีกล่าวถึงกันมากในปัจจุบัน คือ E-Learning (Electronic Learning) เป็นการศึกษาที่เรียนรู้ด้วยตนเองผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เป็นไปตามปัจจัยภายใต้ ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ คือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียน และการตอบสนองในความแตกต่าง ระหว่างบุคคล เรียนผ่านส่ือบนเครือข่ายอินเตอร์เนต็ ห้องเรียนเสมือนจรงิ (Virtual Classroom) เป็นการจัด สิ่งแวดล้อมในความว่างเปล่า (Space) โดยอาศัยศักยภาพของเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพ่ือให้เป็นการจัด ประสบการณ์เสมือนจริงแก่ผู้เรียน ส่ือหลายมิติ เป็นส่ือท่ีพัฒนามาจากข้อความหลายมิติ แวนนิวาร์ บุช (Vannevar Bush) เปน็ ผู้ทม่ี ีความคดิ ริเร่มิ เกย่ี วกับเรอื่ งนี้ โดยเขากลา่ วว่า น่าจะมีเครอ่ื งมอื อะไรสักอย่างที่ ช่วยในเร่ืองความจาและความคิดของมนุษย์ท่ีจะชว่ ยให้เราสามารถสืบคน้ และเรียกใชข้ อ้ มูลจากคอมพิวเตอร์ได้ หลายๆ ขอ้ มูลในเวลาเดยี วกันเหมือนกบั ท่คี นเราสามารถคิดเรื่องต่างๆ ไดห้ ลายเรือ่ งในเวลาเดียวกนั สิงทดี กี ว่า (Outcome): สือ่ การเรียนการสอนสมยั ใหมเ่ ป็นตัวกลางท่ีมีความสาคญั ของการเรียนรู้ในยุค นี้ หรือในยุคท่ีเต็มไปด้วย ICT เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือสารต่างๆ เครื่องมือเหล่านี้ช่วยสร้างสีสันดึงดูดใจ เปิดโลกการเรียนรู้กว้างไกลต่อผู้เรียนมากย่ิงข้ึนและจะส่งผลโดยตรงถึงตัวผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนมีการ เปล่ียนแปลงพฤติกรรม เปล่ียนแปลงวธิ ีการเรียนรู้ มคี วามอยากรู้อยากเห็นมากยงิ่ ข้ึน เพราะสิ่งท่เี หน็ อยนู่ ั้น ถอื เป็นส่ิงที่แปลกใหม่สาหรบั ผู้เรียน โดยสื่อการเรียนการสอนที่ผู้สอนนามาสอนส่วนใหญ่ มักจะเป็นสิ่งท่ีทนั สมัย มีการพัฒนาไปตามการเปล่ียนแปลงต่างๆ อย่างไม่หยุดยั้ง ซึ่งผู้สอนหรือนักวิชาการจะเรียกชื่อสื่อการสอน เหล่านี้แตกตา่ งกันออกไป เชน่ โสตทศั นูปกรณ์ ส่ือการเรียนการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นตน้ มีคุณภาพ (Quality): นวัตกรรมการสอนที่มีคุณภาพ (Quality Teaching Innovation) นอกจากจะ เปน็ ส่งิ ใหม่ตามความหมายของความเปน็ “นวัตกรรม” แลว้ ยังตอ้ งมีความสอดคล้องกับรูปแบบความสัมพันธ์ ของคนในสังคมอีกด้วย นวัตกรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ อยู่ในรูปแบบของ “ความคิดเชิงคุณภาพ” (Quality Thinking) เกิดจากกระบวนการสาคัญ 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1) ขั้นการสรุปบทเรียน (Lesson Learned) เป็นการ รวบรวมองค์ความรู้ทางด้านการสอน จากการจัดกิจกรรมการสอน เทคนิคและวิธีการสอน สื่อการสอน และ การวัดและประเมินผลที่ประสบความสาเร็จ 2) ขั้นการถอดบทเรียน (Lesson Distilled) เป็นการกลั่นกรอง

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 24 องค์ความรู้ต่างๆ จากการสรุปบทเรียนและเช่ือมโยงกับบริบททางสังคมที่เปลี่ยนไป ทั้งในรูปแบบของ ความสัมพันธ์ในสังคม วิถีชีวิตของผู้สอนและผู้เรียน เทคโนโลยีที่เหมาะสม ความพร้อมของฝ่ายสนับสนุน ตลอดจนระดับเศรษฐกิจหรือค่าใช้จ่ายของฝ่ายท่ีเก่ียวข้อง 3) ขั้นการเข้ารหัสนวัตกรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ (Quality Teaching Innovation Encoded) เป็นข้นั ท่เี กดิ รูปแบบนวตั กรรม “ความคิดเชงิ คุณภาพ” ทางการ สอน อาจเป็นกลุ่มของคา วาทกรรม หรือเป็นภาษาคาพูดท่ีสามารถจดจาได้ง่าย อาจมีการสร้างสัญลักษณ์ (Symbol) หรือสัญรูป (Icon) เป็นตัวแทนของนวตั กรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ ซึ่งนาไปใช้เป็นแนวทางของการ จดั การเรยี นการสอนที่มีคุณภาพ อาจจะอยู่ในรูปของ Apps สาหรับ Tablets และ Smart Phones ในขัน้ ตอน น้ีไม่จาเป็นต้องใช้เวลามาก อาจเกิดขึ้นพร้อมๆ กับขั้นของการถอดบทเรียน และเป็นผลของการท่ีได้ถอด บทเรียนแลว้ การเขา้ รหสั นวัตกรรมจะเกิดข้ึนไมไ่ ด้ถา้ ไม่ผา่ นข้ันตอนของการสรปุ บทเรยี น และถอดบทเรียนมา ก่อน 4) ข้ันการถอดรหัสนวัตกรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ (Quality Teaching Innovation Decoded) สาหรับ นาไปใช้ในการสอน จะเห็นไดว้ า่ นวัตกรรมการสอนทีม่ คี ณุ ภาพน้ัน ไมไ่ ด้เป็นชุดการสอนบทเรียนสาเร็จรูปเพื่อ นาไปใช้สอน แต่เป็น “รูปแบบความคิดทางการสอน” ที่ต้องนาไปถอดรหัสก่อน การมีรูปแบบนวัตกรรมการ สอนเชิงความคิดไปใช้ด้วยการถอดรหัส และ 5) ข้ันการเผยแพร่นวัตกรรมการสอนที่มีคุณภาพ (Quality Teaching Innovation Diffusion) การเผยแพร่ให้เกิดการยอมรับนวัตกรรมการสอนท่ีมีคุณภาพ มีรูปแบบ และวิธกี ารตา่ งๆ ทั้งกระบวนการทางบรหิ ารและการสง่ั การ กำรร่วมมอื กนั (Collaboration) ไปด้วยกัน (Teamwork), ยอมรับกัน (Acceptable), แรงบันดาลใจ (Inspiration), และส่าเร็จไป ด้วยกัน (Success): กลุ่มคนท่ีมีความสัมพันธ์กันค่อนข้างจะใกล้ชิด มีความสัมพันธ์ท่ีดีต่อกันค่อนข้างจะถาวร ซ่ึงประกอบด้วยหัวหน้างานและเพ่ือนร่วมงาน ทุกคนร่วมมือร่วมใจกันทางานให้บรรลุวัตถุประสงค์และ เป้าหมายท่ีตั้งไว้ เป็นการทางานร่วมกันและส่งเสริมกันไปในทางบวก โดยมีองค์ประกอบ 3 ประการ (3 Ps) ได้แก่ Purpose (มีวัตถุประสงค์/ชัดเจน), Priority (มีการจัดลาดับความสาคัญในการทางาน), และ Performance (มีผลการทางานและการทางานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพ) ควรประกอบด้วยสิ่งเหล่านี้ คือ 1) กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันอย่างชัดเจน และสามารถปฏิบัติงานได้จริงตามที่ต้องการ ทาให้ องค์กรบรรลุผลสาเรจ็ ที่คาดหวงั ไว้ 2) การเปิดเผยและเผชิญหนา้ กัน สมาชิกทุกคนสามารถแสดงความคิดเห็น ได้อย่างเปิดเผย 3) การสนบั สนนุ และความไวว้ างใจต่อกัน ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเหน็ อย่าง ตรงไปตรงมา 4) ความร่วมมือและการให้ความขัดแย้งในทางสร้างสรรค์ 5) มีกระบวนการทางานและการ ตัดสินใจท่ีถูกต้องเหมาะสม คานึงถึงงานหรือผลงานเป็นอันดับแรก 6) หัวหน้าทีมควรทาหน้าที่เป็นผู้ชี้แนะ ประเด็นท่ีสาคัญ มีกระจายงานตามความสามารถแก่ทีมงาน สมาชิกทาหน้าที่เหมาะสมกับงานที่ได้รับ มอบหมาย 7) ตรวจสอบทบทวนผลงานและวิธีในการทางาน 8) การพัฒนาตนเอง พยายามรวบรวมทักษะ ต่างๆ ของสมาชิกทุกคน การพัฒนาบุคลากรในองค์กร ควรพัฒนาจากความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่แล้วและ ฝึกอบรมใหส้ มาชกิ มคี วามรคู้ วามสามารถมากข้นึ ส่กู ารทางานทด่ี ีย่ิงขนึ้

ปีท่ี 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 25 ท่วั โลก (Global) ยอมรับความแตกต่าง (Agree to Disagree), การเชือมโยง (Connection), ความเข้าใจกัน (Understanding), และเป็นหนึงเดียว (One World): เมื่อเทคโนโลยีก้าวกระโดดไปไกลมาก โลกถูกเปิดกว้าง ออก และคนได้เข้ามาใกล้ชิดกันมากข้ึนจากโลกส่ือสารไร้พรมแดน หรือโลกแห่งอินเตอร์เน็ต ทาให้เกิด การศึกษาออนไลน์ขึ้น และการศึกษาออนไลน์น้ี นับวันจะเข้ามามีบทบาทและความสาคัญมากย่ิงข้ึนเร่ือยๆ ความสาคัญหลักๆ ของการศึกษาออนไลน์ คือ เป็นการศึกษาท่ีไร้พรมแดน ไม่ว่าจะเป็นใคร อยู่ที่ใด และมี สถานภาพใด ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ได้ทั้งส้ิน ในอนาคตอันใกล้น้ี การศึกษาออนไลน์จะเข้ามามีบทบาท สาคัญต่อโลกอยา่ งมาก นับตั้งแต่เรอ่ื งของค่าใช้จ่ายในการศึกษา เราสามารถศึกษาองค์ความรทู้ ั้งสิ้นท่ีมใี นโลก ผ่านระบบออนไลน์ด้วยราคาท่ีประหยัด เพราะไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในเร่ืองค่าเดินทาง ค่าท่ีพัก และอื่นๆ จน หมดส้ิน กำรสร้ำงสมรรถนะเด็กไทยในระบบกำรศึกษำยคุ New Normal เราควรสร้างเด็กยุคใหม่ให้มีสมรรถนะ ในเรื่องการเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม คานึงถึงผลประโยชน์ ส่วนรวม รู้จักความอดทนและความมีวินัย เพื่อทาให้สังคมรอดไปพร้อมกัน มีทักษะในการใช้ชีวิต การเอาตัว รอดในแบบต่างๆ ในยุคปัจจุบัน รู้จักการสื่อสารที่ดี ส่ือสารโดยคานึงถึงผู้รับสารว่าจะเข้าใจในสิ่งที่ต้องการจะ สื่อหรือไม่ มีหลักการในการวิเคราะห์และเชื่อถือข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ เด็กจะต้องรู้จักเรื่องของการ สาธารณสุขพ้ืนฐานในการใช้ชีวติ เช่น ในกรณี COVID-19 จะสามารถดูแลปกป้องตนเองไม่ให้รบั เช้ือหรอื แพร่ เชื้อให้คนอื่นอย่างไร อีกท้ัง ควรต้องรู้เรื่องทันเหตุการณ์เศรษฐกิจการเมอื งสังคมและวัฒนธรรมด้วย ครูในยุค New Normal ต้องร้จู ักสร้างเด็กใหม้ ีความคิดสร้างสรรค์ มีสมรรถนะหลายๆ ด้าน มที ัง้ Hard Skills และ Soft Skills โดยครตู ้องบอกผลลัพธ์หรอื จุดประสงค์ท่อี ยากให้เดก็ ไปถงึ ไดอ้ ย่างชดั เจนระหว่างทางนอกจากการสอน แล้วยังต้องเป็นโค้ชที่ฝึกฝนให้ผู้เรียนมีกาลังใจ สามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ ครูควรรับฟังความ คิดเห็นของผู้เรียน มีการสะท้อนกลับท่ีมีประสิทธิภาพ ไม่ทาให้ผู้เรียนหมดกาลังใจ แต่เป็นการสร้างเสริม เพ่ือ พฒั นาผู้เรียนใหเ้ ปน็ บคุ คลคณุ ภาพของประเทศ สร้างสรรค์สังคมท่มี คี ุณภาพต่อไป การสร้างผู้เรียนให้มีสมรรถนะ หรือให้คุณลักษณะพ้ืนฐานท่ีผู้เรียนมีและสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ จริงในชีวิตประจาวันได้นั้น ครูผู้สอนจาเป็นต้องมีสมรรถนะก่อน น่ันคือ ครูต้องรวบรวมความรู้ความคิดแล้ว นามาออกแบบการจัดการเรยี นรใู้ ห้มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด เพื่อเสรมิ สร้างให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะท่ีสาคญั ครู ตอ้ งกลา้ ทจี่ ะปรับเปลย่ี น ทาการจัดการเรียนรู้ท่เี น้นประสบการณ์ ใช้ฐานคิด เปลยี่ นการประเมนิ มงุ่ สเู่ ปา้ หมาย ของผู้เรียนอย่างต่อเน่ือง รู้จักสังเกตการณ์ และตอบสนองอย่างถูกวิธี ครูจะต้องมีความชัดเจนในเรื่องที่สอน สามารถออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเพ่ือให้เกิดตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ ส่วนผู้เรียนเม่ือเรียนแลว้ สามารถปฏิบัติได้ ตามวัตถุประสงค์ และสามารถประเมินได้ มีการบูรณาการการจัดการเรียนรู้สู่การเรียนรู้ท่ี ยั่งยืนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อสนับสนุนเด็กในทุกๆ ด้าน เพราะพื้นฐานและความเข้าใจของเด็กแตกต่าง

ปีที่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 26 กนั ช่วยเชื่อมโยงผูเ้ รียนสูก่ ิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ีหลากหลายและตามความสนใจ โดยไม่ทอดทิ้งผ้เู รยี นทีเ่ รียนรู้ช้า ไวเ้ บ้อื งหลงั เพยี งลาพงั ผู้เรียน ผูส้ อน กำรจัดกำรเรียนรู้ และกำรประเมินสมรรถนะ ผเู้ รียนควรมสี ิทธิท์ ่ีจะเลอื กเรยี นในส่งิ ที่ตวั เองชอบในสิ่งที่ตัวเองสนใจ และครผู สู้ อนควรสนบั สนุนในส่ิง ท่ีผู้เรียนชอบ เป็นผู้ช้ีแนะ อานวยความสะดวก และดึงสมรรถนะของผู้เรียนท่ีมีอยู่ออกมาให้ได้มากท่ีสุด ครูผู้สอนจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ของผู้เรียน และ เหตุการณ์ปัจจุบัน มีความยืดหยุ่น และบูรณาการให้สอดคล้องในหลายๆ กลุ่มสาระและหาส่ือการเรียนรู้ที่ หลากหลายให้เหมาะสมกับเด็กๆ เพ่ือให้นักเรียนได้ความรู้และประโยชน์สูงสุด หากครูผู้สอนสามารถทาให้ ผู้เรยี นประสบความสาเร็จได้ หมายถึง ครมู สี มรรถนะ มศี กั ยภาพ วธิ ีการสอนของครสู าคัญมากอย่างยิ่ง เพราะ เดก็ แต่ละคนมีความแตกต่างกนั ดังน้ัน การทีค่ รูจะดึงสมรรถนะของเดก็ แต่ละคนออกมาได้ ครจู ะตอ้ งมีเทคนิค การสอนที่ดี และสอดคล้องกับสถานการณ์ในปัจจุบัน ฝึกให้เด็กคิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง เพื่อเป็นการพัฒนา สมรรถนะของเด็กในดา้ นตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ครูต้องปรับกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ต้องเปล่ียนแปลง โดยเลือกกจิ กรรมทเี่ หมาะสม มีการเว้นระยะห่างทางสงั คม อาจจะเนน้ ไปที่การใช้สือ่ เทคโนโลยีมากกว่าการทา กิจกรรมกลุ่ม และยังคงต้องเสริมสมรรถนะท่ีสาคัญให้กับผู้เรียน และการวัดผลก็ต้องมีการปรับเปล่ียนตาม บริบทของสถานศึกษานั้นๆ สรุปคือ ครูเป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) ครูเป็นผู้ชี้แนะแนวทาง (Guide/Coach) ครูเปน็ ผูร้ ว่ มเรียนรู้ รว่ มศกึ ษา (Co-Learner/Co-Investigator) ครมู ีประสบการณก์ ารจัดการ เรียนรู้ แสวงหาความรู้ จัดสื่อการเรียนการสอน ประเมินผลรูปแบบใหม่ผ่านส่ือเทคโนโลยี ครูมีหลักสูตรที่สอน สอดคล้องกับชีวิตจริง เน้นทักษะชีวิต การลงมือปฏิบัติมากกว่าเน้ือหาวิชาการ มีกิจกรรมที่เน้นการออกกาลงั กาย สขุ อนามยั และมีหลกั สูตรวชิ าความรทู้ ีจ่ าเปน็ ต่อการใชช้ วี ติ ในศตวรรษท่ี 21 การจัดการเรียนรู้ ต้องเอ้ือต่อประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มุ่งเป้าหมายไปที่การพัฒนา ผูเ้ รียนใหเ้ กดิ สมรรถนะในแต่ละด้านอยา่ งครบถ้วน ลดภาระการเรียนร้ทู ่ไี มจ่ าเป็น การเรยี นทเ่ี ช่อื มโยงชวี ิตจริง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความรู้สึกท่ีเเท้จริงสร้างบรรยากาศเป็นมิตรและปลอดภยั การออกแบบการจัดการ เรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนแสดงสมรรถนะในแตล่ ะด้านอยา่ งครบถว้ น เนน้ การชว่ ยเหลือกัน สามารถประยุกตใ์ ช้ไดใ้ น สถานการณ์จริง ทไ่ี ดร้ ับการจัดการเรียนการสอนของครูผสู้ อน โดยมีการวดั และประเมนิ ผลตลอดปกี ารศึกษา มี การใชเ้ ครอ่ื งมอื ทหี่ ลากหลายในการประเมนิ ควรออกแบบใหผ้ เู้ รยี นไดม้ โี อกาสความคดิ เหน็ ของตนเองทุกสาระ การเรยี นรู้ เพราะหลังเรียน ผู้เรยี นจะสามารถบอกข้อมูลของตนเอง กล้าคดิ กลา้ บอก กลา้ ทา วธิ กี ารบางอย่าง ผเู้ รียนคดิ เองได้ และครสู ามารถหยิบจับงานของผู้เรียนมาวิเคราะหแ์ ละเสนอแนะในส่ิงทีถ่ ูกตอ้ ง และจะต้องไม่ ลมื ท่ีจะชื่นชมการแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ของผูเ้ รียน เพอ่ื ใหม้ ีกาลังใจในการเรยี นรู้ต่อไป การประเมินสมรรถนะ การตรวจสอบความสามารถของผู้เรียนเทียบกับมาตรฐานการปฏิบัติจาก กระบวนการเก็บรวบรวมหลักฐานเพื่อไปสู่การวิเคราะห์ความก้าวหน้าและความสาเร็จในการเรียนรู้ฐาน สมรรถนะของผู้เรยี น ในเรอ่ื งของการประเมินความสามารถตามหลักฐานที่ผลิตขนึ้ การประเมินความสามารถ ของผู้เรียนเทียบกับเกณฑ์มาตรฐาน และผู้ประเมินและผู้ถูกประเมินควรพูดคุยถึงรูปแบบการประเมิน การ

ปที ่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 27 ประเมนิ ระหวา่ งการเรยี นรู้ จะชว่ ยใหค้ รูผู้สอนสามารถปรบั การจัดการเรยี นรู้ได้เรว็ ย่ิงข้นึ และสามารถแก้ปัญหา หรอื อปุ สรรคได้อย่างตรงจุด รวมทัง้ ทาใหค้ รผู สู้ อนพัฒนาศกั ยภาพในการสอนของตนเองได้ดว้ ย เลือกการวัดผล ประเมินผลท่ีหลากหลาย ฝึกทักษะให้ผู้เรียนค้นคว้า เลือกเนื้อหา ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นประโยชน์กับตัวเอง ตรงตามสมรรถนะของนักเรียน การประเมินต้องไม่เน้นความรู้ แต่ควรเน้นการพัฒนา ในระดับการศึกษา ควร ประเมนิ ตามสภาพจริง อยา่ งไรกต็ าม การประเมินสมรรถนะทม่ี ศี กั ยภาพท่ดี ไี ด้นน้ั ผ้ถู ูกประเมินจะตอ้ งมีพร้อมในเร่ืองอารมณ์ ร่างกาย และจิตใจเสียก่อน ผู้ประเมินจึงจะสามารถประเมินสมรรถนะได้ ดังนั้น ถ้าจะผลิตผู้เรียนท่ีสมบูรณ์ ครูผสู้ อนควรมีพื้นฐานความรู้ ทักษะการปฏบิ ัติ และคุณลกั ษณะท่ดี ีทจ่ี ะนาไปเสริมให้ผู้เรียนมีสมรรถนะ เพอ่ื ไป ใช้กบั สถานการณ์จริงไดใ้ นปัจจบุ ัน และพร้อมกบั การเปลี่ยนแปลงในอนาคต การประเมินการเรยี นรจู้ ะมีคุณค่า ได้ก็ต่อเมื่อ เรานาผลลัพธ์ที่ได้จากการประเมินไปใช้ปรับปรุงการจัดการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนและ พัฒนาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ช่วยสนับสนุนผู้เรียนเกิดความคิดให้เห็นภาพที่เกิดข้ึนจริง และครูผู้สอน จะต้องมีความรู้และเข้าใจความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผู้เรียน เพราะผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถและ ความคิดท่ีแตกต่างกัน การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยเน้นสมรรถนะเป็นส่ิงท่ีดี ควรมีการปรับหลักสูตร ให้เหมาะสม เพราะในแต่ละกิจกรรมคงต้องใช้เวลาเพิ่มมากขึ้น โดยครูแต่ละช้ันยังต้องพัฒนาสมรรถนะของ ผูเ้ รียนอย่างตอ่ เนื่องจนจบการศกึ ษา ไม่มสี ือ่ ใดสมบูรณแ์ บบ ครผู ู้สอนตอ้ งดูและทาความรจู้ ักผเู้ รียน มีความผัน แปรไปตามวัตถุประสงค์การเรียนรู้ หมายถึง เราออกแบบหลักสูตรอย่างไร ผู้ผลิตสื่อก็พยายามผลิตสื่อออกมา ให้ตรงกับวัตถุประสงค์ การจัดการเรียนรู้ท่ีผ่านมา จะเน้นที่เน้ือหาเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้น จึงมีแต่สื่อที่ให้แต่ เนื้อหา เวลาจะวัดประเมินผลตามสื่อ จะออกมาในลักษณะ แบบทดสอบท้ายบท ซึ่งจะไม่สามารถนามาวัด สมรรถนะของผู้เรียนได้ ดังน้ัน หากเราต้องการจะวัดสมรรถนะการเรียนรู้ของผู้เรียน เราจาเป็นต้องมีการ ปรับเปล่ยี นสอ่ื การจัดการเรียนรู้เสียก่อน ท้งั น้ี ตอ้ งดูวิเคราะห์ผู้เรียนก่อนว่าเป็นลักษณะใด หลังจากน้ัน เลอื ก สื่อที่นามาใช้ ต้องออกแบบส่ือ ออกแบบสถานการณ์ ส่ือท่ีจะออกมา จะต้องสร้างสมรรถนะเด็กได้หลายๆ ตัว ไปพรอ้ มๆ กัน เราจะไม่ใชส้ ่ือทิศทางเดยี ว ต้องเปน็ สอ่ื ที่ให้ผู้เรยี นได้สะท้อนการเปรยี บเทียบ กระต้นุ การคิดใน การหาคาตอบหลากหลาย กำรจดั สภำพแวดลอ้ มใหเ้ หมำะกบั กำรเรียนกำรสอน สภาพแวดล้อมทางการเรียน (Learning Environment) สภาวะใดๆ ที่มีผลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ ท้ังทางตรงและทางอ้อม ท้ังที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม สภาพแวดล้อมท่ีเป็นรูปธรรม (Concrete Environmental) หรือสภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Physical Environment) ได้แก่ สภาพต่างๆ ที่มนุษย์ทา ข้ึน เช่น อาคาร สถานที่ โต๊ะ เก้าอ้ี วัสดุ อุปกรณ์ หรือส่ือต่างๆ รวมทั้งสิ่งต่างๆ ที่อยู่ตามธรรมชาติ อันได้แก่ ต้นไม้ พืช ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ในสังคมสารสนเทศ สภาพแวดล้อมใหม่เพ่ือการเรียนรู้ไม่ได้จากัดเพียงใน ห้องเรียน หากแต่เทคโนโลยีสารสนเทศหรือนวตั กรรมเทคโนโลยี จะมีบทบาทในการขยายขอบเขตของสภาพ

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 28 การเรียนรู้ที่กว้างขวางขึ้น และไม่จากัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ Margaret Riel เสนอรูปแบบแนวคิด สภาพแวดล้อมเพือ่ การเรียนรูท้ ีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพท่พี งึ มี 4 องคป์ ระกอบ คือ การยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (Learner-Centered Approach): ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ อย่างกระฉับกระเฉงและเนน้ เนื้อหาท่ีผู้เรยี นสนใจ เป้าหมายของการเรียนการสอนยคุ ใหม่นี้ คือ การให้ผู้เรียน ตั้งเป้าหมายด้วยตนเอง และมีความสามารถที่จะสร้างสรรค์องค์ความรใู้ หม่ ภารกิจที่สาคัญของผู้สอนคือ การ ออกแบบการเรียนการสอนท่ีเนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยผู้สอนจะเน้นบทบาทในการเป็นผู้อานวยความสะดวก ใหแ้ ก่ผูเ้ รยี น รปู แบบการเรียนการสอนแบบนี้ ไดแ้ ก่ การเรียนแบบรว่ มมือระหว่างผ้เู รยี นกันเอง การเรยี นการ สอนแบบรว่ มมือระหวา่ งผูเ้ รียน และผ้สู อน การเรียนแบบโครงการ การเรยี นรู้ดว้ ยการแกป้ ญั หา เปน็ ตน้ ความรู้เป็นศูนย์กลาง (Knowledge-Centered Approach): ความสามารถในการคิด การคิดอย่าง ใคร่ครวญ และการแก้ปญั หาจะแข็งแกรง่ ก็ด้วยการเข้าถงึ ความคิด สมมตฐิ าน ความคดิ รวบยอด ทผี่ ู้ร้ตู ่างๆ ได้ จัดไว้อย่างมีความหมาย การเรียนท่ีมีความรู้เป็นศูนย์กลางน้ี จะเน้นบทบาทที่สาคัญของผู้สอนในการจัด รายวชิ าการเรยี นรใู้ ห้ผ้เู รยี น และสรา้ งสภาพการเรยี นรู้ที่สามารถแสวงหาความร้ไู ด้ดว้ ยตนเองจากแหลง่ ความรู้ ทีห่ ลากหลาย มไิ ดจ้ ากดั ตาราเพยี งเล่มเดียว ยิ่งเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นเข้าถงึ แหลง่ ความรู้ แหล่งสารสนเทศได้มาก เท่าใด ย่ิงเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนรวู้ ่าแหล่งความรู้น้ันมีอยู่มากมาย การจะได้ความรู้มาได้นน้ั อยู่ที่ตัวเขาเอง สารสนเทศในยุคนมี้ กี ารเก็บในรูปแบบท่ีหลากหลาย และที่สาคัญคือในรูปอิเล็กทรอนิคส์รูปแบบต่างๆ ซ่ึงทาให้ สบื คน้ และเขา้ ถงึ ได้งา่ ยนวตั กรรมเทคโนโลยีน้ีมบี ทบาททสี่ าคัญในการสร้างสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ ชุมชนเป็นศูนย์กลาง (Community-Centered Approach): สิ่งนี้เป็นมิติที่วิกฤติอย่างหน่ึงของ สภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ ชุมชนของผู้เรียนมีความแตกต่างอย่างเด่นชัดกบั ห้องเรียนของผู้เรียน ชุมชนแห่ง การเรียนรู้ คือ กลุ่มคนท่ีมีลักษณะดังน้ี 1) มีความสนใจร่วมในหัวเร่ือง งาน หรือปัญหา 2) เคารพต่อความ หลากหลายของแนวคดิ 3) มีระดับของทักษะและความสามารถ 4) มโี อกาสและความมงุ่ มน่ั ท่จี ะทางานเป็นหมู่ คณะ 5) มีเคร่ืองมือท่ีจะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 6) ผลผลิตทางความรู้เป็นเสมือนเป้าหมายหรือผลผลิตร่วม ของชุมชนของผู้รู้ ชุมชนของผู้เรียนเป็นแหล่งความรู้ที่สาคัญในสังคมสารสนเทศเพราะนวัตกรรมเทคโนโลยี สามารถเช่ือมโยงชุมชนของผู้เรียนจากต่างสถาบัน ต่างภาค ต่างประเทศ ให้ได้มีโอกาสแลกเปล่ียน ประสบการณ์กับชุมชนแห่งปราชญ์ (Community of Scholars) ในสาขาวิชาชีพน้ัน ไม่ว่าจะผ่านทาง Listserv, Web-board ไปจนถงึ เทคโนโลยีระดับสูงอ่นื ๆ ประสบการณ์ใหม่ทไี่ ด้จากมิติของสภาพแวดล้อมใหม่ ในการเรียนร้นู ้ี จะสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมโี อกาสที่จะสรา้ งองค์ความรูใ้ หม่ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ การประเมินผลเป็นศูนยก์ ลาง (Assessment-Centered Approach): การรวู้ า่ ผเู้ รยี นกาลังเรียนอะไร อยู่ และอะไรคอื ส่งิ ทเ่ี ขากาลังเรียนรู้เปน็ สิง่ สาคัญในการดดั แปลงสภาพแวดล้อมในการเรียนรู้ การประเมนิ ตอ้ ง เป็นการนาไปสู่การพัฒนาที่ดีกว่า มากกว่าการตัดสินวา่ ผู้เรียนเรยี นรูห้ รอื ไม่ การประเมินผลในสภาพจรงิ เป็น ส่ิงที่สาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงของการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมใหม่ เป็นการประเมินกระบวนการ การ ประเมินผลของการปฏิบัติงาน มากกว่าการวัดเพียงความรู้ความจา เคร่ืองมือของการประเมนิ จึงออกมาในรปู ของการประเมินเชิงมิติ (Rubrics) ที่มีการวางเกณฑ์ต่างๆ ท่ีชัดเจน การประเมินจากแฟ้มสะสมผลงาน

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 29 (Portfolio) ท่ีได้จากกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรียนการสร้างแผนท่ีมโนมติ (Concept-Map) ท่ีแสดงออกของ การเชอ่ื มโยงความคดิ ท่ีหลากหลายเหลา่ น้ี เปน็ ต้น บทสรปุ ระบบการศึกษาไทยปัจจุบัน จาต้องได้รับการปฏิรูปอย่างเร่งด่วน เพ่ือตอบสนองความต้องการของ สังคมโลก สถานศกึ ษาจะต้องเตรียมความพร้อมผู้เรียนให้ทันต่อเหตุการณ์ปัจจุบนั และโลกอนาคต ด้วยการจัด การศึกษาให้มีคุณภาพสูง มุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในภาพรวมมากกว่าความสาเร็จทางวิชาการแต่เพียงอย่าง เดียว กาหนดให้ผู้เรียนมีทักษะและความสามารถท่ีจะคิดค้นส่ิงต่างๆ ได้ด้วยตัวเอง มีทักษะด้านความรู้ ความ เข้าใจ ทักษะการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล และทักษะภายในตัวบุคคล ซ่ึงทักษะเหล่าน้ีเป็นส่ิงสาคัญสาหรับการ ทางาน และเปน็ พลเมืองที่ดีมีชวี ิตอยูร่ อด ผสู้ อนควรออกแบบการจัดการเรยี นร้เู พ่ือให้ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยง ความรู้และทักษะ และเข้าใจถึงปัญหาที่เกิดขึ้นในโลก ผู้สอนควรปรับวิธีการเรียนการสอน ท่ีเน้นให้ผู้เรียน สามารถเรยี นรไู้ ดด้ ว้ ยตนเองและทางานเป็นกลมุ่ เพื่อพัฒนาทกั ษะการเรยี นและนวัตกรรมทกั ษะชีวิตและอาชีพ ทางานและทักษะด้านเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศ ผู้บริหารและครูผู้สอนต้องปลูกฝังความรู้และทักษะที่ จาเปน็ โดยแสดงให้ผูเ้ รียนเห็นว่าความรู้และทกั ษะน้ีใช้กับโลกแห่งความเปน็ จริงได้ และตอ้ งพยายามเพิ่มความ ใฝร่ ูข้ องผูเ้ รียน ซง่ึ จะช่วยให้ผู้เรียนกลายเป็นผเู้ รยี นรตู้ ลอดชีวิต สถานศกึ ษาสามารถช่วยให้ผู้เรียนพฒั นาความรู้ ทักษะ และความสามารถที่จาเป็น เพ่ือประสบความสาเร็จในการเผชิญหน้ากับเหตุการณ์จริงทางสังคมและ เศรษฐกิจในศตวรรษท่ี 21 ดงั นน้ั สถานศกึ ษาควรมกี ารจัดการรวบรวมความรู้และทักษะทีจ่ าเป็นเข้าไว้ด้วยกัน มีระบบสนบั สนนุ ท่ีได้มาตรฐาน มกี ารประเมนิ หลักสตู รและการเรียนการสอนการพฒั นาวชิ าชพี ครู การพฒั นา สภาพแวดล้อมการเรียนรูก้ ารมสี ่วนร่วมของผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ และเมื่อผู้เรียนจบการศึกษาพร้อมที่ จะเจรญิ เติบโตในโลกดิจิทลั ทีเ่ ช่อื มตอ่ กันได้ทวั่ โลก สมรรถนะสาคัญของเด็กไทยยุค New Normal คือ 1) การจัดการตนเอง (Self Management) พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ คนเราต้องมีความอดทน รับได้ต่อสถานการณ์ต่างๆ 2) การสื่อสาร (Communication) มีความเข้าอกเข้าใจผู้อ่ืน รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3) การรวมพลัง ทางานเป็นทีม (Teamwork and Collaboration) ร้จู ักทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่น เป็นผนู้ า ผู้ตาม แสดงความคดิ เห็น และการรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น มีความยืดหยุ่นในการทางาน ครูผู้สอนจาเป็นต้องสร้างให้เด็ก 4) การคิดขั้นสูง (Higher Order Thinking) ทักษะการคิด เป็นเรื่องก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชน ทาอย่างไรให้เกิดนวัตกรรม รู้จกั แยกแยะ ไม่หลงเชื่ออยา่ งเดียว และ 5) มีความเป็นพลเมืองท่เี ข้มแข็ง (Active Citizen) ในสงั คมปจั จุบันมี ความต้องการสูงมากเรื่องการทาตัวเป็นส่วนหนึ่งของสังคม การแสดงความคิดเห็น การแสดงออก ผู้เรียน จาเปน็ ตอ้ งมี มใิ ช่เป็นผตู้ ามตลอด การศกึ ษาจะเปน็ กระบวนการปรับเปลี่ยนใหเ้ กิดความเขา้ ใจ การยอมรบั หรอื ปฏิเสธ การให้การศึกษาท่ีมีคุณภาพแกเ่ ด็กไทยสว่ นใหญ่ของประเทศจงึ เปน็ ภารกิจทสี่ าคัญอยา่ งย่ิง ถึงเวลาแล้ว ท่ีเราจะต้องหันมาดูระบบการศึกษาไทยว่าสอนให้คนคิดอย่างมีเหตุมีผล หรือสอนให้จาแต่ข้อมูลข่าวสาร ถึง เวลาแล้วท่ีเราจะต้องวิเคราะห์กระบวนการจัดการเรียนรู้ทุกระดับว่าเป็นกระบวนการของปัญหาหรื อ กระบวนการปอ้ นข้อมูล การปฏริ ปู ระบบการศึกษาท้ังทางด้านปรัชญาการเรียน การสอน หลักสตู ร ระบบการ

ปีท่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 30 เรยี นรู้ ระบบการทดสอบ การประเมนิ ผลการบรหิ ารและการจัดการอย่างเป็นระบบ จะเป็นแนวทางการปฏิรูป เพื่อปรับปรุงระบบการศึกษาไทยให้มีความทันสมัย ทันเหตุการณ์ โดยเฉพาะในยุคแห่งเทคโนโลยีท่ีมีการ เปล่ียนแปลงรวดเร็วตลอดเวลา ทาให้เด็กไทยมีศักยภาพ มีสมรรถนะ สามารถปรับตัวได้ดีต่อการเรยี นรู้อย่าง ตลอดชีวิตอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และมีสมรรถนะท่ีดตี อ่ กบั ระบบการศึกษาไทยในความปกตใิ หม่ กล่าวโดยสรุป การศึกษาความมีความสาคัญต่อการพัฒนาประเทศเป็นอย่างย่ิง เพราะการศึกษา เปรียบประดุจเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของคน ซึ่งหากสังคมหรือประเทศใดประชาชนโดยเฉล่ียมี การศกึ ษาอยใู่ นระดบั ต่าสงั คมหรือประเทศน้ันกจ็ ะด้อยการพฒั นากว่าสังคมหรือประเทศที่ประชาชนโดยเฉล่ียมี การศกึ ษาอยู่ในระดบั สูง เอกสำรอำ้ งองิ การจัดการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21. รูปแบบการอ้างองิ และบรรณานุกรม.[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก http://arit.mcru.ac.th/images/KM/2556/56KM_1.pdf (วนั ทคี่ น้ ขอ้ มูล: 25 มิถนุ ายน 2563). การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคัญ. รูปแบบการอ้างองิ และบรรณานกุ รม.[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://childcenter-edu.blogspot.com/2009/11/blog-post.html (วันทค่ี น้ ขอ้ มลู : 25 มิถนุ ายน 2563). การสอนแบบทนั สมัยและเทคนิควิธีสอนแนวใหม่ ขัณธ์ชัย อธิเกยี รติ ธนารกั ษ์ สารเถือ่ นแก้ว. รปู แบบการ อ้างอิงและบรรณานุกรม.[ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก http://regis.skru.ac.th/RegisWeb/datafiledownload/25590714-15.pdf (วันท่คี น้ ขอ้ มูล: 25 มิถุนายน 2563). ครปู ฐมวัยในศตวรรษท่ี 21. รปู แบบการอา้ งอิงและบรรณานกุ รม.[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก https://www.gotoknow.org/posts/619231 (วันท่ีคน้ ขอ้ มลู : 25 มถิ ุนายน 2563). รูปแบบ การจัดห้องเรียน สร้างบรรยากาศการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21. รปู แบบการอา้ งอิงและบรรณานุกรม. [ออนไลน]์ . เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.krupatom.com/วชิ าการศึกษา/ความรู้สาหรับคร/ู education_7532 (วนั ที่ค้นขอ้ มูล: 26 มถิ นุ ายน 2563). สภาพแวดล้อมทางการเรยี น (Learning Environment). รูปแบบการอ้างองิ และบรรณานุกรม. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/websitessthid/sphaph-waedlxm- thangkar- reiyn-learning-environment (วันทีค่ น้ ขอ้ มูล: 26 มิถนุ ายน 2563). สมรรถนะเดก็ ไทยในยคุ New Normal. รูปแบบการอา้ งอิงและบรรณานกุ รม.[ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก https://www.worlddidacasia.com/online-workshop/ (วันทคี่ น้ ข้อมลู : 4 กรกฎาคม 2563). สื่อหลายมิต.ิ รูปแบบการอา้ งอิงและบรรณานกุ รม.[ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก https://06550239- 01.blogspot.com/2013/01/2000-165-hypertext-vannevar-bush-node.html (วนั ท่ีค้นขอ้ มูล: 28 มกราคม 2564). ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21. รปู แบบการอา้ งองิ และบรรณานุกรม.[ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก https://www.edukids.co.th/21st-century-classroom-ห้องเรยี นในศตวรรษท/ี (วันที่ค้นข้อมูล: 26 มถิ นุ ายน 2563).

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 31 การพัฒนาครูไทยในยคุ ศตวรรษท่ี 21 : ความท้าทายของการจัดการศึกษาไทย Development of Thai Teachers in the 21st Century : Challenges of Thai Education Management ชมพูนุท ผิวผอ่ ง *โรงเรียนพรหมพกิ ุลทอง สมุทรปราการ สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 2 บทคดั ย่อ ศตวรรษที่ 21 เป็นช่วงเวลาแห่งความท้าทาย ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษน้ี เป็นเร่ืองสาคัญของกระแสการปรับเปล่ียนทางสงั คมที่เกิดขน้ึ และส่งผลตอ่ วิถกี ารดารงชีพของผู้คนอยา่ งท่ัวถึง ครูซ่งึ เปน็ บุคลากรสาคญั ในการขับเคลือ่ นการพัฒนาการศึกษาของสังคม จึงต้องมคี วามต่ืนตวั และเตรียมพร้อม ในการจดั การเรยี นรูเ้ พอื่ เตรยี มความพร้อมใหน้ กั เรียน ได้มที กั ษะสาหรบั การออกไปดารงชวี ติ ในโลกในศตวรรษ ที่ 21 ท่ีเปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญท่ีสุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ครูต้องเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษนี้ มีความรู้ ความสามารถ และ ทักษะจาเป็นตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ซึ่งทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) ในการจัดการเรียนรู้สาระวิชาต่างๆ ยังมีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพ่ือมีชีวิตในโลกยุค ศตวรรษ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเอง ของศิษย์ โดยครูแค่เพียงช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมท่ีช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมิน ความกา้ วหนา้ ของการเรยี นรู้ของตนเองได้ (ยุทธการเปล่ียน “ครูเฉย” ส่คู รยู ุคศตวรรษท่ี 21, 2557) อย่างไรก็ตามครูยังคงเป็นปัจจัยหลักในการส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้เรียนมีทักษะท่ีจาเป็นใน ศตวรรษที่ 21 เม่ือครูอยากใหศ้ ิษยม์ ีความรู้ความชานาญในด้านทักษะใด ตวั ครูเองนนั้ จาเปน็ อยา่ งย่ิงต้องรู้และ เข้าใจในสิ่งนั้นอย่างถ่องแท้ เพื่อท่ีจะสามารถถ่ายทอดสิ่งนั้นให้กับเด็กได้อย่างมีคุณภาพ บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวทางในการพัฒนาครูไทย เพ่ือให้ครูได้เท่าทันต่อสังคมและโลกท่ีเปลี่ยนไป เราจะเห็นได้ว่าปัจจุบันผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้จากโรงเรียนเพียงแห่งเดียว แต่สามารถเรียนรู้ได้จากแหล่งเรียนรู้ ภายนอกที่เป็นสังคมรอบตัว โดยเฉพาะอย่างย่ิงจากอินเตอรเ์ น็ต บทบาทของครูไทยในศตวรรษที่ 21 จึงต้อง เปลี่ยนแปลงตามผู้เรียนให้ทันไปดว้ ย โดยครูต้องช่วยแกไ้ ขและช้ีแนะความรู้ทัง้ ถูก ผิด จากส่ิงที่ผเู้ รียนได้รับจาก ส่อื ภายนอก รวมทัง้ สอนให้ร้จู ักการคิดวเิ คราะหก์ ลน่ั กรองความรู้อย่างมวี ิจารณญาณ ก่อนนาข้อมลู มาใช้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม นอกจากน้ีครูยังต้องปรับเปลี่ยนวิธีการสอนและต้องพัฒนาทักษะจาเป็นสาหรับการ เรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21 ของตนเอง ครูในยคุ ศตวรรษท่ี 21 ตอ้ งสอนโดยยึดผเู้ รียนเป็นสาคัญ หมายถึง การที่ครู ทาหน้าท่ีเป็นผู้ช่วยเหลือ สนับสนุนให้ผู้เรียนพัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ใช้เทคโนโลยีมาเป็นแรงกระตุ้น สรรหาเทคนิคการสอนแบบใหม่โดยสอดคล้องกบั ความจาเป็นเพ่ือการดารงชีวติ ในสังคมที่ทันสมัย ผู้คนในยุค ใหม่ต้องเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ ตลอดเวลา ครูจะต้องฝึกนิสัยให้ผู้เรียนรักการเรียนรู้ ปรับเปลี่ยนความคิดได้อย่างมี

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 32 เหตุผล มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และสอนวิธีเรียนมากกว่าสอนเน้ือหาเพราะเนื้อหาในยุคสมัยน้ีจะมากเกิน กวา่ ท่จี ะเรยี นรู้ได้อยา่ งพอเพียง และมกี ารปรับเปลย่ี นอยูต่ ลอดเวลา การศึกษาท่ีดีสาหรับคนยุคใหม่น้ัน ไม่เหมือนการศึกษาเหมือนสมัยแต่ก่อน การศึกษาที่มีคุณภาพ จะต้องเปล่ียนรูปแบบการเรียนรู้ของนักเรียนไปอย่างสิ้นเชิง และบทบาทของครู – อาจารย์ก็ต้องเปล่ียนไป อย่างสิ้นเชิง เช่นเดียวกัน ครูท่ีรักศิษย์ เอาใจใส่ศิษย์ แต่ยังใช้วิธีสอนแบบเดิมๆ จะไม่ใช่ครูท่ีทาประโยชน์แก่ ศิษย์อยา่ งแทจ้ ริง กลา่ วคอื ครเู พ่ือศิษยต์ ้องเปล่ียนจุดสนใจหรือจุดเน้นจากการสอน ไปเปน็ เนน้ ทก่ี ารเรยี น (ทง้ั ของศิษย์ และของตนเอง) ต้องเรียนรู้และปรับปรุงรูปแบบการเรียนรู้ท่ีตนจัดให้แก่ศิษย์ด้วย ครูเพื่อศิษย์ต้อง เปล่ียนบทบาทของตนเองจาก“ครสู อน”ไปเป็น“ครูฝึก”หรอื “ผู้อานวยความสะดวกในการเรยี นรู้” (learning facilitator) และต้องเรียนรู้ทักษะในการทาหน้าท่ีนี้ โดยรวมตัวกนั เป็นกลุ่ม เพื่อเรียนรู้รว่ มกันอย่างเป็นระบบ และต่อเน่อื งที่เรียกว่า PLC (Professional Learning community) ครใู นศตวรรษที่ 21 ต้องยดึ หลักสอนนอ้ ย เรียนมาก การเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ต้องก้าวข้ามสาระวิชาไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะเพ่ือการดารงชีวิตใน ศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ที่ครูสอนไม่ได้ นักเรียนต้องเรยี นเอง หรือจะพูดใหม่ว่าครูต้องไม่สอน แต่ตอ้ งออกแบบการเรยี นรู้ และอานวยความสะดวก ในการเรยี นรใู้ หน้ ักเรียนเรียนรจู้ ากการเรยี นแบบลงมือทา แล้วการเรยี นรู้กจ็ ะเกิดจากภายในใจและสมองของตนเอง (วิจารณ์ พานิช, 2555) ในอดีตสภาพสังคมไทย วิถีชีวิตของผู้คนเรียบงา่ ย ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง แต่เป็นสังคมท่ีเปิดกว้าง ยอมรับวัฒนธรรมจากภายนอก และนามาปรับใช้ให้เข้ากับสภาพแวดล้อม และวิถีชีวิตของตนเองได้อย่าง เหมาะสมเมื่อประเทศไทยเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 นับเป็นช่วงท่ีมีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลก อันเกิดจาก ความก้าวหน้าดา้ นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสารสนเทศ สิง่ ดังกล่าวเป็นปัจจยั สาคัญทท่ี าใหโ้ ลกอยู่ในยุคการ ส่ือสารไร้พรหมแดน ซึ่งก่อให้เกิดท้ังโอกาสและการพัฒนาให้สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของโลก การพัฒนาด้านการศึกษาการพัฒนาครู จึงเป็นสาคัญอย่างย่ิง เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมรับสถานการณ์ใน อนาคต ด้วยเหตุนี้ ครูจึงต้องมีความต่ืนตัวและเตรียมพร้อม ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือเตรียมความพร้อมให้ ผู้เรียนมีทักษะสาหรับการดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 โดยทักษะที่สาคัญที่สุดคือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ท่ีมุ่งเน้นความรู้ความสามารถและทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปล่ียนแปลง รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ ที่เป็นปัจจัยสนับสนุนท่ีจะทาให้ เกิดการเรียนรู้ ครูผู้สอนพบปัญหาอย่างมาก ท้ังจาก ปัจจัยภายนอก และ ปัจจัยภายใน ของตัวครูผู้สอนเอง แต่อีกส่ิงหน่ึงท่ีเห็นได้ชัดจากการคือ ครูผู้สอนยังต้องการพัฒนาตนเองเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการพัฒนา นักเรียนให้เข้าสู่ศตวรรษที่ 21 โดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) จาก กลุ่มผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิ เพ่ือสรุปสมรรถนะของครูผู้สอนท่ีได้จากการสัมภาษณ์ เป็นแนวทางในการ พฒั นาครูผสู้ อนระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐานในศตวรรษท่ี 21 ตอ่ ไป ดังน้ัน การเสริมสร้างองค์ความรู้ (Content Knowledge) ทักษะเฉพาะทาง(Specific Skills) ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Expertise) และสมรรถนะของ การรู้เทา่ ทนั (Literacy) จงึ เปน็ ตัวแปรสาคัญที่ตอ้ งเกิดขึ้นกบั ตวั ครแู ละตัวผเู้ รียน (วิกฤติการศึกษาไทย, 2558)

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 33 แนวทางการพัฒนาครูในยคุ ศตวรรษท่ี 21 จากคาแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้แถลงต่อสภา นิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) เร่ือง นโยบายด้านการศึกษาและการเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรมท่ีให้ความสาคัญกับครู ในข้อท่ีว่าจะพัฒนาระบบการผลิต และพัฒนาครูที่มีคุณภาพ และ จิตวญิ ญาณของความเป็นครูเนน้ ครูผู้สอนใหม้ ีคุณวฒุ ิตรงตามวิชาที่สอน และสามารถนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เครื่องมือที่เหมาะสมมาใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือเป็นเครื่องมือช่วยครู หรือเพื่อเรียนร้ดู ้วยตนเอง เช่น การ เรียนทางไกล การเรียนโดยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี, 2557) ประกอบกับร่าง แผนปฏิบัติการหรือ Roadmap การปฏิรูปการศึกษา พ.ศ.2558 – 2564 ของ กระทรวงศึกษาธิการ จานวน 6 ดา้ น คือ 1. การปฏริ ปู ครู 2. การกระจายโอกาส และคุณภาพการศกึ ษาอย่างทว่ั ถึงและเท่าเทียม 3. ปฏริ ูปการบริหารจัดการ 4. ปรบั ระบบการผลติ และพัฒนากาลังคน เพม่ิ ศักยภาพการแข่งขนั 5. ปฏริ ปู การเรยี นรู้ 6. การปรบั ระบบการใช้เทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ดังนั้น จึงได้มีการยกระดับและพัฒนาครูไทยให้ทันต่อสถานการณ์ และความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และ จากการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการพัฒนาครูของประเทศต่าง ๆ เช่น ฟินแลนด์ นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา เนเธอร์แลนด์โปรตุเกส สิงคโปร์ เกาหลี ญ่ีปุ่น จีน (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2557) พบว่า 1. การผลิตครู ให้ความสาคัญต่อครู ครูเป็นบุคคลสาคัญท่ีสุดท่ีจะส่งผลต่อคุณภาพการเรียนการสอน และคุณภาพของผู้เรยี น คุณลักษณะของครูในศตวรรษที่ 21 ต้อง เป็นผู้ท่ีมีความรอบรู้มากขึ้น มีความเป็นมือ อาชพี ความสามารถศักยภาพสูง เปน็ ผู้ท่ีมีนวัตกรรมการสอนเพือ่ ใหน้ กั เรียนได้ผลการเรียนรู้ตามที่ต้องการ และ เตรียมความพร้อมให้แก่นักเรียนในการเข้าสู่โลกของการทางาน ในศตวรรษน้ีครูควรเป็นผู้รักในอาชีพ มีชีวิต เรียบง่าย และมีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีการกาหนดสมรรถนะของครูโดยภาพรวม ประกอบด้วย 1) ความรู้ในเนื้อหาวิชา 2) การส่ือสารและการใช้ภาษา 3) การพัฒนาหลักสูตร 4) หลักการจัดการเรียนรู้ 5) การจดั การเรียนรู้ท่เี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั 6) การบริหารจัดการชั้นเรยี น 7) การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและ นวัตกรรมการศกึ ษา 8)การวัดและประเมนิ ผล 9) การวิจัยเพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน 10) จิตวิทยาสาหรับครู 11) การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 12) คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณในวชิ าชีพ 13) ภาวะผู้นาและ การทางานเป็นทมี 14) การพัฒนาตนเองและวิชาชพี 15) การพฒั นาคุณลักษณะของผูเ้ รียน นอกจากนั้นมกี าร ควบคมุ คณุ ภาพการผลิตครู โดยการใช้ระบบการรบั รองวิทยฐานะของสถาบันผลติ ครคู ัดคนเกง่ ระดบั ยอดเยี่ยม ให้มาเป็นครโู ดยกาหนดกลุ่มทีม่ ีผลการเรียนสงู สดุ เข้าเรียน เพ่ือเปน็ ครู การยกยอ่ งอาชพี ครวู ่าเปน็ วิชาชพี ช้ันสูง เทียบเทา่ อาชพี สาคญั การได้รับการยอมรับเช่อื ถือไวว้ างใจในระดับแนวหน้าของประเทศ และมีเงินเดือนสูงใน ระดบั เดยี วกับอาชีพอ่ืน เช่น แพทย์ นกั กฎหมาย เปน็ ตน้

ปที ี่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 34 2. การพัฒนาครู ให้ความสาคัญและเชื่อว่า ครูเป็นผู้เรียนที่ต้องเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้รับการ สง่ เสรมิ ให้เกิดการเรียนร้อู ยา่ งต่อเนื่อง ดงั นัน้ จงึ มีนโยบายว่า ครทู ุกคนต้องไดร้ ับการพัฒนาจากหนว่ ยงานและ พัฒนาตนเองทุกปอี ย่างน้อยปลี ะ 1 ครง้ั และตอ้ งเข้ารับการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งปลี ะ 100 ชวั่ โมง ครูบรรจุใหม่ ต้องผ่านการอบรมตามโปรแกรมการอบรมเพอื่ ฝึกหัดการสอนและได้รับเงนิ เดอื นสูงระหวา่ งการอบรมด้วย ครู เก่าอายงุ าน 10 ปีขึ้นไป ตอ้ งเข้ารับการพัฒนาดว้ ย โดยมอี งค์กรทาหนา้ ทด่ี ้านพฒั นาครูเป็นการเฉพาะ มีคูปอง การพฒั นาความรู้เพือ่ ให้ครูเข้ารบั การพัฒนาตนเอง ตามความต้องการทกุ ปีจากมหาวิทยาลัยทไี่ ดร้ ับมอบหมาย ของรฐั มีการสร้างเครือข่ายการพฒั นา มีระบบพี่เลี้ยง/ครตู น้ แบบ (master teachers) มีการพฒั นาทกั ษะการ จัดการเรียนรู้ในรูปแบบและวิธีการต่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์และผู้เรียน เช่น การทาห้องเรียนให้เป็น ห้องทางานจาลอง การพัฒนาทักษะต่าง ๆ เช่น ทักษะ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับศิษย์ทักษะการต้ังคาถาม รวมถึงทักษะการออกแบบการเรียนรู้แบบ active learning กล่าวคือมีกระบวนการในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ท่ีผู้เรียนต้องมีโอกาสลงมือทา มากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว เช่น การให้ผู้เรียนได้อ่าน เขียนโต้ตอบ และวิเคราะห์ปัญหา ทักษะการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักเรียน โดยการสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรยี น แล้วนาสง่ิ ทีส่ ังเกตได้มาให้ขอ้ มูลแก่นักเรยี น เพ่ือประโยชนใ์ นการพัฒนาปรบั ปรงุ ของนกั เรียน ทักษะการเรียนรู้ เป็นทีม ทักษะการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้เรียนแบบรู้จริง ทักษะการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้กากับการเรยี นร้ขู อง ตนเองได้ นอกจากนี้ตอ้ งมรี ะบบนิเทศ ตดิ ตามและพัฒนาการ ท างานของครูในช้นั เรียน การเรยี นรแู้ ละพฒั นา จากเพื่อนครู และการพัฒนาครูโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน รวมท้ังมีการสร้างเกิดการเรียนรแู้ ละนามาปฏิบัติด้วย ตนเองมากขึ้น 3. คุณสมบัติของครู มีการกาหนดเง่ือนไขและคุณสมบัติของครู ที่ให้ความสาคัญกับคุณภาพทางการ ศกึ ษาและผู้เรยี น ครทู ุกคนต้องมีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพครู กาหนดใหค้ รูประถมอย่างน้อยต้องจบปริญญา ตรคี รรู ะดบั มธั ยมศกึ ษาต้องจบสูงกว่าปริญญาตรี และมคี วามเช่ียวชาญอย่างนอ้ ยหนึ่งวิชาในระดับที่สอน และ ต้องมพี น้ื ฐานความรทู้ างการศึกษาทัว่ ไป และความรเู้ ฉพาะสาหรบั วชิ าชีพครู ความรดู้ ้านจิตวทิ ยาเด็กและวยั รุ่น หลักและเทคนิคการสอน มีความรู้วิชาประวัติศาสตร์ กาหนดเวลาสอนวันละ 4 ชั่วโมง และมีเวลาเพื่อการ พัฒนาวิชาชีพ สัปดาห์ละ 2 ช่ัวโมง (สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน, 2557) การยกระดับและการพัฒนาครูของต่างประเทศนั้น ยังคงให้ครูเป็นบุคคลท่ีสาคัญท่ีสุดที่มีผลต่อ คุณภาพของการศึกษา โดยครูจะต้องมีความรอบรู้ มีความเป็นมืออาชีพ และเป็นผู้มีนวัตกรรมการสอนที่ สามารถตอบสนองความต้องการของนกั เรียนได้ นอกจากนัน้ ครตู อ้ งมีการเรยี นรู้สิง่ ใหม่ ๆ ตลอดเวลา ไม่วา่ จะ เป็นการอบรม มีการสร้างเครือข่ายการพัฒนา มีระบบพี่สอนน้อง และส่ิงท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งคือ การกาหนดคุณสมบัติของครูให้ชัดเจน เพ่ือท่ีจะสามารถปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพอ่ื สง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นเกิดพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา และสังคมตอ่ ไป ปัจจัยสง่ เสริมการทาหน้าท่ีของครูใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ ปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมให้ครูสามารถปฏิบัติหน้าท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น มีหลายประเด็นที่สาคัญ ดังนั้น 1) การอบรม แลกเปล่ียน และสร้างเครือข่าย ความรู้ เช่น การจัดการความรู้ ( Knowledge

ปีท่ี 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 35 Management : KM) เป็น ก าร แลก เปลี่ ยน เรียน รู้แ บบ Professional Learning Community (PLC) เพื่อรวมตัวกันทางานเป็นทีมซ่ึงอาจอยู่ภายในสถานศึกษาเดียวกันหรือต่างสถานศึกษาก็ได้ โดยใช้เทคโนโลยี และการส่ือสารเป็นเคร่ืองมือในการทางานรว่ มกัน ซ่ึงจะช่วยให้ครูไม่จากัดเพียงวธิ ีการสอนของตนเองเทา่ น้นั แตย่ งั ไดเ้ รียนร้วู ิธกี ารสอนอืน่ ๆ มาประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของตนเอง 2) การพัฒนาตนเองด้านไอซีที เพราะสภาพในปัจจุบันแวดล้อมไปด้วยเทคโนโลยีมากมาย เพราะเมือ่ พิจารณาผลดีของการนาไอซที ีมาใช้ในการศึกษาแล้ว ไอซีทีจะช่วยให้การจัดการเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึน้ เช่น การเผยแพร่เน้ือหา บทเรียน การนาเสนอสื่อการเรียนการสอน การสืบค้นข้อมูล การเผยแพร่ผลงานของ นักเรียนการติดต่อสื่อสาร เป็นต้น นอกจากน้ี ไอซีทียังเป็นเครื่องมือในการสร้างสังคมของการทางานเป็นทมี ของครูใหม้ คี วามสะดวก รวดเร็วขน้ึ เชน่ การประชมุ สมั มนา การตดิ ตอ่ ส่ือสาร การนาเสนอและเผยแพร่ความรู้ เปน็ ตน้ ดงั นจ้ี ะเหน็ ได้ว่า ทกั ษะด้านไอซีทขี องครมู คี วามสาคญั เป็นอยา่ งมาก ในยคุ ปจั จบุ นั ครูควรพัฒนาตนเอง ให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้ไอซีทเี ป็นเครื่องมือในการสรา้ ง สงั คมแหง่ การเรยี นรรู้ วมถึงใช้ในการ จดั การเรียนการสอน 3) การลดภาระงานท่ีไม่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรู้โดยจัดให้มี เจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบงานฝ่ายต่างๆ ท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน เช่น ฝ่ายธุรการ ฝ่ายการเงิน ฝ่ายวัสดุ เป็นตน้ เพ่ือใหค้ รมู เี วลาในการเตรียมการสอน และประเมินผลการเรียนการสอนได้เตม็ ศักยภาพมากขึน้ 4) การสร้างขวัญกาลังใจให้แก่ครู เช่น การปรับเล่ือนวิทยฐานะ โดยประเมินผลจากผลผลิต และ ผลลัพธ์จากกระบวนการเรียนการสอน นั่นคือ พิจารณาที่ตัวผู้เรียนเป็นหลัก ควบคู่กับผลงานวิชาการ หรือจัด ใหม้ กี ารประกวดแข่งขนั ผลงานวิชาการ เปน็ ต้น ซง่ึ สิง่ เหล่าน้จี ะสง่ ผลใหค้ รูมขี วญั และกาลังใจไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 5) การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู ปัญหาสาคัญอย่างหน่ึงของการศึกษาไทย คือ การมีครูสอนไม่ ครบทุกชั้นเรียน และการขาดแคลนครูในบางวิชาเอก การจัดสรร อัตรากาลังครูท่ียึดจานวนครูต่อจานวน นักเรียนเป็นหลัก ส่งผลกระทบต่อระบบการศึกษาโดยรวม การที่สถานศึกษามีผู้เรียนจานวนน้อยไม่ได้ หมายความว่า สถานศึกษาต้องการครู จานวนน้อยไปด้วย เพราะถึงแม้สถานศึกษาจะมีจานวนน้อยแต่จานวน หอ้ งเรยี นไม่ไดล้ ดลงดังน้ัน ครูหนง่ึ คนอาจต้องสอน 3 - 4 ห้องเรยี นในเวลาเดียวกัน เปน็ ไปไดย้ ากที่จะทาให้การ จดั การเรียนการสอนมปี ระสิทธิภาพ ซ่งึ ปญั หานีค้ วรไดร้ บั การแกไ้ ขเพือ่ เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการสอนของครู โดยมี แนวทาง เชน่ ปรับเปล่ียนระบบอตั รากาลงั ครู การจบั กลุ่มกนั ของสถานศึกษาขนาดเล็กทีม่ ีครไู ม่ครบช้นั เพอื่ ใช้ บุคลากรและทรัพยากรร่วมกัน เป็นต้น หากปัญหาสามารถถูกแก้ไขไปได้จะทาให้ครูสามารถใช้เวลาในการ เตรยี มการสอน และ จดั การเรยี นการสอนไดอ้ ย่างเต็มประสทิ ธภิ าพ กรอบความคดิ เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 กรอบความคิดเพ่ือการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เปน็ ส่ิงท่ี พัฒนาข้ึนโดยภาคเี พอื่ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 (Partnership for 21st Century Skills) เพื่อ “เสนอความคิด องค์รวมอย่างเป็นระบบเพ่อื ใชป้ รบั แนวคดิ และฟ้นื ฟู การศกึ ษาของรัฐขน้ึ มาใหม่ โดยนาองค์ประกอบทงั้ หมดมา รวมกัน ท้ังผลการเรียนรู้ของนักเรียนและระบบ สนับสนุนการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ให้กลายเป็นกรอบ ความคิดรวม” (เคน เคย์,2554)

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 36 ทมี่ า : http://kannikasunatda.blogspot.com/2017/04/21_91.html โดย “กรอบความคิดเพือ่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่21” นน้ั มีองคป์ ระกอบสาคญั ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ความรู้ในสาระวิชาหลัก คือ ภาษาแม่และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ และการปกครองและหน้าทีพ่ ลเมอื ง 2. แนวคดิ สาคญั ในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย – ความรเู้ กี่ยวกบั โลก – ความรู้พ้ืนฐานด้านการเงนิ เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเปน็ ผปู้ ระกอบการ – ความรู้ด้านพลเมอื ง – ความรู้ด้านสขุ ภาพ – ความร้ดู ้านสง่ิ แวดล้อม 3. ทกั ษะสาคัญ 3 ทกั ษะ ได้แก่ 3.1) ทักษะชวี ติ และการทางาน คอื – ความยดื หยุ่นและความสามารถในการปรบั ตวั – ความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์และเปน็ ตวั ของตวั เอง – ทักษะทางสงั คมและการเรียนรขู้ ้ามวฒั นธรรม - ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์และเป็นตวั ของตัวเอง – การเปน็ ผู้สร้างหรือผลิตและความรับผดิ ชอบเช่ือถือได้ – ภาวะผนู้ าและความรับผิดชอบ 3.2) ทักษะการเรยี นรแู้ ละนวัตกรรม คอื – ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์และนวัตกรรม – การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณและการแกป้ ญั หา – การส่อื สารและการรว่ มมือทางาน

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 37 3.3) ทักษะด้านสารสนเทศ ส่ือ และเทคโนโลยีคอื – การใช้และประเมินสารสารสนเทศไดอ้ ยา่ งเท่าทนั – วิเคราะห์และเลือกใช้ส่อื ได้อยา่ งเหมาะสม – ใชเ้ ทคโนโลยใี หมอ่ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4. โครงสรา้ งพื้นฐาน 4 ดา้ นเพอ่ื สนบั สนนุ การเรยี นรอู้ นั ไดแ้ ก่ – มาตรฐานและการประเมินของศตวรรษที่ 21 – หลักสูตรและการเรยี นการสอนสาหรบั ศตวรรษที่ 21 – การพัฒนาครใู นศตวรรษที่ 21 – สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสมตอ่ การเรยี นรู้ การศกึ ษารปู แบบใหม่ รูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 มีประการด้วยกัน โดยสรุปถึงบทบาทของครูท่ีจะมีต่อการพฒั นา ผ้เู รียนในศตวรรษท่ี 21 ดังตอ่ ไปนี้ (ทักษะแหง่ อนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษท่ี 21 , 2562) 1. สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มากข้ึน (Teach Less, Learn More) การสอนให้น้อยลงคือการให้ ความสาคัญกบั การเรยี นรู้ที่เกิดข้ึนของผู้เรียน โดยผูส้ อนตระหนักถึงการ จัดการดา้ นเน้ือหาท้งั หมดในหลักสูตร แกนกลาง และในขณะเดียวกันกต็ ้องใส่ใจในคุณภาพของเน้ือหาท่ีเกี่ยวพนั กับ ทักษะในศตวรรษที่ 21 ด้วยอยู่ เสมอ อาจกล่าวได้อีกนัยหน่ึงว่า การสอนให้น้อยลง ก็คือการใช้วิธีการสอนท่ี หลากหลาย ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ จากวิธีแบบปฏิสัมพันธ์ ลงมือปฏิบัติเอง หรือศึกษาจากสภาพจริง โดยเปลี่ยน เป้าหมายจากการเรียนเพ่ือ ความรู้ไปสู่เป้าหมายเพื่อทักษะ ใช้การสอนให้นอ้ ยลง แต่ในขณะเดียวกัน ก็ให้ผู้เรียน ได้เกิดเรียนรจู้ ากตนเอง และผ้อู ื่นได้มากข้นึ 2. ครูเปน็ ครฝู กึ (Coach) เมอ่ื เราพูดถึง ครู ภาพแรกที่พบเจอก็คอื ภาพของครผู ้สู อน (Teacher) และ ถ่ายทอดความรู้ต่าง ๆ แต่เม่ือ สังคมเปล่ียนไป ครูควรจะมีการปรบั ตัว โดยเราต้องมองไปท่ีเป้าหมายของการ เรียนรู้ท่วี า่ ผู้เรียนควรจะมีทกั ษะ อะไรบ้างและ เป็นผู้กระตุ้นให้ผูเ้ รยี นเกิดทกั ษะนั้น ในการก้าวเข้าส่ศู ตวรรษท่ี 21 บทบาทของครูมิใช่แต่เป็นการ สอนเพียงอย่างเดียว แต่ยังเป็นการฝึกให้ผู้เรียนเกิดการคิด เกดิ แรงบนั ดาลใจ และเกิดทักษะในการดารงชวี ติ อ่ืน ๆ 3. สอนให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative) การเรียนรู้แบบร่วมมือ คือการสอนที่ แบ่งผู้เรียนออกเป็นกลุ่มเล็ก ๆ ให้ทางานร่วมกันเพ่ือขยายผลการ เรียนรู้ของตนเองให้ออกไปได้มากที่สุด ผู้เรียนจะเกิดความรับผิดชอบร่วมกันและสร้างบรรยากาศการเรียนแบบ ใหม่ ซ่ึงมิได้เกิดจากการแข่งขัน (competitive) แต่เป็นการร่วมมือกัน (collaborative) ผู้เรียนมิได้เรียนรู้เพ่ือท่ีจะ เอาชนะว่าใครเก่งหรือมี ความสามารถมากกว่าใคร แต่เรียนรทู้ จ่ี ะรว่ มมือเพอื่ ขยายความสามารถและพฒั นาไปสู่ ทกั ษะการเรยี นรู้พรอ้ ม ๆ กัน

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 38 4. ให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้ (Student - directed Learning) การให้ผู้เรียนเป็น ศูนยก์ ลาง ครูควรจะใหผ้ เู้ รยี นมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการเรยี นการสอนต้ังแต่เรม่ิ ตน้ โดย อาจให้ผเู้ รียนวิเคราะห์ ว่าตนนั้นมีความสนใจในเรื่องใด และต้องการเรียนรู้โดยวิธีไหน ต้องการได้รับการประเมิน แบบไหน และมี ความพึงพอใจต่อรูปแบบการสอนต่าง ๆ อย่างไร โดยครูควรจะเสริมและพฒั นาบางส่ิงท่ีผู้เรียนขาด ควบคู่กัน ไปด้วย หรอื ทาข้อตกลงระหว่างครูและผเู้ รยี น เพ่อื สร้างความมีสว่ นร่วมระหว่างท้ังสองฝ่าย 5. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ (Learning by Doing) การเรียนรู้โดยการลงมือปฏิบัติ นับเป็นหัวใจของการพัฒนาผู้เรียนให้ได้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เป็นการ เรียนรู้จากการลงมือทา เช่น การเรยี นรูแ้ บบ Project Based Learning : PBL โดยครูให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ผ่านการทางานจริง หรือการทาโปร เจค็ ตา่ ง ๆ โดยมีครเู ปน็ ท่ีปรกึ ษาหรือให้ความช่วยเหลอื ยามที่ผเู้ รียนต้องการ การเรียน เชน่ นจี้ ะทาให้ผเู้ รียนได้ ฝึกใช้ทักษะต่าง ๆ ต้ังแต่การคิดริเร่ิม การศึกษาค้นคว้า พิจารณาและตรวจสอบข้อมูล จนนาไปสู่การลงมือ ปฏิบัตจิ ริง ซ่ึงเมือ่ ชิ้นงานหรอื โปรเจ็คตา่ ง ๆ ได้เสรจ็ แล้วนน้ั การเรียนรกู้ ไ็ ม่ไดจ้ บลงด้วยเพราะ ผู้เรียนยังคงตอ้ ง ใช้ทักษะในการนาเสนอ และประเมินความเป็นไปของผลงานอยู่ตลอด การเรียนรู้เช่นนี้นอกจาก จะเป็นการฝึกทกั ษะตา่ งๆ ทีก่ ลา่ วมาขา้ งต้นแล้ว ยงั เปน็ การฝกึ ความร่วมมือและการทางานเป็นกลุ่มของผู้เรียน อกี ด้วย 6. ครูประเมินผู้เรียนจากความพัฒนา จากรูปแบบเดิมที่เราคุ้นชินน้ัน ครูจะประเมินผู้เรียนจากการ สอบ และผลคะแนน ซึ่งการประเมินเช่นน้ี มิได้ เสริมแรงตอ่ การเรียนรู้อะไรที่มากนัก หากเปลี่ยนบทบาทของ ครูมาเป็นผู้ประเมินความก้าวหน้า รวมถึงการพัฒนาของผู้เรียน และแสดงให้ผู้เรียนได้ทราบความก้าวหน้า ของตน เช่นนจี้ ะเป็นการเสรมิ แรงทางบวกให้ผเู้ รียน เกิดความรู้สกึ และแรงบันดาลใจสูก่ ารเรียนรูท้ ่ีมากกว่าเดิม โดยครูจะต้องมีความเช่ืออยเู่ สมอว่า ผู้เรยี นนน้ั เปน็ ผ้ทู ี่ สามารถพัฒนาให้ก้าวหน้าไดอ้ ยตู่ ลอดเวลา 7. เครือข่ายของครูผู้สร้างการเรียนรู้ (Professional Learning Community : PLC) พื้นฐาน และ ลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรยี นแต่ละคนนั้นมีความแตกต่างกนั ดังน้ัน ครูจึงต้องมีความรว่ มมือ ระหว่างกลุ่มครู ด้วยกันเอง เพ่ือวิเคราะห์ วางแผน และออกแบบการเรียนรู้ที่ทั่วถึงต่อผู้เรียน โดยทุกฝ่ายท่ีมีส่วน เกี่ยวข้อง จะต้องมาพูดคุย วางแผนโดยเปล่ียนแปลงการทางานแบบขั้นตอน และสั่งการเป็นความร่วมมือเพื่อให้ครู เกิดทักษะในการออกแบบการเรียนรู้ นาไปสู่การออกแบบ PBL ที่มีประสิทธิผล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะท่ี จาเป็น ตอ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษที่ 21 ต่อไป ข้อสรุปถึงบทบาทของครูกับการพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งจากอีก หลากหลายบทบาทและวธิ ีการ ทค่ี รูจะสามารถนาไปประยุกต์เพิม่ เติมในการเรียนการสอนได้ การศกึ ษาย่อมมี การเปลีย่ นแปลงไปตลอดเวลา ตามบรบิ ทแหง่ กาลเวลาและสังคม สิง่ ท่ีครูเรียนรู้และปรบั ตวั ในวันน้ี อาจเป็นส่ิง ที่ ล้าหลังในอีก 100 ปีข้างหน้า ดังนั้นครูควรท่ีจะเปิดรับความรู้ใหม่ ๆ ปรับปรุงการเรียนการสอน ตลอดจน พฒั นา ความรู้ให้กา้ วทันโลก เพ่ือพัฒนาใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธทิ์ ่ีดที ีส่ ดุ ตอ่ ผู้เรียน การศึกษาในปจั จบุ ัน มิใชส่ ง่ิ ทีอ่ ยนู่ ่งิ อีกต่อไป แต่หากเป็นการเรียนรู้ท่ีจะเคลื่อนไหว และเชื่อมโยงส่ิงต่าง ๆ เข้าด้วยกัน บทบาทของครูมิใช่สอนให้ ผู้เรยี น ทราบ ถึงทฤษฎีของเพยี งเท่าน้นั หากแตเ่ ป็นการกระตนุ้ ให้ผู้เรยี น เรียนร้ทู ี่จะสร้างทักษะ ดว้ ยวธิ ีท่ีเปิด

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 39 กว้างและยอมรับ ฟังความคิดเห็น สนใจในกระบวนการคิดมากกวา่ ท่ีจะมองว่าคาตอบหรอื ผลลัพธ์น้นั สมบูรณ์ หรือไม่ เพราะการ เรียนรูเ้ ปน็ สง่ิ ทีไ่ ม่หยุดนง่ิ บทบาทของครจู ึงคงมอี ยู่และควรจะพฒั นาต่อไปเรอ่ื ย ๆ บทสรปุ ความท้าทายของการจัดการศึกษาไทย ครูเป็นบุคลากรท่ีมีความสาคัญต่อการขับเคลื่อนการศึกษา ของสังคม ดังน้ันการพัฒนาปรับเปลี่ยนครูให้มีคุณภาพ และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีคุณภาพ เป็นเร่ืองท่ี สังคมทุกภาคส่วนควรมีส่วนร่วม และเร่งดาเนินการเพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามในเรื่องดังกล่าวน้ี รัฐบาลได้ให้ความสนใจ จะเห็นได้จากหน่วยงานที่รับผิดชอบเรื่องนี้โดยตรงได้แก่ กระทรวงศึกษาธิการ ได้มี นโยบายและการดาเนินการเพื่อพัฒนาครูในหลายๆ ประเด็น ไม่ว่าจะเป็นการอบรม แลกเปล่ียน และสร้าง เครือข่าย ความรู้ เช่น การจัดการความรู้ การพัฒนาตนเองด้านไอซีที การลดภาระงานที่ไม่เก่ียวข้องกับการ จัดการเรียนการสอนหรือการจัดการเรียนรู้การสร้างขวัญกาลังใจให้แก่ครู เช่น การปรับเล่ือนวิทยฐานะ หรือ การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครู ล้วนแล้วแต่เป็นเร่ืองท่ีดีต่อครูท้ังสิ้น เพราะครูเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญ โดย บทบาทของครูยุคใหม่จะทาหน้าท่ีเป็นผู้สนับสนุนช่วยเหลือผู้เรียนให้พัฒนาตนเองให้ได้เต็มศักยภาพ และ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพราะเทคโนโลยใี นทุกวันนม้ี ีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็วและล้าสมยั ผู้คนใน ยุคใหม่จงึ ตอ้ งเรยี นรู้สง่ิ ใหม่ตลอดเวลา ดงั น้ันครูตอ้ งปรับตวั ให้เขา้ กับเทคโนโลยี และ คอยแนะนาแนวทางการ ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับเด็กอย่างเข้าใจ และพร้อมที่จะทุ่มเทวิชาความรู้ด้วยวิธีการสมัยใหมต่ ามธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลง และแม้เทคโนโลยีจะเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ความสามารถของครูยุคใหม่อาจจะไม่ สามารถเปล่ียนแปลงได้ทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ แต่ส่ิงที่ครูสามารถท่ีจะบอกผู้เรียนได้คือ การให้ผู้เรียน พจิ ารณาว่าขอ้ มูลใดสามารถนาไปปรบั ใชก้ ับชีวิตจริงได้ หรอื วิธีการเลือกใช้เครอ่ื งมอื ท่ีถูกตอ้ งนน้ั ควรเป็นไปใน แนวทางใด แต่ส่ิงท่ีสาคัญท่ีจะหาไมไ่ ด้จากเทคโนโลยสี มยั ใหม่ คือ ศีลธรรม คุณธรรม ทค่ี รสู อนถา่ ยทอดให้เด็ก ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญจะถูกพัฒนาไปพร้อมกับ สติปัญญา เพ่ือให้ความรู้แก่ อนาคตของชาติอย่างถูกต้องสมบูรณ์ นกั เรียนสมัยใหม่ต้องเปน็ คนกา้ วทันเทคโนโลยีและอย่ใู นคณุ ธรรมทด่ี ี ทีเ่ หมาะสมยั่งยนื ตอ่ ไป เอกสารอา้ งองิ วจิ ารณ์ พานชิ . (2555). วิถสี ร้างการเรียนรเู้ พือ่ ศิษยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มลู นธิ สิ ดศรี – สฤษดวิ์ งศ์ . สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2557). รายงานการวจิ ยั แนวทางการพัฒนาการศึกษาไทยกับการเตรียม ค ว า ม พ ร้ อ ม ศ ต ว ร ร ษ ท่ี 2 1 . ก รุ ง เ ท พ ฯ : ส า นั ก ง า น เ ล ข า ธิ ก า ร ส ภ า ก า ร ศึ ก ษ า . สานักงานสง่ เสรมิ สงั คมแหง่ การเรยี นร้แู ละคณภาพเยาวชน. (2557). ยทุ ธการเปลี่ยน\"ครเู ฉย ส่คู รยู ุคศตวรรษ ท่ี 21”. (ออนไลน์). จาก http://seminar.glf.or.th/seminar/Topic/29. สืบค้นข้อมูลเมื่อวันท่ี 18 สงิ หาคม 2562. สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2557). คาแถลงนโยบายของคณะรัฐมน ตรี. (ออนไลน์). จาก http://cabinet.thaigov.go.th/bb_main31.htm. สบื ค้นข้อมูลเม่อื วนั ท่ี 18 สิงหาคม 2562. Ratnaree. Learning Pyramid ปิรามิดแหง่ การเรียนรู้ (ออนไลน์). จาก

ปีที่ 6 ฉบบั ท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 40 http://ratnaree.wordpress.com/2012/02/11/learning-pyramid-. สบื คน้ ขอ้ มลู เมื่อวนั ท่ี 18 สิงหาคม 2562. เบลลันกา, เจมส์ และแบรนต์, รอน, บรรณาธิการ ; วรพจน์ วงศก์ จิ รุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์, แปล. ทกั ษะ แหง่ อนาคตใหม่ : การศกึ ษาเพอื่ ศตวรรษที่21 = 21st Century Skills : Rethinking How Students Learn. พิมพค์ รั้งท่ี 1 : กรงุ เทพฯ : โอเพน่ เวิลดส์ , 2554. คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ; ผู้แปล, ศรีน้อย โพวาทอง และ คณะ. การเรียนรู้ ขุมทรัพย์ในตน = Learning : The Treasure Within. พิมพ์คร้งั ท่ี 2 : กรุงเทพฯ : สานักงานเลขาธิการสภา การศึกษา, 2551 วจิ ารณ์ พานชิ . “การวจิ ัยและการเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ ๒๑ : พลงั พัฒนาประเทศอย่างยง่ั ยนื ”. (ออนไลน)์ . จาก https://www.gotoknow.org/posts/494129 สบื คน้ ขอ้ มูลเม่อื วันที่ 19 สงิ หาคม 2562. วถิ ีสรา้ งการเรยี นรู้เพอื่ ศษิ ย์ในศตวรรษท่ี21. กรุงเทพฯ : มลู นิธสิ ดศรี - สฤษดวิ์ งศ,์ 2555. สง่ เสริมสังคมแห่ง การเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน, สานักงาน. 2555. วถิ ีสรา้ งการเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21.Mp4. สรุ ศักดิ์ หลาบมายา. “หลกั การเรยี นรู้12 ประการท่คี รูควรรู้”. การศกึ ษาไทย 12, no. 112 (2557). (ออนไลน)์ . จาก https://www.youtube.com/watch?v=Pr_bG72nBpk (accessed 5 ธันวาคม 2557). สืบค้นข้อมูลเมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2562.

ปที ่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 41 นวตั กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรอู้ ย่างสรา้ งสรรค์ในสถาบันการศกึ ษายุคใหม่ Innovative Education & Creative Learning in the Modern Institution อรรถพล หอมจันทร์ โรงเรียนอรุณวิทยา สานักงานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน บทคดั ยอ่ บทความเร่ือง นวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ในสถาบันการศึกษายุคให ม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อ นาเสนอแนวคิดการนาเทคโนโลยีมาใช้เพื่อปรับปรุงกระบวนการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถใช้ประโยชน์จากเคร่ืองมือเหล่านี้ได้อย่างเต็มความสามารถ ท้ังน้ีการใช้และ การเกิดของนวัตกรรมการศึกษามีมากมาย ทั้งนวัตกรรมท่ีใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน และนวัตกรรมท่ีกาลัง จะเผยแพร่ ซึ่งนวัตกรรมการศึกษาถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือสนับสนุนให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลความรู้ จากสื่อความรู้ทางการศึกษาหลากหลายรูปแบบ จนเรียกได้ว่าเป็นยุคแห่งนวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ อย่างสร้างสรรค์อยา่ งเต็มรปู แบบทผ่ี ู้เรยี นสามารถศึกษาหาความรไู้ ด้ทุกเวลา ทกุ สถานที่ เทา่ ที่ผเู้ รียนจะมกี าลัง ความสามารถในการท่ีจะค้นคว้าหาความรู้ก็ว่าได้ การทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาหรือเทคโนโลยีการศึกษา เกิดจากการนาความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ท้ังวัสดุอุปกรณ์เคร่ืองมือเครื่องจักรกลไก รวมถึงเทคนิควิธีการต่างๆ มาใช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อมุ่งหวังให้การเรียนการสอ น เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุดต่อผู้เรียน ผู้ศึกษาตามจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ของหลักสูตรและ ความกา้ วหน้าทางวชิ าการต่อไป คาสาคญั : นวตั กรรม, การเรยี นรอู้ ยา่ งสร้างสรรค์ Abstract The article on Innovative Education & Creative Learning in the Modern. Institution was written with main purpose to introduce the concept of the technology to be adopted to improve the efficiency of the process of learning and teaching for students and teachers use these tools in full capacity. There are tremendous types of the emergence and the usage of innovative technologies in education which has already been used and to be published in the near future. These types of innovative education are mainly developed to encourage students to access information from a variety of knowledge materials. It is noticeable that the current era is considered as creative era of educational innovation which allows students to learn anytime, anywhere, as long as they have capability. The process of creating innovation and technology

ปที ี่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 42 education basically comes from the advancement in science and technology. The activities of teaching and learning can be produced by utilizing tools and educational equipment. There is various learning method which most effective and efficient to students to serve their aims and objectives to pursue the academics advancement. Key words: Innovative Education, Creative Learning. บทนา “... คนเรานั้นจะต้องมี นวัตกรรม คือต้อง innovative หรือต้องรู้จักสร้างสรรค์ ต้องมีความพร้อมที่จะก้าวไป ข้างหน้า ปรับตัวให้ทันกับความเปล่ียนแปลงของโลก แต่ว่าก็ต้องสามารถปรับโลกให้เหมาะสมสอดคล้องกับ ความเป็นอยู่หรือความพอใจ ความสุขสบายของตัวเองเหมือนกนั ต้องแก้ปัญหาด้วยความคิด พอทาง หนงึ่ ตันก็ตอ้ งหาทางใหม่ ไมง่ อมือ งอเทา้ ยิ่งในภาวะวกิ ฤตยิ่งต้องการนวตั กรรม ซึ่งไมเ่ ฉพาะแตน่ วัตกรรมทาง เทคโนโลยเี ท่านน้ั หากแตเ่ ป็นนวตั กรรมของท้งั ระบบโดยรวม ต้ังแตส่ ังคม เศรษฐกจิ และวถิ ีชวี ติ หรอื วฒั นธรรม ...” “ขอนอ้ มนา เอาพระราชดารัสของสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราช กุมารี มาเริ่มต้นบทความน้ี ซึ่งเน้ือหาของบทความเกยี่ วข้องกบั คาวา่ นวตั กรรม” การเกดิ ข้ึนของนวัตกรรมการศกึ ษามอี ยทู่ ว่ั โลก โดยแตล่ ะแบบจาลองหรือกลยทุ ธ์ต่างปรับเพ่ือใหเ้ หมาะกับการ ให้ความรู้และทักษะแก่ผู้ศึกษา ทั้งน้ีท้ังนั้นเพ่ือให้ได้ประสบความสาเร็จในการศึกษา ในโลกที่ นับวันจะมีการพฒั นาเศรษฐกิจและเทคโนโลยีอย่างไม่หยดุ ยง้ั นวตั กรรมการศกึ ษาเหล่านจี้ ะมาแทนการศึกษา แบบดั้งเดิม ซึ่งโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ยังใช้การเรียนการสอนแบบด้ังเดิมนี้อยู่ โดยทุก วันน้ีผู้เรียนต่างก็ต้องการประโยชน์และการได้รับบริการทางการศึกษาอย่างแท้จริง สถาบันการศึกษาจึงต้อง ปรบั ตวั ให้กลายเป็นสถานท่ีทไ่ี ด้รับการยอมรับโดยสามารถทาให้ผู้ท่ีเข้ามาศกึ ษา ได้รับความรทู้ ่หี ลากหลายและ ผู้เรียนทุกคนต้องรู้สึกพิเศษที่มีโอกาสได้เข้าศึกษา โดยมุ่งหวังที่จะประสบความสาเร็จจากระบบการศึกษา แนวทางใหม่นี้ ทัง้ นีเ้ ปน็ แรงผลกั ดนั ให้สถาบันการศกึ ษาต้องปรับตัว โดยจาเป็นตอ้ งมีความรับผิดชอบท่ีเพ่ิมขึ้น ต้องมีขอ้ มูลสารสนเทศทที่ ันสมัยและการปรับใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีการส่ือสารเปน็ ตน้ ขอบขา่ ยของนวัตกรรมทางการศึกษา ขอบข่ายของนวัตกรรมทางการศึกษาประกอบด้วย หลักสูตร การเรียนการสอน ส่ือการสอน การ ประเมินผลและการบริหารจัดการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมฐานความรู้ (Knowledge-based Society) และมีการพัฒนาเทคโนโลยีด้านต่าง ๆ อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว จาเป็น

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 43 อย่างย่ิงที่สถาบันการศึกษาต่าง ๆ ต้องปรับตัวเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียน ในขณะเดียวกัน จะตอ้ งแขง่ ขนั กับสถาบนั การศึกษาอ่ืน ๆ ทางด้าน “ความคิดสรา้ งสรรค์ (Creativity)” อีกดว้ ย ท้ังนี้เพอื่ เป็น การสร้างความแตกต่างในกระบวนการบริหารจัดการทางการศึกษา และเพื่อผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพออกสู่ สังคม เพ่ือให้ได้บุคคลากรในภาคแรงงานท่ีมีคุณภาพและมีความเป็นมืออาชีพอย่างแท้จริง ดังน้ันในปัจจุบัน สถาบันการศกึ ษาจึงจาเป็นต้องอาศยั ความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรมทางการศึกษารว่ มกัน เพือ่ ท่ีจะสามารถ ดึงศักยภาพของเทคโนโลยีและบุคลากรในภาคการศึกษาของสถาบนั ออกมาใช้ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ไม่ว่าจะ เป็นเครื่องมือเครื่องใช้หรือผู้สอนเอง โดยท่ีหลายสถาบันการศึกษาหรือหลายมหาวิทยาลัยต่างมีแนวคิดและ กระบวนการท่ีจะนางานวิจัยและองค์ความรู้ภายในสถาบันมาใช้พัฒนาองค์กร เพ่ือให้เกิดประโยชน์เชิงธุรกิจ การศึกษาหรือก่อให้เกิดประโยชน์เชิงนวัตกรรมได้อย่างแท้จริง ซึ่งในที่สุดแล้วกระบวนการน้ีจะนาไปสู่ การสรา้ งสถาบนั การศกึ ษายคุ ใหม่หรอื มหาวิทยาลัยแหง่ นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรคน์ ่นั เอง โดยจะได้รับ การส่งเสริมและสนับสนุนจากผู้เกี่ยวข้อง และก่อให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อภาคการศึกษา และจะส่งผลให้สถาบันการศึกษามีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น โดยสามารถสร้างความแตกต่างท่ีทาให้ องค์กรเติบโตไดอ้ ยา่ งยั่งยนื (พิชติ ฤทธิ์จรูญ, 2559) สาหรับในภาคการศึกษา ความคดิ สร้างสรรค์ไม่เพยี งถกู นามาใช้ในการคิดค้นและพฒั นาหลักสูตรใหมๆ่ เทา่ นั้น ความคิดสร้างสรรค์ยังถูกผนวกเข้ากับการบริการทางการศึกษา ซ่ึงเป็นเสมือนตัวเชื่อมระหว่างหลักสูตรและผู้ ศึกษา ก่อให้เกิดค่านิยมในเรือ่ งของนวัตกรรมบรกิ าร (Service Innovation) ข้ึนในปัจจุบัน โดยเฉพาะในกล่มุ หลักสูตรท่ีมีคู่แข่งมาก นวัตกรรมบรกิ ารเป็นปัจจัยสาคัญในการสรา้ งความแตกต่างและส่งผลต่อกระบวนการ ตัดสินใจของผู้ตัดสินใจเข้าศึกษา ตัวอย่างการนานวัตกรรมบริการทางการศึกษามาใช้มีอยู่หลายระดับด้วยกัน ท้ังนี้ข้ึนอยู่กับระดับของเทคโนโลยีที่นามาใช้และผลกระทบต่อพฤติกรรมการศึกษา ในระดับแรก สถาบันการศึกษาอาจมีการเปล่ียนแปลงเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่น ปรับภาพลักษณ์ใหม่ ในอันดับถัดมาอาจมีการนา เทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามาใช้ และการเปล่ียนแปลงนีก้ ็จะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในข้ันตอนหรอื กระบวนการ ทางานภายในสถาบันและพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา เช่น มีการทาธุรกรรมธนาคารผ่านทางโทรศัพท์ การเพ่ิมการบรกิ ารที่เก่ียวข้องกับการศึกษาแบบส่งถึงบ้าน หรือจะเป็นการเปล่ียนแปลงคร้ังสาคัญที่ตอ้ งอาศัย เทคโนโลยีและการปรับปรงุ กระบวนการทางานหรอื บริการอันส่งผลถึงการเปลี่ยนแปลงกระบวนการครั้งใหญ่ ในสถาบันการศึกษาและปรับเปล่ยี นพฤติกรรมผูเ้ รยี นไปเลย การปลกู ฝังให้คนร่นุ ใหม่ตระหนกั ความสาคญั ของความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม เปน็ ส่งิ ทจ่ี าเปน็ ในยุคแห่ง นวัตกรรมทางการศึกษาน้ี การพัฒนานวัตกรรมของสถาบันการศึกษาเพ่ือให้เป็นสถาบันแห่งการเรียนรู้เป็น หน้าที่สาคัญ โดยจะต้องมีการปรับบทบาทของตัวเองเพื่อส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้แห่งนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ในอดีตท่ีผ่านมา หากพิจารณาการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยในมุมมองเชิงนวัตกรรม สามารถกาหนดหลักสูตรหลักของมหาวิทยาลัย ได้แก่ หลักสูตรการเรียนการสอนและการบริการ ด้าน การศึกษา โดยที่กระบวนการผลิตจะมเี หลา่ คณาจารย์เปน็ ผูด้ ูแลโดยตรงและมบี ุคลากรในส่วนงานอ่ืน เป็น ผู้สนับสนุน ยิ่งกว่านั้นกลุ่มเป้าหมายของมหาวิทยาลัยสามารถเทียบได้กับผู้เรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และ สถาบันภายนอกที่ต้องการเข้ารบั การฝึกอบรม ส่วนผลผลิตของมหาวิทยาลัยท่ีสามารถสัมผัสได้และเห็นไดช้ ัด

ปีที่ 6 ฉบบั ที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 44 คือ คุณภาพของนักศึกษาท่ีสาเร็จการศึกษา การยอมรับในสังคมและความสามารถในการบรรลุเป้าหมาย ในการฝึกอบรมตามที่องคก์ รภายนอกตอ้ งการ ทรัพยากรบคุ คล หรือ บุคลากร (Human Capital) ท่มี ีคุณค่าของมหาวทิ ยาลยั สว่ นใหญม่ ักถูกใช้ ไปใน กระบวนการการเรียนการสอนเป็นหลัก ถึงแม้ทรัพยากรกลุ่มน้ีจะสามารถผลิตผลงานวิจัยหรือคิดค้น ส่ิงประดิษฐ์ออกมา ซ่ึงอาจจะถือได้ว่าเป็นทรัพย์สินท่ีจับต้องไม่ได้ (Intangible Assets) ของมหาวิทยาลัยฯ และแน่นอนส่วนหนึ่งในน้ีเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์และคิดค้นนวัตกรรม แต่ปัญหาที่เกิดข้ึน คือ ความคิด สร้างสรรค์และนวัตกรรมจากงานวิจัยเหล่านั้นถูกใช้แค่เป็นผลงานทางวิชาการ หรือถูกใช้ในการตอบสนอง ความต้องการของผู้ผลิตงานวิจัยเป็นหลักมหาวิทยาลัยไม่สามารถท่ีจะแปลงทรัพย์สินท่ีจั บต้องไม่ได้เหล่าน้ี ใหเ้ กดิ ประโยชน์เชิงเศรษฐศาสตร์ไดอ้ ยา่ งเปน็ รูปธรรมและมปี ระสิทธิภาพ บทความนี้พยายามท่ีจะทาให้ผู้อ่าน เห็นถึงส่ิงท่ีจะมีความเป็นไปไดส้ ูงสุดในการบริหารนวัตกรรมและความคดิ สร้างสรรค์ภายในสถาบันการศึกษา และต้องการให้ผู้ที่อยู่ในสถาบันการศึกษาได้มคี วามคิด จินตนาการ การ กาหนดทิศทาง และการกาหนดมุมมองของงานวิจัยนวัตกรรมด้วยตัวท่านเอง ดังน้ันหน้าท่ีหลักของ สถาบันการศึกษายุคใหม่ที่ควรจะเป็น คือ สนับสนุนเคร่ืองมือในการคิด เป็นท่ีปรึกษาให้แก่บุคลากรภายใน สถาบันและหน่วยนวัตกรรมภายนอกท่ีมองเห็นความเป็นไปได้ รวมทั้งชักชวนผู้ที่เกี่ยวข้องและสนใจทางด้าน นวตั กรรมและความคิดสรา้ งสรรค์ทางการศกึ ษา ซง่ึ ในทส่ี ุดแล้วทิศทางของสถาบันจะถูกกาหนดจากความเห็น ร่วมกนั สถาบันการศึกษาท่ีจะอยู่รอดได้ในอนาคต ภายใตส้ ภาวะแวดลอ้ มของโลกทีเ่ ปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ต้องอาศยั ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละสามารถดงึ ศักยภาพของคนในสถาบนั ออกมาใช้ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและไม่ ยดึ ติดกับกฎเกณฑเ์ ดมิ ๆทจ่ี ากัดจนิ ตนาการของคนในวงการศึกษา ยิ่งกวา่ นั้นความสาคญั ของสถาบันการศึกษา ท่ีต้องสนับสนุนการขับเคล่ือนงานวิจัย ไม่อาจที่จะถูกจากัดอยู่แค่หน้าที่ในการสนับสนุน เชิงวิชาการให้ ทางานวจิ ยั เพ่อื ปรับเล่ือนตาแหน่งทางวิชาการเท่าน้นั แตค่ วรเร่มิ ต้งั แตบ่ ่มเพาะความคิดเชิงนวัตกรรมในระดับ รากฐานให้กับผู้วิจัยและผู้คิดค้นของสถาบันการศึกษาท้ังในประเทศและต่างประเทศที่สนใจในการนาผลผลิต จากงานวิจัยไปตอ่ ยอดเชงิ วิชาการ เปรียบเสมือนเปน็ ตวั เชื่อมต่อให้ Supply และ Demand ของผลงาน นวัตกรรมภายในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ มาพบกัน โดยมุ่งเน้นเฉพาะงานท่ีสามารถนามาใช้ประโยชน์ได้จริง และเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผู้เรียนเทา่ นนั้ ขอบเขตความรับผิดชอบของสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย หรือที่เก่ียวข้องกับกระบวนการสร้าง นวตั กรรมและสถาบันการศกึ ษาแหง่ ความคดิ สรา้ งสรรค์ ควรมีดังต่อไปนี้ 1. สร้างเครือข่ายแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ (Built up The Community of Innovation & Creativity) ท่ีมีเป้าหมายเดียวกัน บนพื้นฐานท่ีให้อานาจในการตัดสินใจความเท่าเทียมกัน ความโปร่งใส และ การมีพันธกิจรว่ มกันโดยเนน้ ให้บคุ คลากรทางการศกึ ษา มีจินตนาการ ความคดิ สรา้ งสรรค์ และสามารถผลิตผล งานนวัตกรรมท่กี อ่ ให้เกดิ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างแท้จรงิ 2. เป็นช่องทางในการสื่อสาร (Communication Channel) ระหว่างผู้สร้างสรรค์นวัตกรรมการศึกษา ผู้วิจัย ภายในสถาบันกับนักนวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีภายใน หรือแม้กระท่ังหน่วยราชการ ท่ี

ปีที่ 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 45 เก่ียวข้อง รวมท้ังเป็นตัวต่อเช่ือมให้กับ Supply และ Demand ของงานวิจัยทางนวัตกรรมการศึกษาหรือ ความคิดสรา้ งสรรคม์ าบรรจบกัน 3. ช้ีชวนและชักจูงหน่วยนวัตกรรมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ ให้เข้ามาสนับสนุนและใช้ความคิด สรา้ งสรรคห์ รอื งานวจิ ยั ทเ่ี กดิ จากภายในสถาบนั เอง 4. ดูแล ผลักดัน ให้เกิดโครงการลงทุนเชิงวิชาการเพื่อสนับสนุนการสร้างสรรค์นวัตกรรมภายในสถาบันและ ลงทุนในโครงการเกดิ ใหม่ทม่ี ศี ักยภาพในเชิงนวตั กรรม 5. ปลูกฝังให้ผู้วิจัย ผู้คิดค้น และบุคลากรภายในสถาบัน มีความคิดเชิงนวัตกรรม และสามารถสร้างนวัตกรรม จากผลงานวจิ ยั หรือนวัตกรรมท่ีมาจากความคิดสรา้ งสรรคเ์ หลา่ นนั้ ได้ 6. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การเรียนรูข้ องบุคลากรภายในสถาบนั การนานวัตกรรมดา้ นการบรหิ ารจัดการมาใชส้ ร้างสถาบันการศกึ ษายคุ ใหม่ หากสถาบันการศึกษาสามารถนานวัตกรรมด้านการบรหิ ารจัดการมาใช้ได้อย่างเป็นระบบและตอ่ เนอ่ื ง จน ในทีส่ ดุ สามารถปลกู ฝังแนวทางการบริหารจัดการที่กระตนุ้ ให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ลงไปในทกุ ๆ อณูของสถาบัน แห่งความคิดสร้างสรรค์นั้น ก็จะสามารถก้าวสู่ความเป็นเลิศได้อย่างไม่ยาก ด้วยเหตุผลที่สถาบันควรเน้น นวัตกรรมด้านการบริหารจัดการท่ีจะสามารถสร้างความได้เปรียบในระยะยาวได้และไม่ควรหยุดอยู่แค่ที่ กระบวการสร้างสรรค์นวัตกรรมพื้นฐานด้านการปฏิบัติการ (Process Innovation) หรือ นวัตกรรมด้าน หลักสูตรและการบรกิ าร (Course/Service Innovation) เน่ืองจากนวัตกรรมด้านการปฏิบัติการนัน้ ความเป็น เลศิ มกั ขึ้นอยูก่ บั การไหลเวียนของข้อมูลในสถาบัน และระบบโครงสรา้ งพ้ืนฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศจึงไม่ สามารถสร้างความได้เปรียบท่ีม่ันคงได้ ส่วนนวัตกรรมด้านหลักสูตรและการบริการนั้น ปัจจุบันวงจรชีวิตของ หลกั สตู รส้ันลงอย่างมาก นวัตกรรมดา้ นนีจ้ งึ ไมส่ ามารถทาใหส้ ถาบนั เป็นผนู้ าในระยะยาว Management Strategic Innovation Innovation Creativity & Differentiate Product Process ภาInพnoทva่ี t1ion: Types of InnovIanntoiovantion ทม่ี า : ดัดแปลงจาก Hamel (2007) นวัตกรรมข้ันถัดมา คือ นวัตกรรมด้านกลยุทธ์ (Strategic Innovation) สถาบันต่างๆ ต้องมีแบบอย่างทาง นวัตกรรม (Business Model) ท่ีทา ให้ได้เปรียบคู่แข่งขันและลดข้อเสียเปรียบของจุดอ่อนของตน แบบอย่าง ทางนวัตกรรมที่ประสบความสาเร็จของสถาบนั การศกึ ษาอาจจะถูกลอกเลียนแบบและถูกตอบโต้จากคู่แข่งขัน ได้ง่าย ไม่เหมือนนวัตกรรมด้านการบริหารจัดการที่มีลักษณะเฉพาะตัว ต้องใช้เวลาในการปลูกฝังให้อยู่ใน

ปที ่ี 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 46 สถาบันจนกลายเป็นจุดแข็งหลักที่ฝังรากลึก (Core Competency) ของสถาบันและสามารถสร้างสรรค์ ความได้เปรียบในการแข่งขัน(Competitive Advantage) และความแตกต่างท่ียากต่อการลอกเลียนแบบได้ (Differentiate) ผู้นาสถาบันการศึกษาควรจะพยายามส่งเสริมให้ผู้วิจัย ผู้คิดค้น ผู้ร่วมงานทุกคนท่ีเก่ียวข้องมี ส่วนร่วมในการกาหนดตวั แบบเชิงนวัตกรรมและการวางแผนเชิงกลยุทธ์ของสถาบนั รวมท้ังทาให้บุคลากรรู้สึก ว่านวัตกรรมและการสร้างสรรค์ความคิดผ่านองค์ความรู้ท่ีได้จากงานวิจัย เป็นหน้าที่และความรับผิดชอบของ ทกุ คน ยงิ่ กว่านั้นผนู้ าสถาบนั ควรจะเปดิ โอกาสให้ทกุ คนมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความคิดเหน็ อย่างเป็นอิสระและ มีสว่ นรว่ มในการกาหนดทิศทาง วธิ กี ารบริหารตามแนวคิดการรวมกลุ่มนวัตกรรม ตามรปู ด้านล่างจะทา ใหล้ ดระยะเวลาในการสร้างนวัตกรรม ใหม่ๆ (Economy of Speed) เน่ืองจากมีการไหลเวียนของข้อมูลภายในเป็นไปอย่างรวดเร็ว และมีการ ตดั สนิ ใจโดยท่ที ุกคนยอมรบั และมีส่วนรว่ ม สงิ่ เหลา่ นจ้ี ะเกิดขนึ้ ไดก้ ็ต่อเมื่อ ผู้นาสถาบันสามารถทาลายอุปสรรค ขัดขวางการเกิดความคิดสร้างสรรค์ ท่ีมาจากแรงฉุดร้ังของแนวคิดแบบเก่าและสามารถสร้างบรรยากาศ ใน การคิด การเรียนรู้จนในท่ีสุดสามารถผลักดันให้ผู้วิจัยสร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ๆ ที่ตรงกับความต้องการของ สังคมและแวดวงการศึกษาได้ ลดระยะเวลาส่งมอบ การสร้างความแตกต่าง Fast Delivery Differentiate การสร้างนวัตกรรม Innovation ภาพท่ี 2 : ปัจจัยหลกั 3 ข้อส่คู วามสาเรจ็ ในแนวคิดการรวมกลุ่มนวัตกรรม (Cluster Concept) อนาคตของสถาบนั การศกึ ษายุคใหม่ เมื่อมีการจัดรูปแบบโครงสร้างสถาบันการศึกษา มีการกาหนดแผนการดาเนินงานและได้เร่ิมมี การ เผยแพร่แนวคิดของเครือข่ายแห่งนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ภายในสถาบันแล้ว สิ่งสาคัญลาดับแรก ที่ต้องปลูกฝังให้อยู่ในสายเลือดของบุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งหมด คือ ความคิดริเริ่มในการดาเนินนวตั กรรมและ แนวคิดท่ีว่า นวัตกรรมเป็นงานของทุกคนเพ่ือให้สถาบันมีความเข้าใจตรงกันและมีเป้าหมายเดียวกัน เม่ือ ภายในสถาบันการศกึ ษามีความพรอ้ ม แนวคิดด้านนวตั กรรมของสถาบันก็จะถูกกระจายออกไปสู่กลมุ่ เปา้ หมาย

ปีท่ี 6 ฉบับที่ 11 (ประจาเดอื น กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 47 หรอื ผู้เรียน จนในทสี่ ุดจะมีการชักจูง ชแี้ จงถึงผลประโยชนท์ ี่จะได้รบั รว่ มกันและพยายามให้เกดิ การรวมกลุม่ กัน ของแวดวงการศกึ ษา หรือนวัตกรรมทอ่ี ย่ใู นกลมุ่ เดียวกัน สุดทา้ ยกจ็ ะมีการลงทนุ ของนวัตกรรมใหมใ่ หเ้ ห็นเป็น รูปธรรมในพื้นท่ีบริเวณเดียวกันของแวดวงที่เก่ียวเน่ืองบนปรัชญาพ้ืนฐานเร่ิมต้นที่ทุกนวัตกรรมสามารถ ใช้องค์ความรู้ร่วมกัน การรวมตัวกันเป็นกลุ่มนวัตกรรมหรือคลัสเตอร์นั้นจะทาให้เกิดกระบวนการสร้าง การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร การแลกเปล่ียนเทคโนโลยี รวมถึงการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ระหว่างกันและยังช่วยลดต้นทุนต่างๆ ในห่วงโซ่อุปทาน อันจะนาไปสู่ศักยภาพในการสร้างนวัตกรรมและ การผลิตร่วมกันทาให้นวัตกรรมมีความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้นและสามารถสร้างความแตกต่างที่ทาให้ เติบโตได้อย่างยั่งยืน โดยมีสถาบันการศึกษายุคใหม่เป็นผู้จุดประกายให้เกิดความสาเร็จดังกล่าว โดยมีการนา แนวคดิ ทฤษฎีท่ีเกยี่ วข้องนามาประยุกตเ์ ป็นหลกั การมีรายละเอียด ดงั น้ี Educational Innovator (เปน็ นักนวัตกรรมทางการศกึ ษา) หมายถึง คณุ สมบตั ขิ องนักบรหิ ารการศกึ ษาท่ีสรร หา สร้างสรรค์และใช้นวัตกรรมในการบริหารการศึกษา เช่น รู้จักการเรียนรู้และแก้ปัญหาพัฒนาการบริหาร การศึกษาในระดับองค์กรด้วยปัญญา เป็นผู้ยอมรับในศาสตร์อ่ืนๆ ในฐานะสหวิทยาการเพ่ือแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการบรหิ ารการศึกษาขององค์กร เปน็ ผูท้ ยี่ อมรับในความเปลยี่ นแปลงทด่ี ีงามของสงั คมไทยและสงั คมโลก ด้วยวิสัยทัศน์ รู้จักนาความเปล่ียนแปลงท้ังมวลมาเป็นจุดแข็งและโอกาสในการแก้ปัญหาและพัฒนาระบบ การศกึ ษาไทยให้เจริญรงุ่ เรือง รจู้ กั นา ทุกส่ิง ทุกจดุ บนโลกมาเรยี นรู้ เพอื่ พัฒนานวัตกรรมการบรหิ ารการศึกษา ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ E- Learning/ Internet/ICT (เป็นผู้เรียน และสร้างองค์ความรูผ้ ่านสื่ออเิ ลคทรอนิคส์) หมายถึง เป็นผู้ที่เรียนรู้ โดยผ่านสื่ออเิ ล็คทรอนิคส์ (Electronic Learning) ดว้ ยการใชร้ ะบบออนไลน์ (ระบบโทรคมนาคมและเครือข่าย คอมพิวเตอร์)ได้อย่างชานชิ านาญและชาญฉลาด ตระหนักว่าโลกแห่งอินเตอรเ์ น็ตสาคัญอย่างย่ิงต่อ การ เจริญก้าวหน้าขององคก์ รและบุคคลในองค์กร และใช้เครื่องมือสื่อสารที่สามารถเชื่อมตอ่ กับระบบอินเตอร์เน็ต เช่น คอมพวิ เตอร์ เครื่อง Palm organizer โทรศัพท์มือถือที่รองรับระบบ GPRS ฯลฯ ใช้การ ไหลเวียนของขอ้ มูลดว้ ยระบบ e-mail Educational Action Research Based (เป็นผู้ใช้การวิจัยและปฏิบัติการทางการศึกษาเป็นพื้นฐาน) หมายถึง เป็นผู้ที่ใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการทางการศึกษาในการปฏิบัติงาน ทางานควบคู่ไปกับการวิจัยหรือวิจัยใน สภาพการปฏิบัติงานจริงเพ่ือพัฒนางาน เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาทักษะและนวัตกรรมเกิดประโยชน์ ต่อผู้เก่ียวข้องโดยตรง โดยต้องมีทักษะในการนิยามปัญหาให้ชัดเจน ตั้งเป้าหมายได้ถูกต้องเหมาะสม ศึกษา ค้นคว้าหลักการทฤษฎีมาสนับสนนุ หรือมาเปน็ แนวทางในการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างเหมาะสมเชอ่ื ถือได้ ตั้งสมมตฐิ าน หรือวัตถุประสงคใ์ นการค้นหาความจริงไดช้ ดั เจน ออกแบบการวิจัยหรือวางแผนไดด้ ี มนี วตั กรรมในการแก้ปญั หา ท่ีมีประสิทธิภาพ ดาเนินการแก้ไขปัญหาที่เป็นระบบ เก็บข้อมูลตามสภาพจริงได้ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ วิเคราะห์ขอ้ มูลไดเ้ หมาะสม นาเสนอขอ้ มลู ได้อยา่ งยน่ ย่อ เขา้ ใจง่าย และสามารถใช้ผลการวจิ ยั ไดจ้ รงิ Emotional Quotient (มีความฉลาดทางอารมณ์) หมายถึง เป็นผู้ที่มีความสามารถรับรู้ เข้าใจ ประเมินและ แสดงออกทางอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม สามารถจัดการอารมณ์ของตนเองเพื่อเอื้อต่อการใช้ความคิด รับรู้ เข้าใจและบริหารจัดการอารมณ์ของผู้อื่นได้ สามารถตรวจทาน กากับอารมณ์ของตนเพื่อปรับตนให้เข้ากับ

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธนั วาคม 2563) 48 บุคคลอ่ืนและสถานการณ์ต่างๆ ได้ สร้างสัมพันธภาพ ติดต่อส่ือความเข้าใจกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มี ความสามารถในการกระตนุ้ ตนเองและจงู ใจผู้อืน่ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ Evaluator (เป็นนักกากับ ติดตามและประเมิน) หมายถึง เป็นผู้ท่ีมีความสามารถในการกากับติดตามงานที่ได้ ทาลงไปแลว้ ให้บรรลุผลสาเร็จ รู้วา่ มีส่งิ ใดท่ตี ้องปรบั ปรงุ แกไ้ ป มีขอ้ มลู ย้อนกลบั และสามารถปรับปรุงแก้ไขให้ ดกี วา่ เดิมยง่ิ ข้นึ ไปอีก เปน็ บคุ คลที่ทางานรวดเร็วมากแต่ผดิ พลาดน้อย Easy life (ดารงชีวิตเรียบงา่ ย) หมายถงึ เปน็ ผมู้ รี ปู แบบของการใชช้ ีวิตเรียบงา่ ย Easy life or simple life ไม่ โลภมาก ไมแ่ กง่ แยง่ ชิงดชี ิงเดน่ ดารงชวี ิตพอเพียง กนิ พอดี นอนพออิม่ พดู แต่สิ่งท่ีเปน็ ประโยชน์ ทาสมาธิและ นง่ิ เปน็ รวมถงึ เปน็ คนทส่ี ามารถเลิกคา่ นยิ มทงั้ 3 ได้แก่ วตั ถนุ ิยม ทุนนิยม และบรโิ ภคนยิ ม Ecology (สร้างสมดุลกับส่ิงแวดล้อม) หมายถึง ผู้ที่ตัดสินใจดา เนินการสิ่งใด จะใช้ตัวช้ีวัดในด้าน การ สร้างสมดุลกับส่ิงแวดล้อมประกอบการตัดสินใจเสมอเพื่อมิให้พัฒนาสิ่งหน่ึงและกระทบสิ่งหน่ึงโดยเฉพาะ สิ่งแวดล้อม ประเทศไทยก็เป็นประเทศหน่ึงที่กาลังประสบกับปัญหาดังกล่าวอยู่ในขณะน้ี ดังนั้นการรณณรงค์ เพื่อที่จะปรับสภาพแวดล้อมที่สูญเสียไปให้ดีข้ึน หรือการอนุรักษ์ไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติท่ียัง หลงเหลืออยู่จึงเป็นเรื่องที่มีความสาคัญอยา่ งย่ิง ดังนั้นนักบริหารการศึกษามืออาชีพจึงจา เป็นต้องสร้างสรรค์ ในสิ่งทเี่ ปน็ มิตรกับสิ่งแวดลอ้ ม Edification (เป็นคนดีแท้) หมายถึง เป็นผู้ใช้หลักธรรมในการดา เนินชีวิตได้แก่ความเป็นผู้รู้จักเหตุ รู้จักผล เช่น รู้จักว่าความสุขเป็นผลแห่งการทาความดี ทุกข์เป็นผลแห่งการทาความชั่ว พยายามแสวงหาแต่ผลดีโดย การทาเหตทุ ดี่ ี เป็นตน้ Exporter (เปน็ นกั ขาย) หมายถงึ ผ้มู คี วามสามารถในการโนม้ น้าวจิตใจให้ผู้อ่นื เช่อื และคลอ้ ยตามดว้ ยความเต็ม ใจ รู้ว่าใครคือลูกค้าของฉัน ฉันควรจะผลิตสินค้าหรือบริการอะไรให้กับใคร เพื่อให้สามารถบรรลุผลสาเร็จ ผู้บริหารทั้งหลายจึงต้องเป็นนักขาย คือต้องเป็นคนมีศิลปะในการจูงใจคน หรือการชักจูงบุคคลในองค์กร รวมถงึ การท่ตี ้องสือ่ สารภายในองค์กรและภายนอกองคก์ รอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ เม่ือพิจารณาความเหมาะสมในการที่จะนาแนวคิดดังกล่าวไปใช้ พบว่ามีความเหมาะสมกับการบรหิ าร ใน สถาบันการศึกษายุคใหม่ท่ีมุ่งเน้นนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ในการดาเนินงานเป็นอย่างมาก และ คาดวา่ จะสรา้ งความพึงพอใจให้กบั บุคลากรท่เี กีย่ วข้องไดใ้ นระดบั สงู ทีเดียว นวัตกรรมและการศกึ ษายุคใหม่ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามามบี ทบาทและเก่ียวข้องกับการศึกษาเป็นอย่างมากตามท่ีได้กล่าวมาแล้ว ทั้งยัง เป็นสิ่งที่มีความสาคัญในการพัฒนาคุณภาพของมนุษย์ที่มีคุณค่ามหาศาล ซึ่งแนวคิดในการเพ่ิมคุณค่าของ เทคโนโลยีชว่ ยการเรยี นร้พู อจะสรปุ ไดด้ ังนี้ การใช้เทคโนโลยีพัฒนากระบวนการทางปัญญา กระบวนการทางปัญญา ( Intellectual Skills) คือ กระบวนการท่ีมีองค์ประกอบสาคัญ คือ การรับรู้ต่อส่ิงเร้า (Stimulus) การจาแนกส่ิงเร้าจัดกลุ่มเป็นความคดิ รวบยอด (Concept) การเช่ือมโยงความคิดรวบยอดเป็นกฎเกณฑ์หลักการ (Rule) ด้วยวิธีอุปนยั (Inductive) การนากฎเกณฑ์ หลักการไปประยุกต์ใช้ด้วยวิธีนิรนัย (Deductive) และการสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ ๆ

ปที ี่ 6 ฉบับท่ี 11 (ประจาเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม 2563) 49 (Generalization) ระบบคอมพิวเตอร์มีสมรรถนะสงู ที่จะชว่ ยพัฒนาผ้เู รียนให้มีความฉลาดในกระบวนการทาง ปัญญานี้ โดยผู้สอนอาจจัดข้อมูลในเรื่องต่าง ๆ ในวิชาที่สอนให้ผู้เรียนฝึกรับรู้ แสวงหาข้อมูล นามาวิเคราะห์ กาหนดเป็นความคิดรวบยอดและใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแสดงแผนผังความคิดรวบยอด (Concept Map) เช่ือมโยงเป็นกฎเกณฑ์หลักการ ซึ่งผู้สอนสามารถจัดสถานการณ์ให้ผู้เรียนฝึกการนากฎเกณฑ์ หลักการไป ประยุกต์ จนสรุปเปน็ องคค์ วามรอู้ ยา่ งมเี หตผุ ล บนั ทกึ สะสมไวเ้ ป็นคลงั ความรู้ของผู้เรียนตอ่ ไป การใชเ้ ทคโนโลยพี ัฒนาความสามารถในการแก้ปญั หาการเรยี นรู้ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ ศูนยก์ ลางหรือ ถอื วา่ ผูเ้ รยี น สาคญั ทีส่ ุดน้ัน เราสามารถออกแบบแผนการเรยี นการสอนให้ผ้เู รยี นมีโอกาสแสดงความคดิ สร้างสรรค์ในการทา โครงงานแสวงหาความรู้หรือหาความรใู้ นเรือ่ งที่ผู้เรยี นสนใจ หรือเพ่ือแก้ปัญหา (Problem-Based Learning) การเรียนรู้ลักษณะน้ีจะเร่ิมต้นด้วยการกาหนดประเด็นเร่ือง (Theme) ตามมาด้วยการวางแผนกาหนดข้อมูล หรือสาระที่ต้องการ ผู้สอนอาจจัดบัญชีแสดงแหล่งข้อมูล (Sources) ท้ังจากเอกสารสิ่งพิมพ์และจาก Electronic Sources เช่น ชื่อของ Web ต่าง ๆ ให้ผู้เรียนแสวงหาข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ เป็นคาตอบ สร้างเป็นองค์ความรู้ต่าง ๆ โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือช่วย และผู้สอนเพียงช่วยกากับผลการเรียนรู้ให้ เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพที่ต้องการ ท้งั นผ้ี ู้สอนจะมบี ทบาทสาคญั ในการช่วยชแ้ี นะทิศทางของการแสวงหา ความรู้หรือแนะนาผู้เรียนให้พัฒนาความรู้ความสามารถเพ่ิมขึ้นให้สอดคล้องกับมาตรฐานคุณภาพ ผลการ เรียนรู้ทีเ่ หมาะสมจะเป็นปัจจัยสนบั สนนุ การใชเ้ ทคโนโลยีช่วยการเรยี นรู้ ปัจจัยพืน้ ฐานคอื การสรา้ งความพรอ้ มของเคร่ืองมอื อุปกรณ์ต่าง ๆ ให้มีสมรรถนะและจานวนเพียงพอตอ่ การใช้ งานของผู้เรียน รวมถึงการอานวยความสะดวกให้ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยีได้ตลอดเวลาถือเป็นปัจจัย เบอ้ื งตน้ ของการสง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีเพอ่ื การเรียนรู้ ส่ิงท่ีควรเป็นปัจจยั เพม่ิ เติม คอื ผู้สอนสร้างโอกาสในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ปัจจัยท่ีจะผลักดันให้มีการใช้เทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า คือ การทผ่ี ้สู อนออกแบบกระบวนการเรยี นรู้ให้เอ้ือต่อการทากิจกรรมประกอบการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมท่ี ตอ้ งใชก้ ระบวนการแสวงหาความร้จู ากแหลง่ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ทั้งจากการสงั เกตในสถานการณจ์ ริง การทดลอง การ ค้นควา้ จากสือ่ ส่ิงพิมพ์และจากสอ่ื Electronic เชน่ จาก Web sites เปน็ กิจกรรมทีต่ ้องมกี ารทาโครงงานอิสระ สนองความสนใจ เป็นกิจกรรมที่ต้องฝึกปฏิบัติจาก Software สาเร็จรูป เป็นกิจกรรมท่ีต้องมี การบันทึก วิเคราะหข์ ้อมูล และการนา เสนอรายงานดว้ ยคอมพวิ เตอร์ เปน็ ตน้ ผู้สอนและผู้เรียนจัดทาระ บบแห ล่งข้อมู ลสาร สน เทศเพ่ื อการ เรียนรู้ ปัจจัย ด้านแ ห ล่งข้อมู ลสาร สน เ ท ศ (Information Sources) เป็นตัวเสริมทสี่ าคัญที่ช่วยเพ่ิมคุณค่าของระบบเทคโนโลยีเพ่ือการเรียน การสอน ผู้สอนและผู้เรียนควรช่วยกันแสวงหาแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่มีเน้ือหาสาระตรงกับหลักสูตรหรือสนองความ สนใจของผู้เรียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรวบรวมแหล่งข้อมูลสารสนเทศท่ีเป็น Software ชื่อของ Web sites รวมถึง การลงทุนจัดซื้อ Software จากแหล่งจาหน่ายการจา้ งให้ผู้เช่ียวชาญจัดทา หรือจัดทาพัฒนาขนึ้ มาเอง โดยผูส้ อนและผู้เรียน สถาบนั การศึกษาตอ้ งจัดศูนยข์ ้อมูลสารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้ (Learning Resources Center) ซงึ่ เป็นตัวชี้วัด สาคัญประการหนง่ึ ของศกั ยภาพของสถาบันที่จะสง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีเพ่ือการเรียนรู้ของผู้สอนและผู้เรียน นิยมจัดไวเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งของห้องสมุด จนเกิดคาศพั ท์ว่าหอ้ งสมุดเสมอื น (Virtual Library) หรอื e –Library จะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook