ในการวางแปลงเพ่ือการหาความสมั พันธ์ การวางตัวไม่ตรงกับจุดของภาพถ่ายจากดาวเทียม กับถ่ายดาวเทียมนั้น การวางแปลงในรูปแบบเหล่ียม จึงอาจทาให้ได้ค่าการสะท้อน ไม่ตรงกับความ โดยเฉพาะรูปแบบส่ีเหล่ียมน้ัน น่าจะเหมาะสม เป็นจริง และเกิดข้อผิดพลาดได้ แต่เม่ือใช้ มากกว่าแบบวงกลม แสดงดงั ภาพท่ี 47 ด้านบน รูปแบบของแปลงท่ีเป็นวงกลม การหาความสัมพันธ์ เนื่องจากภาพถ่ายดาวเทียม จะมีการถ่ายทาเป็น ทางตาแหน่งของแปลงวงกลม ท่ีจุดใดจุดหน่ึง สี่เหล่ียมจัตุรัส และขึ้นอยู่กับชนิดของดาวเทียม จะทาได้ยาก เน่ืองจากจะไม่สามารถหาค่าของ เท่าน้ัน ท่ีมีขนาดจุดภาพท่ีแตกต่างกัน จากจุด ภาพถ่ายจากดาวเทียม ที่เป็นตัวแทนของ ภาพถ่ายท่ีได้จากดาวเทียม Landsat - 8 มีขนาด ตาแหน่งแปลงท่ีแท้จริง ที่จุดแปลงวงกลมอยู่ได้ 30 x 30 m2 การวางตัวของแปลงรูปสี่เหล่ียมที่ แสดงดังภาพท่ี 47 ด้านล่าง น้ันจุดวงกลมจุดท่ี 4 มีขนาด 40 x 40 m2 ทาให้แปลงหมายเลข 6 เป็น น่าจะได้ค่าของจุดภาพท่ีดีท่ีสุด ทั้งน้ีเนื่องจาก แปลงทเี่ หมาะสมที่สุด ในการหาค่าความสัมพันธ์ กับ ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมเป็นข้อมูลแบบ ภาพถ่ายจากดาวเทียม เพราะครอบคลุมจุดภาพ จุดภาพท่ีเป็นสี่เหล่ียม ดังนั้นความสัมพันธ์ของ ดาวเทียมทั้งหมด ซึ่งจุดภาพมีขนาด 30 x 30 m2 ลักษณะของแปลงสารวจท่ีเป็นส่ีเหลี่ยม น่าจะ เม่ือพิจารณาแปลงอื่นๆ จะเห็นได้ว่ามีลักษณะ ดกี ว่าลักษณะแปลงท่เี ปน็ แบบวงกลม ภาพที่ 47 ลักษณะการวางตัวของแปลง สารวจ เทยี บกับจดุ ภาพของ ภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม 43
3. ผลการศึกษาจากกรณตี ัวอยา่ งการวางแปลงถาวร และดัชนีพชื พรรณจากภาพถ่ายจากดาวเทยี ม จากผลการศึกษาจากการวางแปลง จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 15 แปลง จังหวัด ถ า ว ร แ ล ะ ดั ช นี พื ช พ ร ร ณ จ า ก ภ า พถ่ า ย จ า ก กาญจนบุรี จานวน 9 แปลง และจังหวัดเชียงใหม่ ดาวเทียม ท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อหาแนวโน้มของ จานวน 9 แปลง เป็นลักษณะพ้ืนที่ตัวแทนของ การศกึ ษาวเิ คราะห์เพอ่ื หาความสัมพันธ์จากค่า ป่าผลัดใบ ข้อมูลปริมาณการเก็บกักคาร์บอน กา ร ส ะ ท้ อน ข อง ช่ ว ง ค ล่ื น ท่ี ได้ จ าก ภ าพ ถ่ า ย โดยคานวณจากข้อมูลมวลชีวภาพเหนือพ้ืนดิน ดาวเทียมกับค่าการสารวจปริมาณการกักเก็บ ท่ีได้จากแปลงตัวอย่าง รูปแบบสี่เหลี่ยมจัตุรัส คาร์บอนเหนือพื้นดินท่ีได้จากภาคสนามใน ขนาด 40 x 40 m2 คานวณค่าดัชนีพืชพรรณ แปลงตัวอย่างถาวร จานวน 6 พื้นที่ โดยดัชนี จากขอ้ มูลภาพถา่ ยดาวเทียม Landsat - 8 ได้แก่ พืชพรรณ (Vegetation Index : VI) การศึกษาครั้งน้ี ดัชนีพืชพรรณ NDMI เพ่ือวิเคราะห์หาค่า ไ ด้ ใ ช้ ดั ช นี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง ข อ ง ค ว า ม ชุ่ ม ชื้ น ปริมาณการเก็บกักคาร์บอนในรูปแบบของจุด (Normalized Difference Moisture Index : NDMI) พิกเซล ภาพถ่ายดาวเทียม (pixel) มีขนาด เพ่ือใช้ในการศึกษา พบว่า จากข้อมูลแปลงเก็บ จุดภาพ 30 x 30 m2 หรือขนาด 900 ตารางเมตร ตัวอย่างถาวร ในพ้ืนท่ีจังหวัดจันทบุรี จานวน จึงใช้หน่วยวัดในการคานวณคาร์บอนคือตัน 9 แปลง จังหวัดตาก จานวน 15 แปลง และ คาร์บอนต่อ 900 ตร.กม. และนามาคานวณหาค่า จังหวัดพัทลุง จานวน 9 แปลง เป็นลักษณะ ปริมาณคาร์บอนให้อยู่ในรูปของตันคาร์บอน พ้ืนท่ีตัวแทนของป่าไม่ผลัดใบและพื้นท่ีบริเวณ ตอ่ พกิ เซล ปริมาณการกักเก็บคาร์บอน กับค่าดัชนีพืชพรรณ NDMI ในพ้ืนที่ตัวแทนของป่าไม่ผลัดใบ จานวน 3 พื้นที่ มีการวางแปลงเพ่ือเก็บข้อมูลรวมทั้งส้ิน จานวน 33 แปลง มีค่าสัมประสิทธ์ิ ตวั กาหนด (R2) เทา่ กับ 0.681 และพนื้ ที่ตัวแทนของป่าผลัดใบ จานวน 3 พ้ืนท่ี มีการวางแปลงเพ่ือ เกบ็ ขอ้ มูลจานวน 33 แปลง มีค่าสัมประสทิ ธ์ิตัวกาหนด (R2) เท่ากับ 0.6400 แสดงดังภาพที่ 48 44
ภาพที่ 48 ค่า R-Square ของปา่ แต่ละชนดิ 45
เมื่อรวมทั้ง 2 พ้ืนท่ีเข้าด้วยกัน ได้สมการของพ้ืนท่ีป่าผลัดใบและป่าไม่ผลัดใบ จานวน 66 แปลงมคี า่ สัมประสทิ ธติ์ ัวกาหนด (R2) เทา่ กับ 0.709 แสดงดังภาพที่ 49 จานวนแปลงตัวอย่างที่มีความถูกต้องของข้อมูลการสารวจพันธุ์ไม้ ค่าพิกัดของแปลง รวมทั้ง รูปแบบการวางแปลงท่ีสามารถตรวจสอบ และติดตามความเพม่ิ พูนของตน้ ไมไ้ ด้ ยงั มีจานวนแปลงที่นอ้ ยอยู่ ทาให้ลักษณะของสมการท่ีทาการศึกษาในครั้งนี้ ยังไม่สมบูรณ์มากนัก เพราะยังไม่มีข้อมูลสูงสุด และต่าสุดของการตรวจวัด และจากดัชนีพืชพรรณ เพื่อนามาเปรียบเทียบในสมการความสัมพันธ์กับ ภาพถา่ ยจากดาวเทียมสารวจทรพั ยากร การนาไปใชป้ ระโยชน์การศกึ ษาครั้งน้ีเป็นเพยี งการศึกษาเบอ้ื งตน้ เทา่ นั้น แต่จากการศึกษา พบว่า ถ้ามีข้อมูลท่ีเพียงพอ และมีข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันจะทาให้ได้สมการที่มีความสัมพันธ์ของดัชนี พืชพรรณทีไ่ ดจ้ ากภาพถ่ายดาวเทียมกบั ข้อมูลจากแปลงสารวจท่ีมีความน่าเช่ือถือสงู ทาให้สามารถประเมนิ ปริมาณคาร์บอนสะสมเหนือพ้ืนดินของป่าไม้ จากภาพถ่ายดาวเทียมได้อย่างรวดเร็วและมีความถูกต้อง น่าเช่ือถือ ซ่ึงเมื่อสามารถประมาณปริมาณคาร์บอนสะสม ได้จากภาพถ่ายดาวเทียมโดยตรงทาให้ลดเวลาการ สารวจขอ้ มูลภาคสนาม และลดคา่ ใชจ้ ่ายในการสารวจวางแปลงเกบ็ ขอ้ มูล ภาพที่ 49 ความสัมพันธร์ ะหว่างปา่ ผลัดใบและป่าไม่ผลัดใบ จานวน 66 แปลง 46
เพ่ือให้การศึกษาวจิ ัยมีความสมบรู ณ์มากยิ่งขึ้น ควรมีการเพิม่ จานวนพื้นที่ศึกษาให้กระจาย ไปยัง บริเวณพน้ื ที่ปา่ ชนดิ อ่นื เชน่ ปา่ ไมผ่ ลดั ใบ ได้แก่ ปา่ ดบิ ช้นื หรือปา่ ดบิ เขา ป่าผลัดใบ ไดแ้ ก่ ปา่ เบญจพรรณ หรือป่าชนิดเดียวกัน แต่ต่างพ้ืนท่ีหรือต่างภูมิภาค เพื่อเป็นการทดสอบความสัมพันธ์ของดัชนีพืชพรรณ หรืออาจเพ่ิมดัชนีอื่น เช่น Ratio vegetation index (VI) Tasseled cap transformation, Transformed normalized difference vegetation index (TNDVI) Enhanced vegetation index (EVI) หรือ Forest canopy density (FCD) เป็นต้น แตท่ ั้งนี้ควรมีจานวนข้อมูลที่ได้จากแปลงตัวอย่าง ท่ีมีความถูกต้องแม่นยา และมีจานวนตัวอย่างที่มากข้ึนด้วย นอกจากการใช้ดัชนีพืชพรรณอื่นๆ หรืออาจประยุกต์ใช้กับภาพถ่าย จากดาวเทยี มหลายชว่ งเวลา เพือ่ ให้สามารถสรา้ งสมการมาตรฐานในการกาหนดค่าผลผลติ มวลชวี ภาพ หรือ ปริมาณคาร์บอนสะสมจากภาพถ่ายดาวเทียม ของประเทศไทยในอนาคตเพราะเราสามารถรับภาพถ่าย จากดาวเทียมไดท้ ุกวนั แตเ่ ราไม่สามารถลงมอื ตรวจวัดข้อมูลได้ทกุ วัน 47
4. ข้อเสนอแนะสาหรบั การใชง้ าน การใช้ภาพถ่ายดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติ เมื่อต้องการวิเคราะห์พ้ืนท่ีขนาดใหญ่ ท่ีมีขนาดเกินกว่า 1 ภาพ และต้องนาข้อมูลดังกล่าวมาเปรียบเทียบกัน จะทาให้เกิดปัญหาความแตกต่าง กันของรูปแบบค่าการสะท้อนแสง ซ่ึงแต่ละภาพจะมีคุณสมบัติท่ีแตกต่างกันออกไป ซ่ึงวิธีการแก้ปัญหา ดังกลา่ วคือการเลือกใชข้ อ้ มูลเปรยี บเทียบทม่ี ีชว่ งเวลาใกล้เคียงกัน และต้องมีการปรับแก้ค่าการสะท้อนแสง กอ่ นการประมวลผลทุกครงั้ ท้ังน้ีเน่อื งจากคา่ การสะทอ้ นแสงจากหลายภาพยอ่ มมคี วามแตกต่างกัน การทางานกับขอ้ มลู ภาพถา่ ยจากดาวเทยี มท้งั ประเทศ ต้องใช้ความรู้และประสบการณ์หลายด้าน เพื่อให้ได้รูปแบบของสมการความสัมพันธ์ท่ีเหมาะสมกับประเทศไทย ดังน้ันผู้ปฏิบัติควรเข้าใจถึงการ ทางานโดยการใช้ความรู้หลายๆ ด้านเพื่อนามาประยุกต์ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ ้อมูลในพนื้ ที่ ยงั ไมม่ กี ารศึกษาถึงขนาดที่เหมาะสม สาหรับการหาความสัมพันธ์ของจุดภาพดาวเทียมกับแปลง สารวจรวมท้ังขนาดของแปลงสารวจ สาหรับพ้ืนท่ีท่ีมีความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืช อย่างเช่นการ ทางานในพื้นที่ขนาดใหญ่ในระดับประเทศหรือระดับภูมิภาค ดังน้ันควรมีการศึกษาดังกล่าวเพ่ือให้เป็น ขอ้ มลู พ้ืนฐานและเปน็ ฐานขอ้ มลู เพือ่ การติดตามการเปลย่ี นแปลงสภาพพ้ืนทีข่ องประเทศไทยตอ่ ไป การวางแปลงตัวอย่าง เพ่ือนามาใช้ในงานทางด้านภาพถ่ายดาวเทียมควรมีทิศทางและขนาดแปลง ท่ีได้รูปร่างท่ีเหมาะสม โดยเน้นท่ีการวางทิศทางของแปลงในแนวเหนือใต้ เพื่อให้สัมพันธ์กับภาพถ่าย จากดาวเทียมทีม่ ีลกั ษณะของจุดภาพเป็นสเ่ี หลีย่ ม และวางตวั ในแนวเหนือใต้ แต่ท้ังนี้ควรพิจารณาถึงพ้ืนท่ี เป็นสาคญั เช่น ความยากง่ายของการวางแปลง ความลาดชันของพื้นท่ีรวมท้ังอุปสรรคอื่นๆ การวางแปลง ตัวอย่างเพื่อหาความสัมพันธ์กบั ขอ้ มูลจากภาพถา่ ยดาวเทยี ม ควรให้ความสาคญั กบั ความถกู ตอ้ งของข้อมูล การตรวจวัด นั้นคือการทางานในภาคสนามต้องมีความถูกต้อง ชัดเจน และแม่นยามากที่สุด เพื่อเป็นการ ลดความผดิ พลาดของการคานวณการหาคา่ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มลู ในภาคสนามกับข้อมูลภาพถ่ายจาก ดาวเทยี ม 48
นรินทร์ จรูญรัตนพักตร์. 2560 แนวโน้มการใช้ดัชนีพืชพรรณท่ีเหมาะสม เพื่อประมาณปริมาณ คาร์บอนสะสมของพื้นท่ีป่าไม้, น.241 –248. รายงานสืบเน่ืองการประชุมวิชาการ ทรพั ยากรธรรมชาติสารสนเทศภูมิศาสตร์และส่ิงแวดล้อม นเรศวร ครั้งที่ 2. มหาวิทยาลัย นเรศวร, พิษณุโลก. นรินทร์ จรูญรัตนพักตร์, นาท ตุ่นสิงห์คา และ จิรัญญ์นันท์ บัวจันทร์. 2560. แนวทางการ ประยุกต์ใช้ค่าดัชนีพืชพรรณเพ่ือประมาณการสะสมคาร์บอน ในพื้นที่ป่าไม้, น. 160-169. ใน การประชุมเชิงวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการ การประชุมเครือข่ายวิจัย นิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทยคร้ังท่ี 6. 19-20 มกราคม 2560. มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพ. ชิงชัย วิริยะบัญชา, วิโรจน์ รัตนพรเจริญ และ ภาณุมาศ ลาดปาละ. 2560. สมการประมาณมวล ชีวภาพเหนือพ้ืนดินของพันธุ์ไม้รองบางชนิดในพื้นท่ีป่าธรรมชาติ, น. 148-159. ใน การ ประชุมเชิงวิชาการและนาเสนอผลงานวิชาการ การประชุมเครือข่ายวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ ประเทศไทยคร้ังท่ี 6. 19-20 มกราคม 2560. มหาวทิ ยาลัยมหิดล, กรุงเทพ. FAO, 2007. National Forest Monitoring and Assessment Working Paper - Brief on National Forest Inventory NFI – Thailand. [Online], Available: http://www.fao.org /docrep/016/ap197e/ap197e.pdf [1 Jan 2016]. Harrington, S., Teitelman, J., Rummel, E., Morse, B. et al., \"Validating Google Earth Pro As a Scientific Utility for Use in Accident Reconstruction,\" SAE Int. J. Trans. Safety 5(1):2017. 49
ประวตั ิการศึกษา และการทางาน ช่ือ-สกลุ นายนรนิ ทร์ จรญู รัตนพกั ตร์ วัน เดือน ปี เกิด 12 มถิ นุ ายน 2522 สถานที่เกดิ จงั หวดั เชยี งราย ท่อี ยูป่ จั จบุ ัน 46/374 ซ.พหลโยธิน 52 แยก 43 ถนนพหลโยธิน แขวงคลองถนน ประวัติการศกึ ษา เขตสายไหม กรุงเทพ 10220 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรบัณฑติ (ภมู ศิ าสตร์) ตาแหน่งหนา้ ทก่ี ารงานปัจจบุ นั มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่, 2545 สถานที่ทางานปจั จุบัน ปรญิ ญาเกษตรศาสตรบัณฑติ (การจัดการการเกษตร) มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช, 2563 ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการลุม่ น้าและสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2547 นกั วิชาการแผนท่ีภาพถ่ายชานาญการพเิ ศษ สานักฟน้ื ฟูและพัฒนาพ้ืนท่ีอนรุ ักษ์ กรมอุทยานแห่งชาติ สตั วป์ ่า และพนั ธพ์ุ ชื 50
ประวัตกิ ารศกึ ษา และการทางาน ชื่อ-สกลุ นายกฤตณิ สดุ โต วัน เดือน ปี เกดิ 16 พฤษภาคม 2534 สถานท่เี กดิ จงั หวดั ราชบรุ ี ที่อยู่ปจั จบุ นั 104 ถ.กุมภลิ ต.ห้วยจระเข้ อ.เมอื ง จ.นครปฐม 73000 ประวัติการศกึ ษา ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑติ (วนศาสตร์) มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์, 2557 ตาแหน่งหน้าที่การงานปจั จบุ นั ปรญิ ญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑติ (การจดั การทรัพยากรป่าไม้) สถานทีท่ างานปัจจุบัน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์, 2562 นกั วิชาการป่าไม้ สานักวิจัยการอนุรกั ษป์ า่ ไมแ้ ละพนั ธ์ุพชื กรมอุทยานแหง่ ชาติ สัตวป์ า่ และพนั ธุพ์ ชื 51
Search