Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

Description: เทคนิคการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการวัดต้นไม้อย่างมืออาชีพ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิชาการป่าไม้ที่มีความสนใจในการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการวัดข้อมูลความเจริญเติบโตของต้นไม้ ใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานได้จริงในภาคสนาม ซึ่งการวางแปลงตัวอย่างถาวรและวัดความเจริญเติบโตต้นไม้ให้มีความถูกต้องสูงและมีความคลาดเคลื่อนน้อย ถือเป็นก้าวแรกและก้าวสำคัญต่อการดำเนินงานวิจัย

Keywords: คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

Search

Read the Text Version

ปกติการเก็บข้อมูลด้านความโตและ ทาให้ผู้อ่านค่าสับสน หรือการวัดคร้ังแรกแนว ความสูงของต้นไม้ หลังจากการวางแปลงตัวอย่าง เทปวัดไม่ได้แนวระดับ หรือเทปหย่อน เป็นต้น แล้วเสร็จ ในการวัดครั้งแรกจะไม่มีข้อมูลเพื่อใช้ อีกกรณหี นง่ึ เม่อื คร้ังแรกอ่านค่าได้ 33.6 cm ครั้ง เปรียบเทียบ ข้อมูลส่วนน้ีพบว่าจะมีข้อผิดพลาด ที่สองอ่านได้ 23.8 cm แสดงว่าครั้งแรกควรเป็น ประมาณ 15-20 % แต่เมื่อมีการติดตามเก็บ 23.6 cm เน่ืองจากอาจมีการทดเทปท่ีใช้วัดจาก ข้อมูลในครัง้ ทีส่ อง จะสามารถเปรียบเทียบกับการ 0 cm มาเรม่ิ ท่ี 10 cm แล้วลืมหักค่าท่ีทดออกไป เก็บข้อมูลครั้งแรกได้ แต่ข้อมูลคร้ังแรกต้อง 10 cm เป็นต้น หลังการเก็บข้อมูลครั้งท่ีสอง ปรากฏในตารางบันทึกข้อมูลด้วย ข้อมูลห้าม จะลดความผิดพลาดในครั้งแรกให้เหลือน้อยกว่า แยกกันอยู่คนละชุด เพราะจะทาให้การ 10 % แต่การเก็บข้อมูลครั้งที่สองก็ยังคงมีความ ตรวจสอบข้อมูลทาได้ยากและเสียเวลามาก ผิดพลาดอยู่ประมาณ 10-15 % จากกรณีท่ีวัด ตัวอย่างที่พบบ่อย คือ ค่า DBH คร้ังแรกจะ DBH มากกว่าความเป็นจริง ซ่ึงจะตรวจพบได้ มากกว่าครั้งท่ีสอง เช่น ครั้งแรกวัดได้ 9.6 cm จากการวัดคร้ังท่ีสาม ตัวอย่างเช่น ครั้งแรกวัด แต่ครั้งที่สอง วัดได้ 9.2 cm ตรวจสอบต้นไม้ DBH ได้ 14.5 cm คร้ังที่สอง วัดได้ 15.5 cm พบว่าปกติ เปลือกไม่ได้หลุดลอก ยอดไม่หัก และครั้งท่ีสาม วัดได้ 14.8 cm ซึ่งการปรับแก้ใน วัดตาแหน่งเดิม ในฤดูกาลเดียวกัน แต่ต่างปีกัน การวัดครั้งที่สองน้ีต้องดูความเพ่ิมพูนในภาพรวม อาจแสดงวา่ คร้ังแรกคา่ ควรเป็น 9.1 cm เพราะที่ ของต้นไม้ในแปลงว่าการวัดทั้งสามครั้ง มีความ ตาแหน่ง 0.5 จะเปน็ ขีดยาว 0.6 จะเป็นขีดสน้ั เพมิ่ พูนประมาณเทา่ ไรเพ่ือประกอบการตัดสนิ ใจ 35

ช่วงเวลาท่ีเหมาะสมในการเกบ็ ข้อมูลภาคสนาม ในการวัดความเจริญเติบโตของต้นไม้ เ น่ื อ ง จ า ก ใ น ช่ ว ง ปี แ ร ก ข อ ง ก า ร ด า เ นิ น ง า น ควรทาในช่วงฤดูหนาวถึงฤดูร้อน ระหว่างเดือน จะติดขัดเร่ืองของระบบงบประมาณในการ พฤศจิกายน - พฤษภาคม แต่ช่วงที่เหมาะสม เบิกจ่าย ทั้งทางด้านการอนุมัติการใช้จ่ายเงิน ที่ สุ ด ค ว ร เ ป็ น ช่ ว ง เ ดื อ น ธั น ว า ค ม - เ ม ษ า ย น การออกคาส่ังในการปฏิบัติงาน และการจัดซื้อ เนื่องจากต้นไม้หยุดความเจริญเติบโตแล้ว จัดจ้างอุปกรณ์ในการทางานภาคสนาม เป็นต้น ต้นไมบ้ างชนิดมีการผลัดใบในช่วงฤดูแล้ง ทาให้ ก ว่ า จ ะ เ ริ่ ม ท า ง า น ไ ด้ ก็ ล่ ว ง เ ล ย ม า ถึ ง เ ดื อ น เห็นเรือนยอดของต้นไม้ชัดเจน วัดความสูงง่าย มกราคม-กุมภาพันธ์ ทาให้การดาเนินงาน สามารถทางานได้ต่อเน่ืองโดยไม่ต้องหยุดหลบฝน ภาคสนามต้องทอดยาวออกไปเข้าสู่ฤดูฝน ควรหลีกเลี่ยงการเก็บข้อมูลในช่วงฤดูฝนที่มีฝน แต่อย่างไรก็ตามถ้าเป็นโครงการวิจัยต่อเน่ือง ตกชกุ เพราะจะทางานไม่สะดวกบางครั้งต้องรอ 3-4 ปี ความล่าช้าดังกล่าวจะไม่พบในปีที่ 2 ฝนหยุดหลายวัน ทาให้เสียเวลา และงบประมาณ จงึ ควรจะเล่ือนเวลาการเก็บข้อมูลออกไปในช่วง การเดินทางเข้าถึงแปลงทาได้ลาบาก พ้ืนที่จะลื่น ฤดูแล้งในปีท่ี 2 โดยใช้ข้อมูลของปีท่ี 1 เป็น เม่อื มพี ายุฝนฟา้ คะนองต้องระวังฟ้าผ่า กิ่งไม้หัก ข้อมูลอ้างอิงและปรับแก้ในการเก็บข้อมูลคร้ังที่ และตน้ ไมล้ ม้ ในแปลง การวัดข้อมูลความสูงของ 2 3 และ 4 ให้เป็นช่วงเวลาเดียวกันเพ่ือหา ต้นไม้จะเล็งยอดไม่ชัดเจน เนื่องจากจะมีใบไม้ ความเพิ่มพูนรายปีของหมู่ไม้ ยกเว้นในกรณีที่ มาบดบัง ส่วนขนาดความโตของต้นไม้จะพบว่า เป็นโครงการวิจัยต่อเนื่องระยะสั้นเพียงแค่ 2 ปี มีคา่ มากกว่าปกติ เนื่องจากเปลือกต้นไม้จะอุ้มน้า อาจจาเป็นต้องทาการเก็บข้อมูลในช่วงฤดูฝนใน และพองตัว แต่อย่างไรก็ตามการดาเนินงาน ปีถัดไป เพื่อให้ได้ข้อมูลความเพิ่มพูนรายปีของ ภาคสนามบางคร้งั อาจจะหลีกเลย่ี งในฤดฝู นไม่ได้ หมไู่ มน้ ้ัน จึงไม่สามารถจะหลีกเล่ียงได้ 36

การเตรยี มหมายเลขเรียงของตน้ ไม้ การเตรียมหมายเลขเรียงของต้นไม้ สว่ นทีม่ คี วามกว้าง 2 cm ออกเป็นช้ินๆ ทาการ ในแปลง เป็นส่ิงท่ีควรทาก่อนเข้าพื้นท่ี โดยใช้ เจาะรูใกล้กับขอบทางขวามือ ร้อยด้วยลวด แผ่นอะลูมิเนียมท่ีมีขนาด 4X8 ฟุต หนา 0.3 ทองแดงทาเป็นพวงๆ ละ 100 แผ่น ถ้ามีจานวน mm นามาตัดเป็นแผ่นที่มีความกว้าง 16 cm มากกว่าน้ีการนาออกจากพวงจะลาบาก ทาให้ ยาว 4 ฟุต โดยใช้ไม้บรรทัดเหล็กยาว 1 m วางทาบ เสียเวลา ตัวเลขอาจจะหล่นหายได้ การตีเลข ลงบนแผ่นอะลูมิเนียม จากน้ันใช้มีด Cutter เรียง 1 ชุดต่อแปลง ควรมีเลขต้ังแต่ 1-300 ซ่ึง ขนาดใหญ่ กรีดแบบลงแรงกด ให้เป็นแนว จะมี 3 พวงต่อชดุ ประกอบด้วย 1-100 101-200 เส้นตรง แล้วนามาพับหักออกเป็นแผ่นได้อย่างง่าย และ 201-300 ตามลาดับ (ภาพท่ี 15-3) ในกรณี นาแผ่นอะลูมิเนียมที่ได้น้ี มากรีดตัดแบ่งอีกคร้ัง ที่ใช้ตัวเลขไม่หมด จะนากลับมาตีเลขเรียงใหม่ ด้วยความกว้าง 16 cm ยาว 18 cm ทาการพับ ให้ครบ ต้องนาแผ่นอะลูมิเนียมและที่ตอกเบอร์ หักออกมาเป็นแผ่นๆ หลังจากนั้นนาแต่ละแผ่น เข้าแปลงไปด้วย เพราะถ้ามีจานวนต้นไม้มาก มากรีดแบ่งออกเป็นช่องให้มีความกว้าง 2 cm หมายเลขที่เตรียมไว้จะไม่พอ หรือมีต้นไม้ใหม่ ยาว 6 cm ตลอดทงั้ แผ่น ทาการพบั หักส่วนท่เี ปน็ เพ่ิมข้ึนในแปลงเมื่อมีการวัดซ้า (ภาพท่ี 15-4) ด้าน 6 cm ออกมา แผ่นอะลูมิเนียมจะมีขนาด ไม่ควรตีเลขเรียงท้ังหมดในแปลง เพราะว่า จะทา กว้าง 6 cm ยาว 16 cm ดังแสดงในภาพท่ี 15-1 ไม่สะดวก และเสียเวลามาก ตัวเลขจะไม่คมชัด โดยแผน่ อะลมู เิ นยี มขนาดนี้ เหมาะสมสาหรับการ เลขเรียงจะสับสนขาดหายหรือซ้าซ้อน เป็นต้น ใช้ตีเลขเรียงอย่างต่อเนื่อง ทาโดยใช้ค้อนตีบน การใหห้ มายเลขกบั ตน้ ไมม้ ีความสาคญั เป็นการให้ เหลก็ ตอกตัวเลข ที่มีขนาด 8 mm (ภาพที่ 15-2) ID กับต้นไมใ้ นแปลง จะต้องให้ไม่ซ้าหมายเลขกัน เมื่อตอกตัวเลขครบแผน่ จงึ พับหักแผน่ อะลูมเิ นียม เพื่อใชใ้ นการติดตามต้นไม้นนั้ ๆ ในระยะยาว ภาพที่ 15 การทาเลขเรียงของต้นไม้จากแผ่น อะลูมิเนียม 1) แผ่นอะลูมิเนียมขนาดความกว้าง 6 cm ยาว 16 cm ก่อนทาการตีหมายเลข 2) เหล็กตอกตัวเลขขนาด 8 mm 3) การตีเลขเรยี งบนแผ่นอะลูมิเนยี ม และจดั เรียงร้อยเป็นพวงก่อน เขา้ แปลง และ 4) การตเี ลขเรียงในแปลงจะไมส่ ะดวกตอ่ การทางาน 37

ในการตอกเลขเรียงกับต้นไม้จะเริ่มต้น ต้นไม้โตข้ึนจะดึงแผ่นอะลูมิเนียมจมลึกเข้าไป จากการหมายตาแหนง่ ท่ีจะทาการวัด DBH โดย ในเน้ือไม้ทาให้มองไม่เห็นหมายเลขท่ีให้ ภายหลัง ใชก้ ่งิ ไม้ หรือเศษไม้ท่ีอยู่นอกแปลงที่มีขนาดเล็ก จากการวัด DBH จะทาการคาดสีน้ามันมีความ (Ø 1-2 cm) มสี ภาพแขง็ แรง ตรง และไม่โค้งงอ กว้างประมาณ 2 cm รอยขีดของปากกาเคมีจะ เช่น ไม้ไผ่รวก เป็นต้น ทาการตัดหัว-ท้าย ให้มี อย่กู ง่ึ กลางของสีที่คาดและชายแผ่นอะลูมิเนียม ความยาว 1.30 m เพื่อใช้เป็นไม้หมายตาแหน่ง จะอยู่ตรงขอบบนของสีท่ีคาดพอดี (ภาพท่ี 16-3) DBH ของต้นไม้ทุกต้นที่เก็บข้อมูล นาไม้ไปทาบ ไม่ควรให้เลขเรียงกับต้นไม้โดยใช้ลวดคล้องมัด กับต้นไม้แล้วใช้ปากกาเคมีหรือแท่งชอล์กขีด ลาต้น เพราะเมื่อต้นไม้โตขึ้นลวดที่มัดไว้จะบาด หมายตาแหน่งไว้ (ภาพที่ 16-1) จากน้ันจึงนา ลึกเข้าเนื้อไม้ทาอันตรายต่อต้นไม้ได้ (ภาพที่ เลขเรียงที่เตรียมไว้ตีเหนือรอยขีด โดยให้ชาย 16-4) และไม่ควรตอกตะปูตรงตาแหน่ง DBH ด้านล่างของแผ่นอะลมู ิเนียมอยู่สูงประมาณ 1 cm จะทาให้กีดขวางการวัดข้อมูล ทาให้วัดข้อมูล ด้วยตะปูขนาด 2-3 น้ิว ตอกลึกประมาณ 1 น้ิว ผิดพลาด เมื่อทิ้งไว้นานลาต้นตาแหน่งที่ตีตะปู (ภาพท่ี 20-2) ไม่ควรตอกตะปูจนมิด เพราะเมื่อ จะบวมโตผดิ ปกติ (ภาพท่ี 16-5) ภาพที่ 16 ก่อนทาการวัด DBH ของต้นไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ต้องทาการหมาย ตาแหนง่ ท่ีจะวัดพร้อมกับให้เลขเรียงกับต้นไม้ 1) การหมายตาแหน่ง 1.30 m โดยใช้ไม้ในการทาบ ระบุตาแหน่ง 2) ทาการตอกแผ่นอะลูมเิ นียมด้วยตะปใู ห้ชายขอบด้านล่างอยู่เหนือตาแหน่งที่วัด 1 cm 3) ภายหลังการวัดข้อมูล DBH จะทาการคาดสีรอบตาแหน่งที่วัด 4) ต้นไม้ท่ีคล้องด้วยลวดกับ เลขเรยี งจะทาอนั ตรายต่อลาต้น และ 5) ไม่ตอกตะปูตรงตาแหน่งท่ีจะทาการวัด DBH เม่ือท้ิงไว้นาน ลาตน้ จะบวมโตผดิ ปกติ 38

การคาดสีตน้ ไม้ การคาดสีต้นไม้จะดาเนินการได้ภายหลังจาก 1) หมายตาแหน่งที่จะวัด 2) ตีเบอร์ต้นไม้ 3) ทาการเก็บข้อมูล DBH และ 4) ถ้าต้นไม้ใหญ่ให้ใช้ปากกาเคมีขีดตามแนวเทปท่ีวัดเป็นระยะๆ จากนน้ั จงึ ทาการคาดสตี ามตาแหนง่ เทปที่ใช้วดั โดยนยิ มใช้สีน้ามันผสมทินเนอร์ สีที่ใช้จะเป็นสีแดง เน่ืองจากเปน็ สีท่เี หน็ เด่นชัดในระยะไกล ตดั กบั สขี องใบและลาต้นของต้นไม้ การคาดสีต้นไม้มีความ จาเปน็ และมคี วามสาคญั ตอ่ การเก็บขอ้ มูลในแปลงนัน้ ๆ ดังน้ี 1. ทาให้ทราบอาณาเขตของตน้ ไม้ในแปลงตวั อย่างถาวร 2. การวัดต้นไม้จะไม่หลง ทาให้ทราบว่าต้นไหนยังไม่ได้เก็บข้อมูล และลดการเก็บข้อมูล ซ้าซอ้ นในแปลง 3. สามารถเก็บข้อมูลซ้า ณ ตาแหน่งเดิมในการตรวจวัดครั้งต่อๆ ไป ดังแสดงในภาพท่ี 17-1 และ 17-2 และใช้ตรวจสอบข้อมูลทไ่ี ด้ดาเนินการไปแล้วว่ามีความถูกต้อง หรือไม่ ดังแสดงใน ภาพที่ 17-3 ภาพที่ 17 การคาดสตี น้ ไม้หลงั จากวดั ข้อมูล มีประโยชน์ในการตรวจวัดขอ้ มลู ซ้า หรือใช้ ในการตรวจสอบข้อมูลว่ามีความถูกต้องหรือไม่ 1) สีที่คาดต้นไม้ในการวัดข้อมูลปีแรก 2) การวัด ข้อมูล ณ ตาแหน่งเดิมเม่ือเก็บข้อมูลปีที่สอง และ 3) การคาดสีในการวัดข้อมูลครั้งแรก แสดงถึง ตาแหนง่ การวัดขอ้ มูลทไ่ี ม่ถูกตอ้ ง เพราะไมข่ ยับหลบพพู อนทาใหไ้ ดข้ นาดความโตมากกว่าปกตเิ กอื บเทา่ ตัว 4. สีท่ีคาดสามารถบ่งบอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้น้ันๆ ได้ว่า มีมากน้อยเพียงใด โดยสังเกตจากการปริแยกของสีท่ีคาด ต้นไม้ท่ีมีความเจริญเติบโตดีจะทาให้สีท่ีคาดแตกเป็นร้ิวๆ และจางหายไป สว่ นต้นไม้ที่โตช้าจะพบวา่ สีทคี่ าดจะมีการปรแิ ตกน้อยกว่า ดงั แสดงในภาพท่ี 18 5. สามารถตดิ ตามการเพม่ิ จานวนของตน้ ไมใ้ หม่ในแปลงตวั อย่างถาวรได้ดี 39

ภาพที่ 18 การคาดสีตน้ ไม้สามารถบอกถงึ ความเจริญเติบโตของต้นไม้นั้นๆ ได้ 1) ต้นไม้ ที่มีความเจริญเติบโตดีจะทาให้สีที่คาดมีการแตกเป็นร้ิวๆ และมีสีที่จางลง และ 2) ต้นไม้ที่มีความ เจรญิ เตบิ โตชา้ สที ่ีคาดจะมีความเปลีย่ นแปลงนอ้ ยมาก จากความสาคัญของการคาดสีดังกล่าว เพราะจะทาให้การค้นหาต้นไม้เพื่อวัดคร้ังต่อไป จึงควรทาการคาดสีต้นไม้ทุกต้นท่ีทาการเก็บ ทาได้ลาบาก ในการเก็บข้อมูลความโตดังกล่าว ข้อมูลในแปลงตัวอย่างถาวร โดยคาดสีให้รอบ ให้ทาการวัดความสูงจากพื้นดินถึงตาแหน่งท่ีวัด ต้นไม้ ไม่ควรคาดสีเพียงสั้นๆ เพ่ือความประหยัด แล้วบันทึกข้อมูลของต้นน้ันด้วย เพ่ือใช้เป็น เพราะการคาดสีรอบต้นไม้ทาให้หาร่องรอย แนวทางหาตาแหน่งท่ีจะเก็บข้อมูลครั้งต่อไป ของแนวสีที่คาดได้ง่ายกว่าเม่ือเกิดกรณีเปลือก ในกรณีสที ่คี าดหลุดหรือจางหายไป (ภาพท่ี 19-1) หลุดล่อนออกมา สีท่ีคาดน้ีจะอยู่ได้นาน การคาดสีไมค่ วรกว้างเกนิ ไป จะทาให้เกิดความ ประมาณ 3-4 ปี จากนั้นอาจจาเป็นต้องมีการ สับสนในการวัดครั้งต่อไปว่าจะวัดตาแหน่งไหน ซอ่ มสีใหมถ่ ้ามโี อกาส แต่ถ้าต้นไม้น้ันไม่มีพูพอน เช่น ขอบบน ตรงกลาง หรือขอบล่าง เป็นต้น และอยู่ตรงตาแหน่งท่ีวัด DBH พอดี การวัด (ภาพที่ 19-2) ความกว้างของสีท่ีคาดประมาณ ใต้แผ่นอะลูมิเนียมท่ีมีเลขเรียงก็ใช้ได้ดี และ 2 cm จะเหมาะสมที่สุดเพราะจะพอดีกับเทป แผน่ อะลมู เิ นียมสามารถอยู่ได้นานมากกว่า 10 ปี วัดท่ีจะมาบรรจบกัน เพื่ออ่านค่าในครั้งต่อไป แต่อาจจาเป็นต้องซ่อมตะปูที่ใช้ตอกกับต้นไม้ (ภาพที่ 19-3) ในกรณีท่ีมีการหลีกเล่ียงปุ่มตา จากการเก็บข้อมูลในครั้งแรก แต่ถ้าต้นไม้มี จากตาแหน่งเดมิ ของไมท้ าบประมาณ ± 10 cm พพู อนสูง จาเป็นตอ้ งขยบั ตาแหน่งท่ีวัดให้สูงข้ึนไป สามารถทาการขีดเส้นและทาการตอกเบอร์ได้ แต่ตาแหน่งของการตอกเบอร์ยังอยู่ที่เดิม เลยโดยไม่ต้องระบุตาแหน่งที่วัด ยกเว้นสูงหรือ เพื่อให้เห็นหมายเลขประจาต้นได้อย่างชัดเจน ต่าเกินไปควรมีการระบุตาแหน่งท่ีวัดในตาราง ไม่ควรยา้ ยตาแหน่งของเบอร์ไปยังตาแหน่งท่ีวัด บนั ทกึ ขอ้ มูล 40

ภาพท่ี 19 เทคนิคการคาดสีต้นไม้ในมิติต่างๆ 1) ต้นไม้ท่ีย้ายตาแหน่งการวัด DBH เพือ่ หลบเล่ยี งพพู อนบรเิ วณโคนต้น ใหบ้ นั ทกึ ความสูงจากพน้ื ดินถงึ ตาแหน่งที่วัด 2) การคาดสีต้นไม้ ไมค่ วรมคี วามกวา้ งเกินไปจะทาใหก้ ารเก็บข้อมลู ครง้ั ตอ่ ไปสบั สน และ 3) การคาดสีควรมีความกว้าง ประมาณ 2 cm ตาแหน่งในการวัด DBH ของต้นไม้ ในการวัดความเจรญิ เติบโตของตน้ ไม้ มิติที่ใช้วดั ส่วนใหญจ่ ะวัดขนาด DBH และความสูง ของต้นไม้ ซึ่งการวัดขนาด DBH ในป่าธรรมชาติ ถ้าเป็นพ้ืนท่ีค่อนข้างเรียบ หรือมีความลาดชัน ไมม่ ากนกั ต้นไมม้ ลี ักษณะเปน็ ลาตน้ เด่ียว (Single Stem) และไมม่ พี พู อน ก็จะทาการตรวจวัด DBH ได้ง่าย แต่ในทางปฏิบัติไม่ได้เป็นเช่นนั้น เนื่องจากต้นไม้อาจมีลักษณะพิเศษที่แตกต่างกัน ออกไป และลักษณะพ้ืนที่ก็มีความลาดชันเป็นส่วนใหญ่ ดังน้ันการกาหนดหลักเกณฑ์ การวัด DBH หรือท่ีตาแหน่ง 1.30 m จึงอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้เหมาะสมและเป็นมาตรฐานเดียวกัน ดงั แสดงในภาพท่ี 20 41

ภาพที่ 20 ตาแหน่งที่ใช้วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ท่ีมีลักษณะ และสภาพ พ้นื ท่ีท่แี ตกตา่ งกนั สามารถจาแนกออกเป็น 9 ประเภท ดงั น้ี 1. ต้นไม้ที่มีลักษณะลาต้นปกติและข้ึนอยู่ในพ้ืนที่ราบ ตาแหน่งที่วัดจะตรงกับ 1.30 m หรือ DBH 2. ต้นไม้ที่มีลักษณะลาต้นมีปุ่มมีปมตรงกับ 1.30 m การวัดอาจจะเลื่อนข้ึนหรือลงเพ่ือ หลบปุ่มปมของตน้ ไม้ โดยให้ใกลก้ ับตาแหนง่ 1.30 m มากทีส่ ดุ 3. ต้นไม้ทมี่ ีลักษณะเปน็ สองนาง ที่แตกง่ามระดบั ตา่ ตาแหน่งท่ีวัดจะตรงกับ 1.30 m หรือ DBH ท้ังสองนาง ยกเวน้ บางนางท่มี ีป่มุ ปมใหด้ าเนินการตาม ขอ้ 2. 4. ต้นไม้ท่ีแตกนางตรงตาแหนง่ 1.30 m ไมค่ วรทาการวัดข้อมูลตรงตาแหน่งนี้ เพราะจะ ได้ค่ามากกว่าปกติ จาเป็นต้องขยับตาแหน่งของการวัดขึ้นหรือลงเพ่ือความเหมาะสม ในกรณีทา การขยับตาแหน่งข้ึน จะทาการวัดเป็นไม้สองนาง โดยกาหนดตาแหน่งให้สูงกว่าง่ามที่แตกไม่น้อย กว่า 20 cm 5. ต้นไม้ท่ีแตกนางตรงตาแหน่ง 1.30 m ในกรณีทาการขยับตาแหน่งลง จะทาการวัด เป็นไมต้ ้นเดยี ว 6. ตน้ ไมท้ ่ีมีลกั ษณะลาต้นทเ่ี อนให้วดั ตาแหน่ง 1.30 m ด้านเอนออกไป 7. ต้นไมท้ ี่ข้ึนอย่บู นที่ลาดชันสูงจะวดั ตาแหน่ง 1.30 m ดา้ นบนของความลาดชัน 8. ตน้ ไม้ทม่ี ีพพู อนมากจาเป็นต้องหลีกเล่ียงตาแหน่งวัดข้ึนสูงเป็นพิเศษ จะพบมากในป่า ทีม่ ตี ้นไม้ขนาดใหญ่ บางกรณอี าจจะตอ้ งวัดตรงตาแหนง่ ที่สูงกวา่ 3.00 m เพื่อหลบพูพอนดังกลา่ ว 9. ต้นไมท้ ม่ี รี ากอากาศเชน่ ไม้โกงกางจะวัดเหนอื คอราก 0.20 m (ท่มี า: ดดั แปลงจาก Forest Measurement (Avery and Burkhart, 1994)) 42

จากหลักเกณฑ์การวัดขนาด DBH ของต้นไม้ ดังกล่าวข้างต้น ในบางครั้งจาเป็นต้อง นามาประยุกต์ใช้กับการเก็บข้อมูลภาคสนาม ซ่ึงจะมีเงื่อนไขมากมาย ท่ีต้องทาการแก้ไขปัญหา เฉพาะหนา้ ขณะทท่ี าการเกบ็ ขอ้ มลู ซง่ึ ต้องอาศัยความรู้ ความชานาญ ในการตัดสินใจ การทาความสะอาดลาต้นกอ่ นวดั DBH ก่อนทาการวัด DBH ต้องทาความสะอาด ลาต้นบริเวณท่ีจะวัดให้เรียบร้อยก่อน ตัวอย่าง เช่น ในกรณีตน้ ไมถ้ กู ไฟไหม้ใหม่ๆ จาเป็นต้องใช้มีดขอท่ีใช้ ดายวัชพืช ขูดส่วนที่ไหม้เป็นถ่านออกไปก่อน แต่ต้องไม่ลึกถึงเย่ือเจริญ ดังแสดงในภาพที่ 21-1 ต้ น ไ ม้ ที่ มี พื ช จ า พ ว ก ม อ ส ไ ล เ ค น เ ก า ะ ต า ม ล า ต้ น จาเป็นต้องขูดมอสไลเคนรอบลาต้นออกก่อน (ภาพท่ี 21-2) ต้นไม้ที่มีสภาพเป็นเกร็ดหรือเป็นแผ่นท่ีหลุด ลอกได้ง่าย เช่น ตะแบก สัก ประดู่ พะยูง สน ยางแดง เป็นต้น ให้ใช้มดี ขอขดู เปลอื กท่จี ะหลดุ ลอ่ นออกมาก่อน (ภาพท่ี 21-3) และในกรณีท่ีลาต้นมีปลวกมาทารังอยู่ อาศยั ตอ้ งใช้มดี ฟนั มลู ดนิ ออกใหถ้ ึงลาต้น (ภาพที่ 21-4) ยกเวน้ ต้นไม้จาพวกที่มีเปลือกหนา แข็ง และแตกเป็น รอ่ งลกึ เชน่ เต็ง รัง เหียง พลวง ฯลฯ ไม่ควรทาการ สับเปลือกออกมาจะทาให้การวัดข้อมูลผิดพลาดได้ (ภาพที่ 22) แตถ่ ้าเปลือกถกู ไฟไหม้ตอ้ งขูดส่วนท่ีไหม้ออก หรือกรณีท่ีเปลือกใกล้จะหลุดสามารถทาการเอาออก ได้เลย จากนั้นจึงหมายตาแหน่ง DBH พร้อมตอกเบอร์ เลขเรียง (ภาพท่ี 16-1 และ 16-2) ทาการวัดขนาด DBH และทาการคาดสีต้นไม้ (ภาพท่ี 16-3) ในการทา ความสะอาดลาตน้ ดงั กล่าว จะทาให้การคาดสีสะดวก สีตดิ กับลาตน้ นานไม่หลุดลอกง่าย ได้ข้อมูล DBH ที่ดี ไมส่ บั สนเมือ่ ทาการวดั คร้งั ที่ 2 ภาพที่ 21 ลักษณะของต้นไม้ที่ควรทา ความสะอาดลาตน้ ก่อนทาการวัด DBH 1) สวนป่าไม้สกั ท่ีถกู ไฟไหม้ 2) ตน้ ไม้ทีม่ มี อสไลเคนเกาะ 3) ต้นยางแดง ท่ีมีเปลือกเป็นแผ่นหลุดลอกง่าย และ 4) ต้นไม้ท่ีมี ปลวกมาทารงั ต้องใชม้ ีดสับมลู ดนิ ออกจนถงึ ลาต้น 43

ภาพท่ี 22 ลกั ษณะของลาต้นของตน้ ไม้ที่มีเปลือกหนา แข็ง และแตกเป็นร่องลึก ไม่ควร ทาการสับเปลอื กออกมาจะทาใหก้ ารวดั ขอ้ มลู ผดิ พลาดได้ มีต้นไม้บางชนิดจะมีลาต้นลักษณะเป็นหนามแหลมท่ีแตกต่างกันไป บางชนิดสามารถขูดลาต้นเอา หนามออกได้บางส่วน เช่น ไม้ง้ิว ก็ควรทาความสะอาดลาต้นก่อนทาการวัดได้ (ภาพท่ี 23-1) แต่ บางชนิดมีลักษณะเป็นหนามแขง็ ยาว เช่น ไมเ้ ต็งหนาม กส็ ามารถใชเ้ ทปวัดโดยขยับตาแหน่งที่วัดได้ (ภาพที่ 23-2) แต่บางชนิดมีหนามแข็งไม่มีช่องว่างระหว่าหนามสาหรับใช้เทปวัด จึงจาเป็นต้องวัด DBH โดยใช้ Vernier Caliper แทน โดยคบี ลาตน้ โดยหลบหนาม เชน่ ไม้ฝาง เป็นตน้ ภาพที่ 23 ต้นไม้บางชนิดที่ลาต้นมีลักษณะเป็นหนามแหลมคม 1) ไม้งิ้ว 2) ไม้เต็งหนาม และ 3) ไม้ฝาง ในการทาความสะอาดลาตน้ ห้ามตดั เถาวัลย์ รากไทร รากของไม้อิงอาศัยชนิดต่างๆ เช่น รากมือพระนารายณ์ รากโกงกางเขา เป็นต้น เพราะเป็นการรบกวนสภาพของหมู่ไม้ตามธรรมชาติ ในการวัดข้อมูลสามารถงัดส่วนที่พันลาต้นออกเพ่ือสอดเทปให้แนบกับลาต้นได้ ดังแสดงในภาพที่ 24 การใช้เทปวัดด้านนอกรวมเอารากไม้และเถาวัลย์เข้าไปด้วย จะได้ค่า DBH ไม่ถูกต้อง และมีค่า มากกว่าปกติ 44

ภาพท่ี 24 การวัดขนาด DBH ของต้นไม้ที่มีรากไม้อิงอาศัย ไทร และ เถาวัลย์ขนาดเล็กเกาะหรือพันกับลาต้น เมื่อทาความสะอาดลาต้นแล้ว การวัด ข้อมูลจะสอดเทปให้แนบกับลาต้นของ ตน้ ไม้ แล้วดึงเทปใหต้ งึ พรอ้ มอา่ นคา่ เทคนิคการวัด DBH ในภาคสนาม ในพ้ืนท่ีป่าธ รรมช าติ ต้นไม้ที่มี การวัดต้นไม้แบบนี้ ถ้าขยับตาแหน่งท่ีวัดขึ้นไป ลั ก ษ ณ ะ ล า ต้ น ป ก ติ แ ล ะ ข้ึ น อ ยู่ ใ น พื้ น ท่ี ร า บ ตน้ ไมน้ ีจ้ ะมี DBH จานวน 3 นาง ถา้ ขยับตาแหนง่ ตาแหน่งท่ีวัดจะตรงกับ 1.30 m หรือ DBH ท่ีวัดลงมาจะมีค่า DBH จานวน 2 นาง การที่ ดังแสดงในภาพที่ 25-1 ต้นไม้ท่ีลักษณะลาต้น เลอื กขยับตาแหน่งท่ีวัดข้ึนหรือลง ต้องดูว่าลาต้น มีปุ่มมีปมตรงกับ 1.30 m การวัดอาจจะเลื่อน ที่วดั มีขนาดผิดปกติหรือไม่ และมีระยะห่างจาก ขึ้นหรือลงเพื่อหลบปุ่มปมของต้นไม้โดยให้ใกล้ DBH มากนอ้ ยเพียงใด ประกอบในการตัดสินใจ กับตาแหน่ง 1.30 m มากท่ีสุด (ภาพท่ี 25-2) ตาแหนง่ ทีว่ ดั ไม่ควรวัดตรงทแ่ี ตกง่ามพอดีเพราะ ต้นไม้ท่ีมี 2 นาง มีการแตกง่ามที่อยู่ต่ากว่า จะมีขนาดที่ใหญ่มากกว่าปกติ จึงควรเลื่อน ระดบั DBH มาก (ภาพที่ 25-3) จะทาการหมาย ตาแหน่งท่วี ดั ใหต้ ่าลงมา เพ่อื ลดอิทธิพลของง่าม ตาแหน่ง DBH แล้วให้เลขเรียงประจาต้นนางที่ ต้นไม้น้ัน (ภาพที่ 25-5) นอกจากนี้ ต้นไม้ท่ีมี มีขนาดใหญ่ก่อน ตามด้วยเลขเรียงของนางที่มี ลักษณะลาต้นเอนออกไป ตาแหน่ง DBH ที่วัด ขนาดเล็ก แล้วทาการวัดค่า DBH ท้ัง 2 นาง จะอยู่ด้านบนของด้านที่เอนออกไป ดังแสดงใน ในกรณีที่มีหลายนางก็ทาการวัดทุกนางที่มี ภาพที่ 25-6 โดยใช้ไม้หมายตาแหน่งทาบ ขนาด DBH มีค่า ≥ 4.5 cm ในกรณที ีต่ ้นไม้มีการ ด้านบนให้โคนไม้ติดพ้ืนส่วนด้านปลายทาการ แตกง่ามระดับต่าแยกเป็น 2 นาง โดยนางที่ 1 หมายตาแหน่งที่วัด และในพื้นท่ีท่ีมีความลาด เปน็ ลาต้นเดี่ยว สว่ นนางท่ี 2 ตรงตาแหน่ง DBH ชั้นสูง ตาแหน่ง DBH จะอยู่ด้านบนของพ้ืนที่ มกี ารแตกออกเปน็ 2 นาง ดังแสดงในภาพที่ 25-4 ลาดชนั ดงั แสดงในภาพที่ 26 45

ภาพที่ 25 ในพื้นท่ีที่มีความลาดชันน้อยหรือที่ราบ การกาหนดตาแหน่งเพื่อวัด DBH ของต้นไม้จะขึ้นอยู่กับลักษณะของลาต้น 1) ต้นไม้ท่ีมีลาต้นปกติ 2) ต้นไม้ที่มีปุ่มตา 3) ต้นไม้ ท่ีมี 2 นาง วัด DBH ท้ัง 2 นาง 4) ต้นไม้ 3 นาง ท่ีวัดความโตทั้ง 3 นาง 5) ต้นไม้ 2 นาง ท่ี DBH อยูบ่ รเิ วณทีแ่ ตกงา่ ม ทาการวัดเล่ือนลงต่า และ 6) ต้นไมท้ ี่มีลกั ษณะเอน 46

ภาพท่ี 26 ในพน้ื ท่ีท่ีมีความลาดชันสูง การกาหนดตาแหน่งเพื่อวัด DBH ของต้นไม้จะอยู่ ด้านบนของความลาดชัน 1) ป่าดิบเขา และ 2) ป่าสนเขา ของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเชียงดาว จงั หวดั เชียงใหม่ เทคนคิ การวดั เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางตน้ ไมท้ มี่ ีพพู อนสูง ต้นไม้ท่ีมีพูพอนสูงจาเป็นต้องเตรียม ความสอดคล้องกับความเรียวของต้นไม้ เม่ือ บันไดเพ่ือปีนข้ึนไปวัดขนาด  ของต้นไม้ ตาแหน่งที่วัด ของต้นไม้อยู่ไม่สูงมากนักและ ที่นักวิจัยรุ่นใหม่มักไม่นิยมทากัน เพราะเสียเวลา มเี ถาวลั ย์ชว่ ยในการปีนป่าย จึงไม่จาเป็นต้องใช้ ในการวดั มาก และตอ้ งแบกบันไดไปดว้ ย ส่วนมาก บันไดช่วยในการเก็บข้อมูล ไม่ควรทาการตอก จะทาการวัดข้อมูลที่ระดับ 1.3 m เพราะวัดง่าย ทอยติดกับลาต้น เพื่อใช้ในการวัดข้อมูลเพราะ และรวดเร็ว แต่การทาเช่นน้ันจะพบข้อผิดพลาด เป็นการรบกวนต้นไม้ ทาให้ลาต้นมีบาดแผล มากเพราะขนาด  จะมากกว่าปกติ และสมการ เสียหายได้ ดังแสดงในภาพที่ 27-5 ในกรณีท่ี แอลโลเมตริกของ Ogawa et al. (1965) ได้ ต้นไม้มีพูพอนสูงมากๆ จาเป็นต้องอาศัยทักษะ ระบุไว้ชัดเจนในเอกสารว่า DBH ท่ีใช้ในการ และความชานาญในการหมายตาแหน่งที่วัด  คานวณมวลชีวภาพ ในกรณีที่ต้นไม้มีพูพอนให้ เน่ืองจากต้นไม้บางชนิดท่ีมีพูพอนสูงเกือบครึ่ง เลอ่ื นไปวัด DBH เหนือพูพอน ลกั ษณะของพูพอน ของความสูงท้ังหมด ดังแสดงในภาพท่ี 27-6 ของต้นไม้ในป่าธรรมชาติจะพบได้หลายรูปแบบ เม่ือหมายตาแหน่งให้พ้นพูพอนตามเส้นประ จะ บางรูปแบบเม่ือพ้นพูพอนข้ึนมาจะมีตาแหน่ง ได้ค่าที่น้อยกว่าความเป็นจริงอย่างมาก จึงเป็น เหมาะสมกับการวัด  ที่สูงจากพ้ืนดินไม่มากนัก ข้อยกเว้นที่ต้องทาการหมายตาแหน่งในการวัด (ภาพที่ 27-1 และ 27-2) และบางรูปแบบพูพอน ให้ต่าลงมาเพื่อใช้เป็นตัวแทนของขนาด ของ จะอยู่สูงมากตาแหน่งท่ีวัด  อาจจะสูงจาก ต้นไม้น้ัน ให้สอดคล้องกับความเรียวของต้นไม้ พ้ืนดิน 4-5 m ดังแสดงในภาพที่ 27-3 และ โ ด ย ดึ ง เ ท ป วั ด ใ ห้ ตึ ง แ ล้ ว อ่ า น ค่ า แ ม้ ว่ า จ ะ มี 27-4 การหมายตาแหนง่ ที่ทาการวดั  ควรมี ชอ่ งวา่ งระหว่างเทปวดั กับลาต้นอย่บู า้ งก็ตาม 47

ภาพที่ 27 การวัดข้อมลู ของต้นไม้ท่ีมีพูพอนแบบต่างๆ 1) ต้นไม้ท่ีมีพูพอนในระดับต่า อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี 2) ต้นไม้ท่ีมีพูพอนระดับต่า เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่า อุ้มผาง จังหวัดตาก 3) การใช้บันไดในการวัดข้อมูล เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาสอยดาว จังหวัด จันทบุรี 4) การใช้บันไดในการวัดข้อมูล อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเขียงใหม่ 5) การ ตอกทอยเพ่ือใช้ยืนเพ่ือเก็บข้อมูล ถ้าหลีกเลี่ยงได้ไม่ควรทา และ 6) การหมายตาแหน่งต้นไม้ท่ีมี พูพอนสูงมากๆ เสน้ ประคอื ตาแหน่งทพ่ี น้ พพู อน เส้นทึบคอื ตาแหนง่ ท่ที าการเก็บข้อมูล ในบางกรณี ตาแหน่งท่ีวัด อยู่สูงจากพื้นดินมาก และไม่มีบันไดในการช่วยวัด การปีน ต้นไม้ข้นึ ไปเพือ่ ทาการวัดข้อมูลจะเสี่ยงอนั ตรายและไมป่ ลอดภัย ถ้าหลกี เลี่ยงไม่ได้ อาจใช้วิธีการวัด ขนาดความโตทางอ้อม โดยใช้ Poleเหล็กกล่องติดระดับน้า จานวน 2 ชุด วัดเทียบกับตาแหน่งที่ ต้องการวัด ดังแสดงในภาพที่ 28 ข้อมูลความโตที่ได้จะเป็นข้อมูลอย่างหยาบ มีความคลาดเคลื่อน คอ่ นข้างมาก และไมเ่ หมาะทจี่ ะใช้เปรียบเทียบความเพิม่ พูนของต้นไม้ต้นน้ีในการเก็บข้อมลู ครั้งท่ีสอง 48

ภาพท่ี 28 การวัดขนาด  ทางอ้อม โดยการใช้ Pole เหล็กกล่องติดระดับน้า 1) หมาย ตาแหนง่ ต้นไมท้ ีต่ อ้ งการวัดด้วยสายตา ยืนห่างจากต้นไม้ไม่น้อยกว่าครึ่งหนึ่งของความสูงของต้นไม้ 2) ส่งสัญญาณให้คนแรกนา Pole ขยับเข้าหาตาแหน่งท่ีหมายไว้ 3) เม่ือคนแรกขยับจน Pole ได้ตาแหนง่ ดรู ะดบั น้าให้ Pole ตง้ั ตรง 4) ส่งสญั ญาณให้คนท่ีสอง นา Pole ขยับเข้าหาตาแหน่งอีกด้าน 5) เมือ่ ท้ังค่อู ยู่ในตาแหน่งท่ีหมายไว้เรียบร้อยแลว้ และ 6) ให้คนท่ีสามวัดระยะห่างของปลาย Pole ทั้งสองก็จะไดข้ นาดของ อยา่ งหยาบๆ ต้นไม้ท่ีมีขนาดใหญ่มากๆ การวัด DBH จาเป็นต้องมีผู้ช่วยจับเทปในด้านตรงกันข้าม ไมเ่ ช่นน้ันเทปวัดจะเอยี งหรือตกท้องช้างทาให้ไดข้ นาด DBH ที่มากกว่าความเป็นจริง (ภาพท่ี 29-1) ในกรณีท่ตี ้นไม้มลี าตน้ เป็นรอ่ งลึก เชน่ ไม้ตะแบก เปน็ ต้น (ภาพที่ 29-2) การวัดความโตต้องดึงเทป วัดให้ตึงแล้วอ่านค่าห้ามกดเส้นเทปไล่ไปตามร่องของต้นไม้จะได้ค่าความโตท่ีมากกว่าปกติอย่างมาก นอกจากนต้ี ้นไมบ้ างตน้ ที่ผดิ ปกตมิ ีรอ่ งมหี ลบื การวัดความโตกต็ อ้ งดงึ เทปใหต้ งึ เชน่ เดียวกนั (ภาพที่ 29-3) ในกรณที ต่ี น้ ไม้มีจอมปลวกขนาดเล็กที่หุม้ ลาตน้ การวดั DBH ยังคงใช้หลักเกณฑ์เดิมที่กล่าวมาก่อน หน้านี้ โดยหมายตาแหน่งจากพ้ืนดินไม่ใช่หมายตาแหน่งต่อจากจอมปลวก (ภาพท่ี 29-4) ยกเว้นมี จอมปลวกขนาดใหญ่ และโคนต้นมีพูพอนหรือปุ่มปมก็สามารถเล่ือนตาแหน่งขึ้นได้ (ภาพท่ี 29-5) ในกรณีของไม้ไผ่ที่ข้ึนเป็นกอ จะให้เลขเรียงประจากอ 1 หมายเลข ส่วนลาไผ่ในกอจะให้เลขเรียง เป็น 1 2 3...จนครบทุกลา ให้เขียนด้วยปากกาเคมี ซึ่งสามารถอยู่ได้ประมาณ 2 ปี จึงควรมีการ เขียนเลขซ้าเมื่อมีการตรวจวัดครั้งต่อไป (ภาพท่ี 29-6) ปกติการเจริญเติบโตของไม้ไผ่จะไม่มีความ เพิม่ พนู ดา้ น แตท่ ต่ี อ้ งทาการวัดซ้าในคร้ังที่สองเพ่อื เปน็ การตรวจสอบและปรับแก้ข้อมูลทว่ี ัดคร้งั แรก พร้อมกับวัดข้อมูลลาใหม่เพ่ิมเติม หรือลาที่หลงจากการวัดในครั้งแรก ในการเก็บข้อมูลคร้ังต่อไป อาจไม่ตอ้ งทาการวัดซ้า เพียงแต่นับจานวนลาที่มีชีวิตและลาที่ตายแล้วใช้ขนาด ของครั้งท่ีสองก็ได้ พร้อมกบั วัดขอ้ มลู ลาท่เี กิดใหม่เพมิ่ เติม 49

ภาพท่ี 29 การวัดขนาด ของต้นไม้ในบางมิติ 1) ต้นไม้ท่ีมีขนาดใหญ่การวัดข้อมูลต้องมี คนช่วยปรับเทปวัดให้อยู่ในแนวระดับ 2) ลักษณะลาต้นท่ีมีร่องมีหลืบของไม้ตะแบก 3) การวัด ต้นไม้ที่มีร่องมีหลืบต้องดึงเทปวัดให้ตึงห้ามกดเส้นเทปไปตามร่องหลืบ 4) การหมายตาแหน่งวัด ข้อมูลต้นไม้ท่ีมีลาต้นปกติแต่มีจอมปลวกขนาดเล็กหุ้มลาต้น 5) การเลื่อนตาแหน่งวัดข้อมูล เนอ่ื งจากท่ีโคนต้นมีปุ่มปมและมีจอมปลวกขนาดใหญ่หุ้มบางส่วน และ 6) การวัดข้อมูลไผ่ผากโดย ใหเ้ ลขเรยี งประจากอ 1 หมายเลข และใหห้ มายเลขประจาลาด้วยปากกาเคมหี รอื ใชส้ พี ่น 50

เทคนิคการวัดเถาวัลยท์ ี่มลี ักษณะกลม เถาวัลย์ เป็นพรรณไม้ท่ีมีความ 3.50 kg/ต้น เมื่อเปรียบเทียบกับมวลชีวภาพ หลากหลายค่อนข้างสูง พบกระจายทั่วประเทศ ของต้นไม้ ที่มีขนาด DBH = 4.5 cm ในพื้นที่ป่า ขึ้นปะปนในสังคมพืชประเภทต่างๆ และมี ดิบชื้น ดิบแล้ง เบญจพรรณ และเต็งรัง ของไทย บทบาทสาคญั ในระบบนเิ วศปา่ ไม้ การเก็บข้อมูล จะมีค่าเฉล่ียและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ เถาวัลย์จึงมีความสาคัญ เมื่อศึกษาในมิติของการ 5.04±0.74 4.61±0.53 3.46±0.57 และ เจริญเติบโต และการสะสมคาร์บอนของเถาวัลย์ 3.24±0.40 kg/ต้น ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบ ในระบบนิเวศป่าไม้ จะนิยมเก็บข้อมูลเถาวัลย์ กับมวลชีวภาพของเถาวัลย์ขนาด 2 cm จะมีค่า ประเภทที่มีเนื้อไม้ (Woody Liana) ที่มีขนาด ใกล้เคียง และสูงกว่ามวลชีวภาพต้นไม้ในป่า DBH ≥ 2 cm เช่น การศึกษาสมการแอลโลเมตริก เบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ท่ีมีขนาด 4.5 cm เถาวัลย์ ที่เขตปกครองตนเองสิบสองปันนา เล็กน้อย ขณะที่ประเทศโบลิเวีย คอสตาริกา ประเทศจีน ของ Xiao et al. (2009) พบว่ามวล ปานามา มาเลเซีย และจีน ที่มีการศึกษาด้าน ชีวภาพของเถาวัลย์ที่มี DBH = 2 cm จะมีค่า เถาวัลย์ก็เก็บข้อมูล DBH ≥ 2 cm เช่นเดียวกัน 4.02 kg/ต้น ขณะที่ ชิงชัย และคณะ (2554) ทุกประเทศ (Mascaro et al., 2004 ; DeWalt ศึกษาสมการแอลโลเมตรกิ ของเถาวัลย์ท่ีอุทยาน and Chave, 2004 ; Putz and Chai, 1987 แห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี พบว่า และ Xiao et al., 2009) มวลชวี ภาพของเถาวลั ยท์ ่มี ี DBH = 2 cm จะมคี ่า 51

การวัดข้อมูลเถาวัลย์ จะเก็บข้อมูลที่ วัดข้อมูล DBH เพียงนางเดียว (ภาพที่ 30-4) ตาแหน่ง DBH โดยวัดจากระดับความสูงเหนือ ในกรณีที่เถาวัลย์มีส่วนของลาต้นสูงเกิน 1.30 m พื้นดินที่ตาแหน่ง 1.30 m ดังน้ันเม่ือเถาวัลย์ จากน้ันลาต้นเร่ิมมีการเลื้อยลงต่าหรือลงดินไป เกิดมาและอยู่ใกล้กับต้นไม้ จากนั้นพันข้ึนต้นไม้ ใหท้ าการวดั ขอ้ มลู DBH (ภาพที่ 30-5) ในกรณีท่ี ก็จะวดั ข้อมูล DBH ได้ง่าย (ภาพที่ 30-1) แต่ถ้า ลาต้นของเถาวัลย์ไม่มีส่วนใดอยู่สูงเกิน 1.30 m เถาวลั ย์เกดิ มาและพนั กับต้นไม้ แล้วต่อมาต้นไม้ ไมต่ ้องเกบ็ ขอ้ มูล DBH (ภาพที่ 30-6) การที่เถาวัลย์ เดิมตายหรือผุพังไป และเถาวัลย์จะเอนออกไป มลี กั ษณะเลอื้ ยขน้ึ ลงดังกล่าว ในบางกรณีพบว่ามี พันกับต้นไม้อ่ืนก็ทาการวัด DBH เช่นเดียวกัน การแตกนางออกเป็นหลายนาง บางนางก็พันขึ้น (ภาพท่ี 30-2) จะไม่ทาการวัดจากตาแหน่งที่ ต้นไม้ ดังนั้นการเก็บข้อมูล DBH ของเถาวัลย์ งอกแล้วเล้ือยไปตามพ้ืนดินซ่ึงบางครั้งมีความ ต้องมีความระมัดระวัง ในการวัดซ้า หรือนับซ้า ยาวไปตามพ้ืนดินกว่า 5 m แล้วจึงพันขึ้นต้นไม้ (Double Count) ของลาต้นเดียวกัน จึงจาเป็น ดังแสดงในภาพท่ี 30-3 ซ่ึงตาแหน่งท่ีวัด DBH ต้องตรวจสอบลาต้นของเถาวัลย์ที่วัด DBH ให้ ของเถาวัลยน์ ีจ้ ะตั้งตรงกับพ้ืนดิน ซ่ึงจะแตกต่าง รอบคอบ เช่น ในกรณีของภาพที่ 30-5 เม่ือทา จากการวัด DBH ของต้นไม้ท่ีมีลักษณะเอนท่ี การวัด DBH แล้ว พบว่ามีนางที่โค้งงอลงดิน แสดงในภาพที่ 25-6 ท่ีจะวดั DBH ไปตามลาต้น จากน้นั มีการแตกนางเพิ่มเติม โดยมีบางนางเล้ือย ที่เอนออกไป ส่วนในกรณีของเถาวัลย์แตกเป็น พันต้นไมเ้ ลยตาแหนง่ 1.30 m ขึ้นไป แบบนจี้ ะไม่ ง่าม 2 นาง ให้วัดท่ีตาแหน่ง DBH ท้ัง 2 นาง เก็บข้อมูล DBH เพราะจะเป็นการวัดซ้า จาก เหมือนกับการวัดต้นไม้ 2 นาง ยกเว้นมีอีกนาง ประสบการณ์พบว่าถ้าไม่ระมัดระวังการวัดซ้า เลือ้ ยลงพื้นดนิ มีความสูงไม่ถึง 1.30 m จะทาการ ในเถาวัลย์ต้นเดยี วกนั อาจจะวดั ซ้า 3-4 ครง้ั ก็ได้ 52

ภาพที่ 30 แสดงการเก็บข้อมูล DBH ของเถาวัลย์ 1) การวัด DBH ของเถาวัลย์ที่เกิดอยู่ ใกล้แล้วพันขึ้นต้นไม้จะวัดข้อมูล DBH ได้ง่าย 2) เถาวัลย์ที่เกิดอยู่ห่างแล้วพันขึ้นต้นไม้จะวัด DBH ที่ระดับ 1.30 m แรกท่ีพบ 3) เถาวัลย์ท่ีเลื้อยไปตามพื้นดินบางครั้งห่างจากจุดกาเนิดมากกว่า 4-5 m 4) เถาวัลยท์ ่มี หี ลายนางจะวดั DBH นางทส่ี ูงกว่า 1.30 m แลว้ พนั ขึ้นต้นไม้ 5) เถาวัลย์ท่ีมี ลาต้นบางส่วนสูงกว่า 1.30 m แล้วโค้งเล้ือยลงดิน จะทาการวัด DBH และ 6) เถาวัลย์ขนาดใหญ่ ไมม่ ีลาต้นส่วนใดสูงเกนิ 1.30 m ไม่ตอ้ งทาการวัด DBH เทคนิคการวัดเถาวลั ยท์ ี่มีลกั ษณะแบน เถาวัลย์ส่วนมากจะมีลักษณะลาต้นกลม เมื่อข้ึนพันโอบต้นไม้อย่างหลวมๆ การวัดขนาด DBH จะทาได้ง่ายโดยใช้เทปวัด แต่มีเถาวัลย์บางชนิดมีลักษณะแบน เช่น เครือเขาน้า กระไดลิง และแสลงพนั เถา เปน็ ตน้ ดังแสดงในภาพที่ 31 เถาวลั ย์ทม่ี ีลักษณะแบนแบบนีไ้ มค่ วรวัดขนาด DBH ด้วยเทป เพราะจะมีข้อผิดพลาดได้เนื่องจากลักษณะของมิติของลาต้นมีความแตกต่างกันระหว่าง แบบกลมและแบบแบน 53

ภาพที่ 31 เถาวัลย์บางชนิดท่ีมีลักษณะแบน การใช้เทปวัดเพ่ือเก็บข้อมูล DBH จะไม่เหมาะสม 1) เครือเขานา้ 2) กระไดลิง และ 3) แสลงพันเถา การเกบ็ ขอ้ มูลทางด้านขนาด  ต้นไมแ้ ละเถาวลั ย์ นอกจากมิติของ DBH แล้ว จะมีมิติของ พ้ืนที่หน้าตัด (Basal Area, BA) ท่ีคานวณมาจาก DBH ของต้นไม้และเถาวัลย์ทุกต้นในแปลงตัวอย่าง แลว้ นามารวมกัน โดยมีหน่วยเป็น m2/ไร่ หรือ m2/ha ในกรณีของเถาวัลย์ท่ีมีรูปแบบแบน การใช้ เทปวัดจะได้ข้อมูล DBH ที่ไม่เหมาะสมเมื่อนามาคานวณเป็น BA เช่น การวัดเถาวัลย์แบนโดยใช้ Diameter Tape อ่านคา่ ได้ 3.75 cm (ภาพท่ี 32-1) เมื่อนามาคานวณเป็นพนื้ ท่ีหน้าตัด โดยใช้สูตร BA =  (DBH2/4) พบว่ามีค่า BA เท่ากับ 11.045 cm2 เมื่อใช้ Vernier Caliper วัดความกว้างได้ 5.0 cm (ภาพท่ี 32-2) และความหนา 1.4 cm (ภาพที่ 32-3) เม่ือนามาคานวณเป็นพ้ืนท่ีหน้าตัด โดยใช้สูตร BA = กว้าง X หนา จะพบว่ามีค่า BA เท่ากับ 7.000 cm2 ซึ่งเป็นค่าท่ีถูกต้อง ขณะที่ วัดด้วยเทปจะมีคา่ มากกวา่ ถงึ 4.045 cm2 แต่เม่ือใช้ค่าเฉลี่ยของความกว้างและหนาท่ีมีค่าเฉลี่ย 3.2 cm เม่อื นามาคานวณเป็น BA จะมคี ่า 8.042 cm2 ซึง่ คา่ ทีไ่ ดน้ ี้จะมีคา่ ใกลเ้ คียงกว่าการใช้เทปวัด ดังนั้น การวัด DBH ด้วยเทปวัดไม่ว่าจะเป็น Diameter Tape หรือเทปวัดระยะ จะเหมาะสมสาหรับ ต้นไม้และเถาวัลย์ที่ลาต้นมีลักษณะกลมเท่าน้ัน ถ้ามีลักษณะ “แบน หรือ วงรี” ควรใช้ Vernier Caliper วัด 2 ดา้ นตั้งฉากกันแล้วหาคา่ เฉล่ียใช้เปน็ ค่า DBH จะได้ค่าท่ีถกู ตอ้ งมากกวา่ ภาพที่ 32 การวัดเถาวัลย์ท่ีมีลักษณะแบนด้วย Diameter Tape เปรียบเทียบกับ Vernier Caliper 1) Diameter Tape มคี า่ 3.75 cm 2) Vernier Caliper ด้านกวา้ ง มีค่า 5.0 cm และ 3) ด้านหนา มคี า่ 1.4 cm 54

กรณีที่เถาวัลย์ข้ึนโอบรัดลาต้นของต้นไม้อย่างแนบแน่น ไม่สามารถงัดเถาวัลย์เพื่อสอด เทปวดั DBH ไดท้ งั้ ตน้ ไม้และเถาวลั ย์ ดงั แสดงในภาพที่ 33-1 จาเป็นต้องใช้ Vernier Caliper หรือ Caliper เพ่ือวดั ขนาด DBH ของต้นไม้และเถาวัลย์ ในการวัด DBH ของต้นไม้ จะหาตาแหน่งลาต้น ที่ด้านตรงข้ามกันไม่พบเถาวัลย์แล้วทาการอ่านค่า ดังแสดงในภาพที่ 33-2 แต่ถ้าไม่สามารถหา ตาแหน่งดังกล่าวได้ จาเปน็ ต้องวดั DBH รวมกับเถาวัลย์ โดยเลือกเถาวัลย์ที่จะวัดรวมให้มีลักษณะ คอ่ นขา้ งกลม และให้ขาของ Vernier Caliper อีกด้านติดกับลาต้นของต้นไม้ ดังแสดงในภาพที่ 33-3 แล้วอ่านค่าในที่นี้อ่านได้ 14 cm จากนั้นวัด DBH ของเถาวัลย์เพ่ือนาค่าไปหักออกจาก DBH ที่วัด รวมกบั เถาวลั ย์ ในที่น้เี ถาวลั ย์วัดได้ 2 cm ดงั น้นั DBH ของตน้ ไมจ้ ะมีคา่ 12 cm ภาพที่ 33 แสดงการพันของเถาวัลย์และวิธีวัด DBH ของต้นไม้และเถาวัลย์ 1) ต้นไม้ที่ ถูกเถาวัลย์พันแน่น ไม่สามารถสอดเทปวัด DBH ได้ 2) ภาพตัดขวางของต้นไม้และเถาวัลย์ที่ใช้ Vernier Caliper วัด DBH ของต้นไม้ และ 3) ภาพตัดขวางของต้นไม้และเถาวัลย์ที่ใช้ Vernier Caliper วดั DBH ของตน้ ไม้รวมกับ DBH ของเถาวลั ย์ ในการวัดเถาวัลยท์ ีพ่ ันกับตน้ ไมแ้ น่น ถา้ เถาวัลย์ที่พันนั้นมีลักษณะลาต้นกลมก็สามารถใช้ Vernier Caliper วัด DBH เพียงค่าเดียว ดังแสดงในภาพที่ 34-1 ในกรณีท่ีเถาวัลย์มีลักษณะเป็น วงรี (ภาพท่ี 34-2) หรือแบน (ภาพท่ี 34-3) จะวัดด้านยาวด้วย Vernier Caliper ส่วนด้านหนาจะ วดั โดยใชไ้ ม้บรรทัดที่มีหน่วยเป็น cm วดั ทาบด้านขอบนอกของเถาวัลย์ให้ตั้งฉาก แล้วนาไม้บรรทัด อีกอนั ทาบตามเสน้ ประให้ตั้งฉากกับไม้บรรทัดอันแรกจึงอ่านค่า นาค่าด้านกว้างและหนาท่ีวัดได้มา เฉลย่ี เปน็ คา่ DBH ของเถาวัลย์ 55

ภาพที่ 34 ภาพตัดขวางการวัดเถาวัลย์ที่พันแน่นกับต้นไม้ 1) เถาวัลย์กลม 2) เถาวัลย์ วงรี และ 3) เถาวลั ยแ์ บน เทคนิคการวัดขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของต้นไทร ในมิติของ BA ที่คานวณจากต้นไม้ท่ีมีลักษณะกลม และเถาวัลย์ที่มีลักษณะแบน ตามท่ีกล่าวมาแล้ว ยังมีการคานวณ BA ในมิติของ Quadratic (BAQ) อีกรูปแบบหนึ่ง โดยคานวณ จากคา่ DBH ของต้นไม้ เช่น ในกรณีต้นไม้สองนาง หรือสามนาง จะทาการวัด DBH ทุกต้น โดยให้ ถือว่า 1 นาง เป็น 1 ต้น (ภาพที่ 35-1) แต่ในงานวิจัยบางด้านอาจใช้หลักการของ Quadratic มาคานวณเปน็ ค่า DBH เพยี งคา่ เดยี วของตน้ ไมน้ ้ัน โดยคานวณจาก รากที่สองของผลรวมของ DBH ยกกาลังสอง ของทกุ นาง ซ่ึงมรี ูปแบบคานวณใน Excel ดังน้ี DBHQ = sqrt (DBH12 + DBH22 + …) ตัวอย่าง เช่น ต้นไม้ที่มีลักษณะ 4 นาง กาหนดให้เป็น A B C และ D โดย DBH มีค่า 20 15 10 และ 5 cm ตามลาดบั ดังแสดงในภาพท่ี 35-2 เมื่อคานวณเป็น BA จะได้ค่า 314.159 176.715 78.540 และ 19.635 cm2 ตามลาดับ และผลรวมของ BA ทั้งหมดมีค่า 589.049 cm2 เมอื่ นาคา่ DBH ดงั กลา่ วมาคานวณแบบ Quadratic ค่า DBHQ ท่ีได้คือ 27.38613 cm เม่ือนาค่านี้ ไปคานวณหาคา่ BAQ ได้คา่ 589.049 cm2 ซ่ึงเทา่ กบั ผลรวมของ BA ทัง้ 4 นาง ภาพที่ 35 การคานวณค่า Quadratic จาก DBH ของต้นไม้ท่ีมีหลายนาง 1) ต้นไม้สอง นางซ่ึงปกติจะวัด DBHทั้งสองนางโดยถือว่าเป็นต้นไม้สองต้น และ 2) ตัวอย่างการคานวณ DBH จานวน 4 นาง แบบ Quadratic พบว่าค่า DBHQ ท่ีได้เม่ือนาไปคานวณหา BAQ จะได้ค่าเท่ากับ ผลรวมของ BA ทกุ นาง 56

วิธีการคานวณแบบ Quadratic นี้ (ภาพที่ 36-3) ส่วนด้านหนาจะใช้ไม้บรรทัดวัด สามารถนามาประยุกต์ใช้กับการเก็บข้อมูล เช่นเดียวกับการวัดความหนาของเถาวัลย์ จาพวกต้นไทรได้ค่อนขา้ งดี เนอ่ื งจาก ต้นไทรจะ แล้วนาค่ามาเฉลี่ยเป็นค่า DBH ของลาต้นน้ัน มีลาตน้ แตกแขนงโอบรัดกับต้นไม้ใหญ่ไว้จานวน (ภาพท่ี 36-4) เน่ืองจากต้นไทรอาจมีท้ังสอง มาก การวัด DBH ของต้นไม้ท่ีมีไทรโอบรัดอยู่ รูปแบบการเก็บขอ้ มูล DBH จึงต้องลงหมายเหตุ จะดาเนินการเช่นเดียวกันกับการโอบรัดของ ให้ชัดเจนว่าแต่ละลาต้นเก็บข้อมูลแบบใด เพ่ือ เถาวัลย์ ดังท่ีกล่าวมาแล้ว ส่วนการวัด DBH ใช้ในการติดตามข้อมูลในคร้ังต่อไป ในกรณีที่ ของไทร จาเป็นต้องคานวณค่าเป็น DBHQ ต้นไทรมีลักษณะลาต้นท่ีเด่นชัดและอยู่ไม่สูง ท่ีได้จากค่า DBH ทุกอัน ดังแสดงในภาพท่ี 36-1 มากนัก ดังแสดงในภาพที่ 36-5 และ 36-6 ในกรณขี องต้นไทรท่ีพันโอบลาต้นมีลักษณะกลม สามารถใช้บันไดช่วยในการเก็บข้อมูล แต่ถ้า สามารถใช้เทปวัด หรือ Vernier Caliper ได้ตาม ต้นไทรอยู่สงู มากๆ การปนี ขนึ้ ไปวดั จะไม่สะดวก ความเหมาะสม ส่วนลาต้นที่มีลักษณะแบน ไม่ปลอดภัย ก็สามารถใช้เทคนิคการวัด DBH (ภาพที่ 36-2) จะวัดด้านกวา้ งด้วย Vernier Caliper ทางอ้อม ดังที่กลา่ วมาแล้ว ในภาพท่ี 28 ภาพที่ 36 การวัด DBH ของต้นไทร 1) ต้นไทรท่ีลาต้นโอบรัดมีลักษณะกลม 2) ต้นไทร ท่ีลาต้นโอบรัดมีลักษณะแบน 3) การใช้ Vernier Caliper วัดส่วนท่ีเป็นด้านกว้าง 4) การใช้ ไม้บรรทัดวัดในส่วนที่เป็นด้านหนา 5) ต้นไทรท่ีเห็นลาต้นที่เด่นชัดและอยู่ไม่สูงจากพื้นดิน และ 6) การวัดขนาดความโตของต้นไทรทอ่ี ยู่สงู จากพื้นดินไมม่ ากนกั 57

การวดั ความสงู ต้นไม้ เธลสี แห่งมิเลทัส (Thales of Miletus) เป็นชาวกรีกโบราณ มีชีวิตอยู่ในช่วงประมาณ 626/623–548/545 ปีก่อนคริสต์ศักราช (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2563 ง.) เกิดก่อน พีทาโกรัส ประมาณ 56 ปี เป็นบุคคลแรกที่สามารถวัดความสูงของพีระมิดคีออปส์ ในประเทศอียิปต์ ที่สร้าง ข้ึนเมื่อประมาณ 2,600 ปีก่อนคริสตกาล (ภาพที่ 37-1) โดยใช้หลักการวัดระยะของเงาท่ีเกิดจาก แสงอาทติ ย์ทส่ี ่องมายงั วัตถุในวนั และชว่ งเวลาเดยี วกนั (ดังแสดงในภาพท่ี 32-2) เมื่อกาหนดให้ A = ความสงู ของ Pole ยาว 1.63 m B = เงาของ Pole ยาว 2.00 m C = ความยาวของฐานพีระมดิ 230 m D = เงาของพรี ะมิด ยาว 65 m E = ความสูงของพรี ะมดิ ภาพที่ 37 การวดั ความสูงของพรี ะมิดคีออปส์ในประเทศอียิปต์ โดยใช้หลักการวัดระยะ ของเงาที่เกิดจากแสงอาทิตย์ท่ีส่องมายังวัตถุในวันและช่วงเวลาเดียวกัน 1) พีระมิดคีออปส์ใน ประเทศอียิปต์ และ 2) การวดั ความสูงของพีระมดิ (ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/เธลสี ) เธลีส ได้ทาการปัก Pole (A) บนพ้ืนดิน วัดความสูงของ Pole ได้ 1.63 m เม่ือวัดฐาน ของพีระมิดคีออปส์ที่เป็นส่ีเหลี่ยมจัตุรัสได้ความยาวด้านละ 230 m (C) ปลายยอดของพีระมิดจะ อยู่ระหว่างกึ่งกลางของความยาวฐานจึงมีระยะ 115 m เม่ือทาการวัดความยาวของเงาในวันและ ช่วงเวลาเดียวกันพบว่า เงาของ Pole (B) มีความยาว 2.00 m และเงาของพีระมิด (D) มีความยาว 65 m เมือ่ นามาคานวณเพอื่ หาความสงู ของพรี ะมดิ ดังน้ี E = ((D + (C/2)) * A)/B = ((65+115)*1.63)/2 = 146.70 m จากการคานวณดังกล่าวพบว่า พีระมิดคีออปส์ มีความสูง 146.70 m หลักการวัดระยะ เงาของ เธลีส จึงเป็นท่ียอมรับและยกย่องในหมู่นักปราชญ์ในสมัยน้ัน และมีการบันทึกไว้เป็น หลกั ฐานมาจนถึงทุกวันน้ี ถือได้ว่าเป็นบิดาแห่งการวัดความสูงของวัตถุคนแรกของโลก เท่าท่ีมีการ บันทกึ มาในประวตั ิศาสตร์ 58

เครอ่ื งมอื ที่ใชว้ ดั ความสูงต้นไม้ การวัดความสูง ของต้นไม้ จะดาเนินการได้ยุ่งยากกว่าการวัดข้อมูล DBH เพราะต้องมี อุปกรณ์เครื่องมือเพื่อช่วยในการเก็บข้อมูล และต้องมีความรู้ความชานาญในการใช้เครื่องมือ เพ่ือให้ได้ข้อมูลความสูงที่ถูกต้อง อุปกรณ์ที่ใช้วัดความสูง จะเรียกว่า Hypsometer โดย Collins Dictionary ให้ความหมายไว้ว่า “Hypsometer = any instrument used to calculate the heights of trees by triangulation” คืออุปกรณ์เครื่องมือท่ีใช้วัดความสูงของต้นไม้โดยใช้ หลักการคานวณความสัมพันธ์ระหว่างความยาวและมุมของรูปสามเหลี่ยม หรือหลักการของ ตรโี กณมิติ ตัวอย่างของอปุ กรณเ์ ครอ่ื งมือทใี่ ช้วดั ความสูงของตน้ ไม้ แสดงในภาพท่ี 38 ภาพท่ี 38 ตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้วัดความสูงของต้นไม้ 1) Measuring Pole 2) HAGA Altimeter 3) SPIEGEL Relascope 4) SUUNTO Clinometer 5) เคร่ืองวัดมุมเอียง อย่างง่าย 6) BLUME-LEISS Altimeter 7) VERTEX FORESTOR 8) VERTEX IV และ 9) VERTEX 5 VL อุปกรณ์หมายเลข 1 คือ Measuring Pole หรือโพลวัดความสูง จะทาด้วยท่อพลาสติก หรือท่ออะลูมิเนียม จานวนหลายๆ ท่อน สวมต่อซ้อนกันโดยให้มีขนาด Ø ลดหลั่นกันไป แต่ละท่อน จะถกู ตรึงด้วยขอ้ ตอ่ เพื่อไม่ให้ลื่นหลุดลงมา เม่ือทาการวัดความสูงจะนา Pole ไปวางไว้บริเวณโคน ต้นไม้ท่ีจะวัดแล้วค่อยๆ ชัก Pole ข้ึนให้สุดแต่ละท่อนเร่ิมจากท่อนบนสุดก่อน แล้วไล่ลงมาท่ีละ ท่อน จนปลาย Pole ที่ชกั อยสู่ ูงเสมอกับยอดไม้ จึงอ่านค่าท่ี Pole ซึ่งอุปกรณ์น้ีสามารถใช้วัดความ สูงต้นไม้ได้ถึง 12-15 m (ภาพท่ี 39) สูงกว่านั้นไม่แนะนาเพราะ Pole จะเอนไปมาและโค้งงอ 59

ทาให้วัดความสูงผิดได้ อุปกรณ์แบบน้ีไม่มีขายในประเทศไทยต้องส่ังซื้อจากต่างประเทศ ราคา คอ่ นข้างแพง เมื่อใชไ้ ปประมาณ 4-5 ปี พลาสติกที่ทาเป็นข้อต่อจะเสื่อมสภาพอาจต้องใช้คลิปหนีบ สีดาขนาดต่างๆ เพ่ือหนบี ทอ่ น Pole ไมใ่ หต้ กลงมา แต่สามารถทาใช้เองได้จากท่อ PVC ตามแบบ ของ สนั ติ (2542) ท่ที าการประดิษฐไ์ ม้วดั ความสงู ระดับความสงู ไม่เกนิ 7 m จากทอ่ PVC ภาพที่ 39 การวัดความสูงของต้นไม้โดยใช้ Measuring Pole เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ได้ดีกับ ต้นไม้ทม่ี ีความสูงไม่เกนิ 15 m อุปกรณ์หมายเลข 2 3 4 และ 5 จะเป็นอุปกรณ์วัดความสูงที่ต้องใช้เทปวัดระยะ เพื่อวัดระยะห่างระหว่างต้นไม้กับผู้ทาการวัด โดยอุปกรณ์หมายเลข 2 3 และ 4 จะกาหนด ระยะหา่ งจากต้นไม้เป็นเส้นตรงท่ีเป็นแนวระดับ ในระยะ 15 20 30 และ 40 m แล้วใช้ เคร่ืองมือเล็งไปยังโคนและปลายยอดของต้นไม้ นาค่าที่ได้ทั้ง 2 ค่ามารวมกันเป็นความสูงของ ต้นไม้ (ในกรณีที่เป็นพื้นราบ) ส่วนอุปกรณ์ หมายเลข 5 เป็นเครื่องมือวัดมุมเอียงอย่างง่าย สามารถวัดระยะห่างเท่าไรก็ได้แล้วจดบันทึกไว้ จากน้ันอ่านค่ามุมของโคนและปลายยอดเป็น องศาแล้วนาค่ามุมและระยะท่ีได้ไปคานวณ เช่นเดียวกันกับการคานวณระดับความสูงของ พื้นที่ ข้อควรระวังในพ้ืนท่ีราบมุมองศาที่ได้ตรง โคนจะตรงข้ามกบั มุมองศาของยอดไม้ 60

การวดั ระยะห่างระหวา่ งต้นไม้กบั ผู้วัด ให้เป็นแนวเส้นตรงในพ้ืนที่ป่าค่อนข้างยุ่งยากและ ใชเ้ วลามาก เพราะเทปวัดระยะจะถูกค้าโดยต้นไม้อ่ืน โดยเฉพาะเม่ือมีการเปลี่ยนตาแหน่งของผู้วัด เนื่องจากตาแหน่งเดิมมองยอดต้นไม้ไม่ชัดเจน ทาให้ต้องเดินย้อนกลับไปมาเพื่อปรับแนวเทป จาก ปัญหาของการวดั ระยะดังกล่าว ต่อมาจงึ มีการพัฒนาเครอื่ งมอื วดั ความสงู ทสี่ ามารถหาระยะทางได้ ดว้ ยหลักการซ้อนทบั ของปริซึม แสดงในอุปกรณ์หมายเลข 6 จะใช้เป้าดา-ขาว ท่ีพับอยู่ปรับให้เป็น เส้นตรงซงึ่ จะมีความยาว 1.52 m และกว้าง 6.1 cm ให้คนนาเป้าไปทาบกับลาต้นต้นไม้ให้ห้อยลง เป็นแนวด่ิง เปา้ นจี้ ะมแี ถบขาวเปน็ ระยะ ผ้วู ัดความสงู จะเลง็ ในชอ่ งปริซึมด้านข้างของเคร่ืองมือที่อยู่ ด้านเดียวกับสเกลอ่านค่าความสูง พร้อมกับให้เดินเข้าหาหรือออกจากเป้าที่ทาบกับลาต้น จนเห็น ว่าแถบขาวของเปา้ ซ้อนทับกันสนทิ ก็จะไดร้ ะยะทางตามทร่ี ะบุวดั ในแถบสีขาว ซ่ึงในด้านเดียวกันจะ วัดระยะทางได้ 15 และ 30 m ตามลาดับ เม่ือนาเป้ากลับหัวเป็นท้ายพร้อมกับกลับด้าน จะวัด ระยะได้ 20 และ 40 m ตามลาดับ เมื่อได้ระยะห่างจากต้นไม้แล้วจะทาการวัดโคนและยอดต้นไม้ เช่นเดียวกับอุปกรณ์หมายเลข 2 ถึง 5 แต่มีเข็มท่ีล็อคอ่านค่าของโคนและยอดต้นไม้ได้ สเกลของ เคร่อื งแปลงเปน็ คา่ ความสูงเรยี บร้อยแล้ว ส่วนอุปกรณ์หมายเลข 7 8 และ 9 เป็นเครื่องมือในกลุ่ม Vertex ของบริษัท Haglöf Sweden AB เป็นผู้ผลิต เป็นอุปกรณ์ที่มีราคาแพง เป็นระบบ Digital ที่มีความแม่นยาสูง ซ่ึงนักการป่าไม้ทั่วโลกนิยมใช้กัน อุปกรณ์หมายเลข 7 และ 8 เป็นรุ่นที่หาระยะทางโดยระบบ Ultrasound ระหว่างเปา้ กับเคร่อื งวัด ไม่จาเปน็ ต้องใช้ระยะทางตายตัวเหมือนอุปกรณ์หมายเลข 2 3 4 และ 6 ท่ีต้องกาหนดระยะท่ี 15 20 30 และ 40 m เป็นต้น ในการวัดระยะด้วยระบบ Ultrasound ของเคร่ือง Vertex เป็นระบบที่ดีแม้ว่าจะมีคนหรือต้นไม้กีดขวางระหว่างผู้วัดกับคน ถือเป้า จะไม่ส่งผลต่อความคลาดเคล่ือนของระยะทางแต่อย่างไร เม่ือทาการวัดจะให้คนนาเป้าไป แนบกบั ลาต้นท่ีตาแหน่ง DBH หันเป้ามายังผู้วัด ผู้ทาการวัดจะเล็งกล้องส่องไปยังเป้าแล้วทาการ กดปุ่มวัดเพื่อให้เครื่องคานวณระยะทาง จากน้ันเล็งยอดต้นไม้และกดปุ่มอีกครั้ง ค่าที่ได้จะเป็น ความสูงของต้นไม้ ไม่ต้องวัดโคนต้นเนื่องจากเคร่ืองมือได้ทาการบวกความสูงท่ีตาแหน่ง DBH เป็นที่เรียบร้อยแล้ว และการส่องยอดของต้นไม้จะใช้ค่าของมุมนามาคานวณกับระยะทางแล้ว แสดงผลลัพธ์เป็นความสูง ดังน้ันเม่ือมีกิ่งไม้หรือใบไม้ขวางแนวการส่องยอดจะไม่มีผลต่อการวัด ความสูงแตอ่ ยา่ งไร โดยอปุ กรณ์หมายเลข 7 น้ีเป็น Vertex รุ่น Forestor เป็นรุ่นแรกที่ผ่านการใช้ งานมากว่า 15 ปี จนถึงปัจจุบัน และรุ่นนี้ได้เลิกการผลิตไปแล้ว ส่วนอุปกรณ์หมายเลข 8 เป็น Vertex IV ยังพอมีขายอยู่ ส่วนอุปกรณ์หมายเลข 9 เป็น Vertex 5 VL เป็นรุ่นที่มีระบบ Ultrasound และเพิ่มเติมด้วยระบบ Laser สาหรับวัดระยะทางได้ไกลถึง 700 m ส่วนระบบ Ultrasound วัดระยะทางได้เพยี ง 30 m 61

ในการวัดความสูงของต้นไมด้ ว้ ยระบบ Laser ไม่ขอแนะนา เพราะหลักการใช้ Laser เปน็ การ สะท้อนกลับของแสง Laser ที่ยิงไปยงั ต้นไม้แล้วสะท้อนกลับมายังเคร่ืองมือ เพื่อคานวณระยะทาง หรอื ความสงู ด้วยคนเพียงคนเดียว โดยไม่ต้องมีคนถือเป้าตรงต้นไม้ท่ีทาการวัด ระบบนี้จะใช้ได้ดีก็ ต่อเมื่อเป็นพ้ืนท่ีโล่งเตียนเท่าน้ัน เมื่อนามาใช้ในพื้นท่ีป่าจะทาให้ได้ค่าที่ไม่ถูกต้อง เนื่องจากจะมี ต้นไม้ ก่ิงไม้ ใบไม้ จานวนมากบดบังแนวเม่ือทาการยิง Laser ทาให้ค่าท่ีได้ส่วนมากไม่ถูกต้องตาม ความเป็นจรงิ ระบบ Laser น้ี จะใชใ้ นเครือ่ งเมือแบบ Laser Rangefinder เชน่ Nikon Forestry Pro II เป็นต้น รวมถึงมี Vertex ของ Haglöf บางรุ่นจะมีแต่ระบบ Laser Rangefinder เพียงแบบเดียว ดังนั้นเม่ือสั่งซื้อเครื่องมือวัดความสูงต้นไม้ดังกล่าว ต้องตรวจสอบคุณสมบัติของเคร่ืองมือให้ดี เพราะราคาจะแตกต่างกันมาก ส่วนเทคนิคการวัดความสูงของต้นไม้ในคู่มือนี้ จะใช้เคร่ือง Vertex ในระบบ Ultrasound เปน็ ตน้ แบบของการดาเนินงาน มดี งั นี้ การวัดความสูงของต้นไม้ในพ้ืนที่ราบ ให้ผู้วัดหาตาแหน่งที่สามารถมองเห็นยอดของ ต้นไม้อย่างชัดเจน และควรมีระยะห่างจากต้นไม้ไม่น้อยกว่าครึ่งหน่ึงของความสูงต้นไม้น้ัน การยืน อย่ใู กล้ต้นไม้เกินไป ดงั แสดงในภาพท่ี 40-1 จะทาใหเ้ ห็นยอดไม่ชัดเจนการวัดความสูงอาจเข้าใจผิด ว่าตาแหน่งของขอบเรือนยอดเป็นส่วนยอดของต้นไม้ ทาให้ได้ค่าความสูงท่ีคลาดเคล่ือน ดังแสดงใน ภาพท่ี 40-2 แต่เม่ือเดินถอยห่างออกไปให้มีระยะห่างเพิ่มข้ึนไม่น้อยกว่าคร่ึงหน่ึงของความสูงต้นไม้ ทาให้เห็นปลายยอดของต้นไม้ชัดเจนขึ้น ทาให้ได้ค่าความสูงที่ถูกต้อง (ภาพที่ 40-3) เม่ือมีการย้าย ตาแหน่งของการวัด ต้องทาการส่องไปที่เป้าก่อนเสมอ ในกรณีที่ลักษณะพ้ืนท่ีถูกบังคับเป็น หุบห้วย หบุ เหว ไมส่ ามารถหลกี เลี่ยงได้ จาเป็นตอ้ งใช้ระยะทางทส่ี น้ั เหมอื นกับ ภาพท่ี 40-1 การวัดความสูง อาจจาเป็นต้องเล็งผ่านทรงพุ่มของต้นไม้เพ่ือประมาณจุดสูงสุดของต้นไม้ ดังแสดงในภาพที่ 40-4 ซึ่งอาจมีข้อผิดพลาดทั้งค่าท่ีมากกว่าหรือน้อยกว่าได้ ถ้าเป็นไปได้ควรทาการย้ายจุดเพ่ือวัดใหม่ ในพืน้ ที่ทม่ี คี วามลาดชันสงู มาก ดงั แสดงในภาพ 40-5 และ 40-6 ตาแหน่งของผู้วัดสามารถเลือกได้ ว่าจะอยู่ด้านบนหรือด้านล่างของต้นไม้ โดยท่ีต้นไม้ต้องต้ังตรงและตาแหน่งที่ยืนสามารถมองเห็น ยอดต้นไมช้ ดั เจน ความสูงทไี่ ดจ้ งึ จะมีความคลาดเคล่อื นนอ้ ย 62

ภาพท่ี 40 การวัดความสูงตน้ ไม้ดว้ ยเครอื่ ง Vertex 1) การเลง็ เป้าทีร่ ะยะห่างจากต้นไม้ นอ้ ยกวา่ ครง่ึ หน่ึงของความสงู ของตน้ ไม้ 2) ตาแหน่งที่วัดความสูงที่มีระยะห่างจากต้นไม้น้อยจะทา ให้การเล็งยอดไมช่ ัดเจนทาใหค้ วามสูงมคี ่าคลาดเคล่ือนจากความเป็นจริง 3) เม่ือเพ่ิมระยะห่างจาก ต้นไม้มากข้ึนจะทาให้การเล็งยอดง่ายและได้ค่าความสูงที่ถูกต้องมากกว่า 4) ในกรณีท่ีไม่สามารถ เพ่มิ ระยะห่างได้เนื่องจากสภาพของพื้นท่ีที่เป็นหุบห้วยไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ จาเป็นต้องเล็งความสูง ตน้ ไมผ้ ่านทรงพ่มุ ทาใหไ้ ด้ค่าความสูงคลาดเคลอื่ นจากความเป็นจรงิ มากหรือน้อยกว่าปกติ 5) พ้ืนท่ี ที่มีความลาดชันสูงตน้ ไมอ้ ยูด่ ้านล่างตาแหนง่ ผวู้ ัดอยู่ด้านบน และ 6) พ้ืนท่ีท่ีมีความลาดชันสูงต้นไม้ อยู่ดา้ นบนตาแหนง่ ผวู้ ดั อยดู่ า้ นลา่ ง 63

ในพื้นที่ราบแต่ต้นไม้มีลักษณะเอียง ต้องใช้ความระมัดระวังในการวัดความสูงอย่างย่ิง เพราะจะมีความคลาดเคล่ือนในการวัดความสูงมาก ถ้าแนวการวัดต้นไม้ได้เอนออกไปจากตัวผู้วัด จะพบวา่ ค่าความสูงท่ีได้จะน้อยกว่าค่าความสูงจริงถึงแม้ว่าผู้วัดจะเห็นเรือนยอดชัดเจน เพราะการ คานวณค่าความสูงจะอ้างอิงจากระยะของเป้าและมุมเงยท่ีส่องไปยังยอดต้นไม้ (ภาพที่ 41-1) เม่ือลากเส้นตั้งฉากจากเป้าไปยังแขนของมุมเงยจะพบว่ามีระยะส้ันกว่าจึงได้ค่าความสูงนัอยกว่า ความเปน็ จรงิ และจะตรงขา้ มกบั ต้นไมท้ ่ีเอนเข้าหาผู้วัดจะทาให้ได้มุมเงยท่ีกว้างมากกว่าปกติ ความสูง ท่ีได้จึงมีค่ามากกว่าความเป็นจริง (ภาพท่ี 41-2) ดังน้ันการวัดความสูงของต้นไม้เอนควรอยู่ใน ตาแหน่งท่ีเห็นต้นไม้เอนไปด้านซ้ายหรือขวา (ภาพที่ 41-3 และ 41-4) จะได้ข้อมูลความสูงที่ คลาดเคลื่อนน้อยกว่าและเหมาะสมที่สุด ส่วนในกรณีต้นไม้ที่มีลักษณะเอียง และขึ้นในพ้ืนที่ที่มี ความลาดชันสูง ให้หาตาแหน่งวัดความสูงตามแนวเส้นชั้นความสูง (Contour line) เดียวกนั กบั ตน้ ไม้ ภาพที่ 41 การวดั ความสูงต้นไม้ที่มีลักษณะเอียงบนพ้ืนท่ีราบ 1) ต้นไม้เอียงออกไปจาก ผทู้ าการวัดจะได้ความสูงทนี่ อ้ ยกวา่ ปกติ 2) ต้นไมเ้ อียงเข้าหาผทู้ าการวัดจะได้ความสูงที่สูงกว่าปกติ 3) ต้นไม้เอนไปด้านซ้าย ความสูงท่ีได้จะมีความคลาดเคล่ือนน้อย และ 4) ต้นไม้เอนไปด้านขวา ความสงู ท่ีไดจ้ ะมคี วามคลาดเคลอื่ นนอ้ ย 64

การวัดความสูงไมต้ า๋ ว ในการศึกษาความเจริญเติบโตและ ปาล์มน้ามัน เป็นต้น เป็นกลุ่มที่วัดขนาด DBH ผลผลิตมวลชีวภาพของต้นไม้ในป่าธรรมชาติ ได้ยาก เพราะลาต้นของไม้พวกน้ีจะมีกาบใบ รวมถึงการศึกษาการสะสมคาร์บอนในพื้นท่ีป่า ขนาดใหญ่ท่ีแห้งตายแล้วไม่ได้หลุดลอกออกมา มิติของต้นไม้ท่ีใช้ในการศึกษาส่วนมากจะใช้ตัว หุ้มอยู่เป็นจานวนมาก ดังแสดงภาพท่ี 42 ใน แปรอิสระในรูปของ DBH2.Ht ขณะท่ี เถาวัลย์ การประเมินมวลชีวภาพจึงใช้ค่าของความสูง ไผ่ และกล้วยป่า จะใช้ตัวแปรอิสระเป็น DBH (Ht) เป็นตัวแปรอิสระเพียงค่าเดียว เพราะ หรือ DBH2 เพียงค่าเดียว เนื่องจากค่าความสูง ข้อมูลทางความสูงจะสามารถวัดได้ถูกต้อง ของไม้ในกลุ่มนี้วัดข้อมูลยาก เลื้อยพันกับต้นไม้ มากกว่า ยกเว้นไม้บางชนิดท่ีมีลาต้นต้นเด่นชัด หรือมีลาต้น หรือใบ ท่ีโค้งงอ ในขณะท่ีต้นไม้ใน เช่น ต้นหมาก ต้นมะพร้าว และต้นเต่าร้าง เป็นต้น ตระกูลปาล์มบางชนดิ เชน่ ไม้ตา๋ ว ไม้สาคู และ ที่สามารถใชค้ า่ DBH2.Ht เป็นตัวแปรอิสระ ภาพที่ 42 ไม้ต๋าว อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดนา่ น 1) ลักษณะลาต้นท่ีมีกาบใบแห้งตายและ ยังหุ้มรอบๆ ลาต้น การทาความสะอาดลาต้นก่อนทาการวัด DBH ทาได้ค่อนข้างยากและใช้เวลามาก 2) การวัด DBH จะทาได้ยากและเส้นเทปท่ีวัดจะไม่ได้ระดับเพราะติดกาบและก้านใบที่ปูดบวม ออกมา ทาให้คา่ DBH ทีไ่ ด้มีความคลาดเคล่อื นสูง ดังนัน้ การใชค้ วามสงู เปน็ เกณฑ์ในการเปรยี บเทยี บความเจริญเตบิ โตของปาล์มประเภทน้ี จึงมีความสาคัญมากกว่าการใช้ค่า DBH (ภาพท่ี 43) ปกติความสูงของไม้ต๋าว จะพบว่าวัดความสูง ได้ 3 แบบ คือ 1) ความสูงทปี่ ลายกา้ นทีส่ งู ทีส่ ดุ อาจจะพบวา่ เป็นความสงู มากที่สุดของต้นได้เม่ือวัด จากพ้ืนดิน ขณะที่ต้นนั้นยังไม่มียอดอ่อนของก้านใบเกิดข้ึนใหม่ แต่ความสูงในตาแหน่งนี้จะค่อยๆ ลดต่าลงเม่ือใบมีอายุมากข้ึนน้าหนักของใบจะทาให้ก้านใบโค้งงอลง 2) ความสูงท่ีเป็นความสูงจาก พ้ืนดินถึงปลายยอดอ่อนของก้านใบท่ียังไม่คล่ีออกมาที่มีลักษณะเป็นแท่ง ความสูงแบบนี้จะเห็น เด่นชัดและมีส่วนปลายอาจจะอยู่สูงกว่าใบที่มีลักษณะโค้งงอลง หรืออาจต่ากว่าใบก็ได้ ข้ึนอยู่กับ ช่วงท่ีทาการวัดความสูงว่าปลายยอดอ่อนดังกล่าวมีการพัฒนาไปในระดับใด และความสูงแบบน้ี 65

บางต้นจะไมม่ ีเน่ืองจากใบไดค้ ลอี่ อกมาแล้ว และ 3) เปน็ ความสูงจากพ้ืนดนิ ถงึ บริเวณง่ามยอดอ่อน ของกา้ นใบท่แี ยกจากกาบใบของคู่บนสุด ซ่งึ ความสงู แบบนจ้ี ะเป็นความสูงที่เพิ่มขึ้นเร่ือยๆ ตามอายุ ของต้นไม้ พบว่าสังเกตได้ง่ายเม่ือทาการสารวจจริงในภาคสนาม และมีความคลาดเคลื่อนน้อยกว่า เม่ือเทียบกบั การวัดความสูงที่ตาแหน่งอื่น ภาพที่ 43 ไมต้ ๋าว อาเภอบ่อเกลือ จังหวดั น่าน 1) ลักษณะความสูงและเรือนยอดของไม้ ต๋าว 2) การวัดความสูงที่ง่ามยอดอ่อนของก้านใบที่แยกจากกาบใบของคู่บนสุด และ 3) การวัด ความสูงถึงยอดออ่ น จากการศึกษามวลชีวภาพของไม้ต๋าวของ วินัย และคณะ (2560) ในพ้ืนที่โครงการศูนย์ ภฟู ้าพฒั นา จงั หวัดน่าน พบว่าความสูงจากพื้นดินถึงบริเวณง่ามยอดอ่อนของก้านใบที่แยกจากกาบ ใบของคู่บนสุดให้เป็นตัวแปรอิสระ (X) และตัวแปรตามคือมวลชีวภาพเหนือพื้นดิน (Y) ในรูปแบบ ของสมการแอลโลเมตริก จะมีความสมั พันธ์สงู ทสี่ ดุ มากกว่าการใช้ ขนาด DBH หรือความสูงท่ีปลาย กา้ นท่สี ูงท่ีสุด และความสูงถงึ ปลายยอดอ่อนของก้านใบท่ียังไม่คลี่ ดังแสดงในภาพท่ี 44 ภาพท่ี 44 การวัดความสูงของไม้ ต๋าวโดยใช้ Vertex ที่ระดับความสูงในแบบ ต่างๆ กัน 66

D-H Relation การวัดความสงู (Height, Ht) ต้นไม้ในป่าธรรมชาติที่มีเรือนยอดซ้อนทับกันมักจะมีความ แม่นยาน้อยเนื่องจากไม่เห็นยอดของต้นไม้ชัดเจน และต้นไม้บางต้นมียอดเอนมากไม่สามารถวัด ความสูงได้ หรือลาต้นหัก เป็นต้น ในการประมาณความสูงของต้นไม้เหล่าน้ีสามารถหาได้จาก ความสัมพันธ์ระหว่าง DBH กับ Ht ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบ Hyperbolic equation หรือ D-H Relation (Ogawa et al., 1965) มรี ูปสมการดังน้ี Ht = (1/(a*DBH^h) + (1/Hmax)) ^-1 โดยท่ี Ht = ความสูงของต้นไม้ (m) DBH = ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางทรี่ ะดบั อก (cm) a, h, Hmax = คา่ คงที่ ในการคานวณค่าคงที่ a, h, Hmax จะใช้โปรแกรม SILVICS ในการคานวณ (Ishizuka, 1991) ซึ่งเป็นโปรแกรมที่พัฒนาข้ึนโดยผู้เช่ียวชาญชาวญ่ีปุ่น Dr.M. Ishizuka เม่ือปี พ.ศ. 2534 (ภาพท่ี 45) หรือโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติประเภทต่างๆ เช่น โปรแกรม R และโปรแกรม Genstat เป็นต้น เม่ือได้สมการความสัมพันธ์ระหว่าง DBH และ Ht แล้ว สามารถนาสมการน้ีไป คานวณหาความสูงของต้นไม้ทุกต้นภายในแปลงตัวอย่างเพื่อลดความคลาดเคลื่อนรายต้นในแปลง ตัวอย่าง และนาไปใช้เปรียบเทียบความเจริญเติบโตด้านความสูงระหว่างแปลงตัวอย่าง ทต่ี อ้ งการศกึ ษา ภาพที่ 45 ความสัมพันธ์ระหวา่ ง DBH กับ Ht ในรูปแบบ Hyperbolic equation จากการ ใช้โปรแกรม SILVICS จากแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 100X100 m2 ของป่าดิบเขา ในพื้นที่อุทยาน แห่งชาติดอยอนิ ทนนท์ จงั หวดั เชยี งใหม่ 67

การวดั พกิ ดั ตน้ ไม้ การวัดพิกัดต้นไม้สามารถแบ่งคนทาควบคู่กับการวัดความโตและความสูงของต้นไม้ได้ ภายหลังจากวัดข้อมูลเสร็จ 1 แปลงย่อย (10X10 m2) และมีเบอร์ประจาต้นของต้นไม้แล้ว การวัดพิกัดต้นไม้ มี 2 แบบ ท่ีนิยมทากัน คือ  การวัดพิกัดตาแหน่งที่โคนต้น ในการศึกษาวิจัยทางด้านนิเวศวิทยานิยมใช้กัน เมื่อใช้ หลักเกณฑน์ ีจ้ ะตอ้ งสมั พันธ์กบั การวัด DBH ดว้ ย ในกรณีต้นไม้เอนออกนอกแปลงแต่โคนอยู่ ในแปลงก็ทาการวัด DBH ต้นนั้นด้วย และในทางกลับกันต้นไม้เอนเข้ามาในแปลงแต่โคนอยู่ นอกแปลงจะไม่ทาการวัดต้นน้ัน ข้อดีของวิธีน้ีคือไม่ว่าต้นไม้จะเอนเพิ่มข้ึนมากน้อยเพียงใด โคนต้นก็จะอยู่ ณ ที่เดิม แต่มีข้อเสียคือวัดค่อนข้างยากต้องก้มลงติดดินและเวลาตรวจสอบ ข้อมลู สงั เกตได้ลาบากถ้าพื้นปา่ รกทบึ และแสดงตาแหน่งของตน้ ไม้ที่มลี ักษณะหลายนางไมไ่ ด้  การวัดพิกัดตาแหน่งที่ DBH ในการศึกษาทางด้านวนวัฒนวิทยาหรือการสะสมคาร์บอน ในพื้นที่ป่านิยมใช้กัน เม่ือใช้หลักเกณฑ์น้ีจะต้องสัมพันธ์กับการวัด DBH ด้วย ในกรณีต้นไม้ เอนออกนอกแปลงและ DBH อยู่นอกแปลง แต่โคนอยู่ในแปลงจะไม่วัด DBH ต้นน้ัน และต้น ท่ีโคนอย่นู อกแปลงแต่ DBH เอนเขา้ มาในแปลงจะทาการวัด DBH ต้นนั้น แต่อาจมีปัญหาใน กรณตี น้ ไมเ้ อนมากขน้ึ ตาแหน่ง DBH จะไปอยนู่ อกแปลงได้ ทาใหส้ ับสนเม่ือมาเกบ็ ข้อมูลคร้งั หลงั ส่วนข้อดีคือสามารถวัดได้ง่าย สามารถหาตาแหน่งต้นไม้ได้เร็วเม่ือมาเก็บข้อมูลคร้ังหลัง เพราะสามารถดูจากสที คี่ าดหลงั จากวัดขอ้ มูล DBH แล้ว และสามารถลงตาแหน่ง DBH ของ ตน้ ไม้ที่มีหลายนางได้ เทคนคิ การวดั ตาแหน่งพิกัดของตน้ ไม้ทน่ี ิยมทากันมี 2 วธิ ี ดงั แสดงในภาพท่ี 46 ดังน้ี 1. การวัดพิกัดตาแหน่งต้นไม้ ที่ใช้เทปวัดระยะดึงให้เป็นเส้นตรงต้ังฉากกับขอบแปลงไปยัง กึ่งกลางของต้นไม้ โดยเทปด้านแนวนอนจะเป็นค่า X ส่วนเทปในแนวต้ังจะเป็นค่า Y แล้ว บันทึกค่าท่ีอ่านได้ ดังแสดงในภาพท่ี 46-1 การวัดแบบน้ีต้องระมัดระวังจุดที่เทปไปถึง ก่ึงกลางของต้นไม้ เพราะถ้ากาหนดจุดผิดพลาด ดังแสดงในภาพที่ 46-2 เมื่อนาค่าท่ีได้ไปทา แผนท่ี จุดศูนย์กลางของต้นไม้จะขยับตาแหน่งทันที (ดังแสดงในภาพที่ 46-3) การวัดวิธีนี้ ในพ้ืนที่ทีม่ คี วามลาดชันสูงจะใช้ได้ผลดี แต่ค่อนข้างใช้เวลามากกว่าวิธีท่ี 2 เพราะจาเป็นต้อง เดนิ ลากเทปและตอ้ งหลบต้นไมท้ ี่คา้ เทปวดั ระยะ 2. การวัดพิกัดตาแหน่งต้นไม้ ท่ีใช้เทปวัดระยะตรึงระหว่างหมุดแปลงท่ีมีความยาว 10 m จากนั้นผู้วดั 2 คน ยืนอยูท่ ่แี นวขอบแปลงคนละดา้ นหนั หน้าเขา้ หาต้นไม้ที่จะวัด โดยมีคนที่ 3 ทาหน้าที่หาและบอกหมายเลขประจาต้นเพ่ือให้ผู้วัดริมขอบแปลงทราบ ผู้วัดริมขอบแปลง จะขยบั ซ้าย-ขวา เพอ่ื เลง็ จดุ กงึ่ กลางของต้นไม้ให้ตั้งฉากกบั เทปวัดระยะรมิ ขอบแปลง เมอื่ เลง็ 68

ได้ท่ีแล้วให้ทาการอ่านค่าระยะจากเทปท่ีตรึงไว้ โดยกาหนดให้เทปวัดระยะที่ตรึงตามแนวนอน เป็นค่า X และตามแนวต้ังเป็นค่า Y ดังแสดงในภาพท่ี 46-4 การวัดวิธีนี้ใช้ได้ดีกับพื้นที่ราบ และความลาดชันไม่สูง ไม่เหมาะกับพ้ืนที่ที่มีความลาดชันสูง เนื่องจากเทปวัดระยะระหว่าง หมุดแปลง 10 m จะมีความยาวมากกว่า 10 m ตามแนวพื้นดิน การยกระดับเทปวัดระยะ ใหเ้ ปน็ แนวระนาบทาได้ยากถ้ามีระยะยาว กรณีท่ีมีต้นไม้หนาแน่นมาก การเล็งตาแหน่งของ ต้นไม้บริเวณกลางๆ หรือท้ายแปลงทาได้ยาก และแนวท่ีเล็งไม่ต้ังฉากกับเทปที่อยู่ริมขอบ แปลง จาเป็นต้องอาศัย Pole เหล็กกล่อง ทาการเล็ง 3 หลัก เพื่อช่วยในการเล็งแนว รวมถึง การเปล่ียนแนวการเล็งไปตามเส้นเทปท่ีตรึงกับหมุด 10 m ที่ใช้อ้างอิง ในการวัดตาแหน่ง ตน้ ไม้ดงั กลา่ ว สามารถใชท้ ัง้ 2 วิธรี ว่ มกันไดต้ ามความเหมาะสม ภาพที่ 46 การวัดตาแหน่งพิกัด X-Y ของต้นไม้ ในแปลงตัวอย่างถาวร 1) การวัดต้นไม้ โดยใช้เทปวัดระยะจากขอบแปลงไปหาต้นไม้ท่ีถูกวิธี 2) การวัดต้นไม้ โดยใช้เทปวัดระยะจากขอบ แปลงไปหาต้นไม้ท่ีผิดวิธี 3) การวัดต้นไม้ที่ผิดวิธี เมื่อนาข้อมูลไปลงจะทาให้ตาแหน่งกลางต้น คลาดเคลื่อนจากจุดเดิม แสดงในลาต้นภาพจาง และ 4) การวัดตาแหน่งต้นไม้ โดยใช้เทปวัดระยะ ตรึงท่ีหมุดขอบแปลง แลว้ เล็งไปยงั ตน้ ไม้ 69

บรรณานุกรม ชิงชัย วิริยะบัญชา, ภาณุมาศ ลาดปาละ และวัฒนา ศักดิ์ชูวงษ์. 2554. การสะสมคาร์บอนของ เถาวัลย์ในป่าธรรมชาติ ณ อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน. การประชุมวิชาการ ระดับชาติ เรื่อง ประเทศไทยกับภูมิอากาศโลก ครั้งท่ี 2 : การเปล่ียนกระบวนทัศน์ สู่เศรษฐกิจสีเขียว วันท่ี 18 - 19 สิงหาคม 2554 ณ ศูนย์ประชุมอิมแพ็ค อารีนา เมืองทองธานี ปากเกร็ด นนทบุรี. องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องคก์ ารมหาชน). 23 น. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2563 ก. พีทาโกรัส. https://th.wikipedia.org/wiki/พีทาโกรัส. ค้นคืน วันท่ี 30 มถิ ุนายน 2563. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2563 ข. เรเดียน. https://th.wikipedia.org/wiki/เรเดียน. ค้นคืน วนั ท่ี 30 มถิ นุ ายน 2563. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2563 ค. คาลิเปอร์. https://th.wikipedia.org/wiki/คาลิเปอร์. ค้นคืน วนั ที่ 30 มถิ นุ ายน 2563. วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2563 ง. เธลีส. https://th.wikipedia.org/wiki/เธลีส. ค้นคืนวันที่ 30 มิถุนายน 2563. วินัย แก้วดีเลิศ, ชิงชัย วิริยะบัญชา และวิโรจน์ รัตนพรเจริญ. 2560. การศึกษามวลชีวภาพเหนือ พ้ืนดินของไม้ต๋าว ในพื้นที่โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน. ใน การประชุม การป่าไม้ ประจาปี พ.ศ. 2560 “รวมพลังรักษ์ป่า ด้วยศาสตร์พระราชา” วันที่ 5 - 7 กนั ยายน พ.ศ. 2560 ณ มริ าเคลิ แกรนด์ คอนเวนชั่น. กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ป่า และพันธุพ์ ชื . น. 74-85. สันติ กิตติบรรพชา. 2542. ผลงานการประดิษฐ์ไม้วัดความสูง ระดับความสูงไม่เกิน 7 เมตร. สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช http://www.dnp.go.th/FOREMIC /Nforemic/invention/Pole/ไมว้ ัดความสงู .htm. ค้นคนื วันที่ 30 มถิ ุนายน 2563. Avery, T. E. and H. E. Burkhart. 1994. Forest Measurement. 4th ed. McGraw-Hill, Inc. 408 p. Curtis, R.O. and D.D. Marshall. 2005. Permanent-Plot Procedures for Silvicultural and Yield Research. General Technical Report PNW-GTR-634. Pacific Northwest Research Station. Forest Service. United States Department of Agriculture. 84 p. 70

DeWalt, S.J. and J. Chave. 2004. Structure and biomass of four lowland neotropical forests. Biotropica 36: 7-19. Fabricius, L.; A. Oudin, and W.H. Guillebaud. 1936. Outlines for permanent sample plot investigations. [Place of publication unknown]: International Union of Forest Research Organizations. 33 p. Ishizuka, M. 1991. Development of the software for silviculture research. Research and Training in Re-afforestation Project in Thailand (Phase II). 61 pp. Ogawa, H., K. Yoda, K. Ogino and T. Kira. 1965. Comparative ecological studies on three main types of forest vegetation in Thailand. II. Plant Biomass. Nature and Life in Southeast Asia 4 : 49-80. Mascaros, J., S.A. Schnitzer and W.P. Carsonc. 2004. Liana diversity, abundance, and mortality in a tropical wet forest in Costa Rica. For. Ecol. Manage. 190: 3–14. Pearson, T., S. Walker and S. Brown. 2005. Sourcebook for Land Use, Land-Use Change and Forestry Project. World Bank BioCarbon Fund and Winrock International. 57 pp. Putz, F.E. and P. Chai. 1987. Ecological studies on lianas in Lambir National Park, Sarawak, Malaysia. J. Ecol.75: 523–531. Vuokila, Y. 1965. Functions for variable density yield tables of pine based on temporary sample plots. Helsinki, Finland: Communicationes Instituti Forestalls Fenniae 60.4. 86 p. USDA Forest Service. 1935. Sample plots in silvicultural research. Circ. 333. Washington, DC. 88 p. Xiao, T.L., W.T. Jian, L.F. Zhi & H.L. Mai. 2009. Diversity and aboveground biomass of lianas in the tropical seasonal rain forests of Xishuangbanna, SW China. Rev. biol. trop v.57 n.1-2 San José mar.-jun. 2009. 71

บทสง่ ทา้ ย (นายชิงชยั วริ ยิ ะบญั ชา) นักวิชาการปา่ ไมช้ านาญการพเิ ศษ 18 กันยายน 2563 72