หน่วยกำรเรียนรทู้ ่ี ๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ี่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๓ ประวัตศิ าสตรไ์ ทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔-๖ กลุ่มสาระการเรยี นร้สู งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม หน่วยกำรเรยี นรูท้ ี่ ๔ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๕ ๑_หลักสตู รวิชาประวัตศิ าสตรไ์ ทย ๒_แผนการจัดการเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ข้อสอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๗_ การวดั และประเมนิ ผล ๘_เสรมิ สาระ ๙_สอ่ื เสริมการเรยี นรู้ บริษัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com
๒หนว่ ยการเรียนรู้ที่ การสร้างองค์ความรใู้ หม่ ทางประวตั ิศาสตรไ์ ทย จดุ ประสงค์การเรียนรู้ • สร้ำงองคค์ วำมรู้ใหมท่ ำงประวตั ศิ ำสตรโ์ ดยใช้วิธีกำรทำงประวตั ศิ ำสตร์อย่ำงเปน็ ระบบได้
ความหมาย ความสาคญั และประโยชนข์ องวิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ควำมหมำยของวธิ ีกำรทำงประวตั ศิ ำสตร์ • วิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ เป็นวธิ กี ำรหรอื ขน้ั ตอน ทใ่ี ชใ้ นกำรศกึ ษำเร่อื งรำวทำงประวัตศิ ำสตร์ โดยอำศยั จำกหลกั ฐำนที่เปน็ ลำยลกั ษณ์อักษรและไมเ่ ปน็ ลำยลกั ษณ์อักษร เพ่อื ให้สำมำรถฟื้นหรอื จำลองอดตี ข้ึนมำใหม่ได้อยำ่ งถกู ต้อง นำ่ เชอ่ื ถือ ควำมสำคัญของวธิ ีกำรทำงประวัติศำสตร์ • ทำให้เร่ืองรำว กิจกรรม เหตุกำรณ์ทเ่ี กิดขนึ้ ในประวตั ิศำสตรม์ ีควำมนำ่ เชื่อถือ มีควำมถูกต้องเปน็ จรงิ หรือใกลเ้ คยี งกบั ควำมเปน็ จรงิ มำกทีส่ ุด เพรำะมีกำรศกึ ษำอยำ่ งเปน็ ระบบ มขี ้นั ตอน ประโยชนข์ องวิธีกำรทำงประวัติศำสตร์ • ทำให้เปน็ คนละเอยี ดรอบคอบ มกี ำรตรวจสอบเร่ืองรำวทศ่ี กึ ษำ รู้จักประเมนิ ควำมนำ่ เชื่อถือของเหตุกำรณ์ต่ำงๆ
ข้นั ตอนของวธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร์ กำรกำหนดหัวเรอ่ื งที่จะศึกษำ • เร่มิ จำกควำมสงสยั อยำกรู้ • หลงั จำกนั้นกำหนดเรื่องหรือประเด็นทีต่ ้องกำรศกึ ษำ • ประเด็นท่จี ะศกึ ษำควรกำหนดไวก้ ว้ำงๆ ก่อน แล้วจำกัดประเดน็ ให้แคบลง เพื่อควำมชดั เจนในภำยหลัง • กำรกำหนดหวั เร่ืองอำจเก่ยี วกับเหตุกำรณ์ ควำมเจรญิ ควำมเสอ่ื มของอำณำจกั ร ตัวบุคคลในช่วงเวลำใดเวลำหนึง่ กำรรวบรวมหลกั ฐำน • เปน็ กำรรวบรวมหลกั ฐำนท่ีเกีย่ วขอ้ งกับหัวขอ้ ทจ่ี ะศกึ ษำ มีท้งั หลกั ฐำนท่เี ปน็ ลำยลักษณ์อักษร และหลกั ฐำนทไ่ี ม่เป็นลำยลกั ษณ-์ อักษร หลกั ฐำนช้ันตน้ หรอื หลกั ฐำนปฐมภูมิกบั หลักฐำนช้ันรองหรอื หลักฐำนทุติยภูมิ
หลกั ฐานช้ันต้น • เป็นหลกั ฐำนรว่ มสมยั ของผ้ทู เี่ กยี่ วขอ้ งกับเหตุกำรณโ์ ดยตรง ประกอบด้วยหลักฐำนทำงรำชกำรท้ังที่เป็นเอกสำรลับ เอกสำรที่เปิดเผย กฎหมำย ประกำศ สุนทรพจน์ บันทึก ควำมทรงจำขอ งผู้ที่เก่ีย วข้องกับเหตุกำ รณ์ หรือ อัตชีวประวตั ผิ ทู้ ไ่ี ด้รับผลกระทบกับเหตุกำรณ์ กำรรำยงำน ข่ำวของผู้รู้ ผู้เห็นเหตุกำรณ์ วีดิทัศน์ ภำพยนตร์ ภำพถ่ำย เหตุกำรณ์ที่เกิดขน้ึ เปน็ ตน้ ภาพถ่ายเหตกุ ารณม์ หาวิปโยค ๑๔ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๑๖ เป็นหลักฐานช้ันตน้
หลกั ฐานช้นั รอง • หลักฐำนที่ จัดทำข้ึน โดยอ ำศัย หลัก ฐำน ชั้นต้น หรือโดยบุคคลท่ีไม่ได้เกี่ยวข้อง ไม่ได้รู้เห็นเหตุกำรณ์ ด้วยตนเอง แต่ได้รับรู้โดยผ่ำนบุคคลอื่น เช่น ผลงำน ของนักประวัติศำสตร์หรือหนังสือประวัติศำสตร์ รำยงำนของส่ือมวลชนท่ีไม่ได้รู้เห็นเหตุกำรณ์ด้วย ตนเอง สารนิพนธ์ของ ศ.ดร. ประเสริฐ ณ นคร เป็นหลักฐานชนั้ รอง
กำรประเมนิ คณุ ค่ำของหลกั ฐำน การประเมินคณุ คา่ ภายนอกหรอื วิพากษว์ ิธีภายนอก • ประเมนิ คุณคำ่ จำกลักษณะภำยนอกของหลักฐำน บำงคร้ังอำจมีกำรปลอมแปลงเพ่อื กำรโฆษณำชวนเชอื่ ทำให้หลงผดิ จึงมกี ำรประเมนิ วำ่ หลักฐำนนัน้ เป็นของจริงหรือไม่ โดยพิจำรณำจำกสิ่งท่ปี รำกฏภำยนอก เช่น เนอื้ กระดำษ เปน็ ต้น การประเมินคณุ คา่ ภายในหรือวิพากษ์วธิ ีภายใน • ประเมินคุณค่ำจำกข้อมลู ภำยในหลกั ฐำนน้ัน เช่น มชี ื่อบุคคล สถำนท่ี เหตกุ ำรณ์ ในช่วงเวลำท่หี ลกั ฐำนนัน้ ทำข้ึนหรอื ไม่ นอกจำกนี้ ยงั สังเกตได้จำกกำรกลำ่ วถงึ ตัวบุคคล เหตุกำรณ์ สถำนที่ ถ้อยคำ เป็นต้น
กำรวิเครำะห์ สงั เครำะห์ และจดั หมวดหม่ขู อ้ มูล • ต้องศึกษำข้อมลู ในหลกั ฐำนนน้ั วำ่ ให้ขอ้ มลู อะไรบ้ำง มคี วำมสมบรู ณ์เพียงใด มจี ดุ มงุ่ หมำยเบื้องตน้ อยำ่ งไร เปน็ ตน้ • นำข้อมลู ทงั้ หลำยมำจดั หมวดหมู่ • เมื่อไดข้ อ้ มูลเป็นประเดน็ แลว้ ตอ้ งหำควำมสัมพนั ธ์ของประเดน็ ต่ำงๆ และตีควำมขอ้ มูล • ในกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ขอ้ มลู ผู้ศกึ ษำควรมคี วำมรอบคอบ วำงตวั เปน็ กลำง
กำรเรียบเรียงหรือกำรนำเสนอ • เปน็ ขนั้ ตอนสุดทำ้ ยของวิธกี ำรทำงประวตั ิศำสตร์ • เปน็ กำรนำขอ้ มูลทง้ั หมดมำรวบรวม เรยี บเรยี ง หรอื นำเสนอให้ตรงกบั ประเดน็ ท่ีตนสงสยั หรอื อยำกรู้ • ควรนำเสนอเหตุกำรณอ์ ยำ่ งมีระบบ ให้มคี วำมสอดคล้องต่อเนอ่ื ง มคี วำมเป็นเหตเุ ปน็ ผล โดยมขี ้อมูลสนบั สนนุ อยำ่ งมนี ้ำหนกั รวมทงั้ สรุปผลกำรศกึ ษำทีส่ ำมำรถใหค้ ำตอบในเรื่องทีส่ งสยั หรืออยำกรู้
หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ไทย ลักษณะของหลกั ฐำนทำงประวตั ิศำสตร์ไทย หลักฐานท่เี ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร • จารึกหรือจาร มีหลำยลักษณะ ที่สลักลงบนแทง่ หินหรือแผ่นหิน เรยี ก ศลิ าจารึก จำรึกลงแผน่ ทองคำ เรยี ก จารึกลานทอง จำรึกลงแผน่ เงิน เรียก จารกึ ลานเงนิ ท่ีจำรลงใบลำน เรียก หนงั สอื ใบลาน และยังมกี ำรพบจำรึกที่ฐำนพระพทุ ธรปู อกี ด้วย ซึง่ จำรกึ ทม่ี อี ยู่หลำยลักษณะนัน้ จำรึกบนแทง่ หนิ หรอื ศิลำจำรึกมคี วำมคงทนมำกท่สี ดุ จารกึ ลานทอง พบทว่ี ัดส่องคบ อาเภอเมือง จงั หวดั ชยั นาท จารกึ ดว้ ยอักษรขอม - อกั ษรไทยสมัยอยุธยา พ.ศ. ๑๙๕๑
พระราชพงศาวดาร • เป็นกำรจดบันทึกเร่ืองรำวเกี่ยวกับพระมหำกษัตริย์ • เขยี นลงบนสมุดไทย • เรม่ิ เขียนข้นึ ในสมยั อยธุ ยำเรือ่ ยมำจนกระทั่งสมยั รชั กำลท่ี ๕ • พระรำชพงศำวดำรฉบบั หลวงประเสรฐิ ฯ ถอื เป็นพระรำชพงศำวดำรท่ีเกำ่ แก่ทส่ี ดุ ที่มีเหลืออยูจ่ นถงึ ปัจจุบนั ปกพระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลท่ี ๒ พระนิพนธส์ มเดจ็ ฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ และปกพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหตั ถเลขาในรชั กาลที่ ๔ จัดพมิ พ์โดยกรมศิลปากร
ตานาน • เปน็ กำรเลำ่ เร่ืองรำวประวัติควำมเป็นมำของบุคคล โบรำณสถำน โบรำณวตั ถุสืบทอดกันมำ • เปน็ กำรบอกเล่ำ จดจำ และบันทึก • จดั วำ่ มคี ุณคำ่ ทำงประวัตศิ ำสตร์น้อย เพรำะไม่ทรำบวำ่ ใครแต่ง แต่งเมอื่ ใด และมหี ลกั ฐำนอ้ำงอิงอยำ่ งไร ชนิ กาลมาลีปกรณแ์ ละตานานพ้นื เมืองเชยี งใหม่ เป็นตานานเกี่ยวกบั พระพุทธศาสนาและประวัติศาสตร์ลา้ นนา
เอกสารสว่ นบุคคล • เป็นบนั ทกึ สว่ นตวั ของผูท้ ี่เกี่ยวข้องหรือผทู้ ี่รเู้ หน็ เกีย่ วกับเหตกุ ำรณน์ นั้ ๆ • เช่น จดหมำยเหตพุ ระรำชกิจรำยวนั ในรชั กำลท่ี ๕ จดหมำยเหตคุ วำมทรงจำของกรมหลวงนรนิ ทรเทวี และบนั ทกึ ของคณะรำษฎรหลำยทำ่ นที่เกีย่ วขอ้ งกบั กำรเปลยี่ นแปลงกำรปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ เป็นตน้ เอกสารสว่ นบคุ คล (จากภาพ) ลายพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงพระราชทานแก่นางแอนนา เลยี วโนเวนส์
หนังสอื ราชการ • เป็นเอกสำรเกย่ี วขอ้ งกบั กำรบรหิ ำรรำชกำรด้ำนจัดกำรปกครองทร่ี ัฐมตี อ่ สว่ นกลำงและสว่ นภมู ภิ ำค • มีควำมสำคญั เพรำะเปน็ บันทึกของผู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับเหตกุ ำรณโ์ ดยตรง • สว่ นใหญเ่ ป็นของสมยั รัตนโกสินทร์ ทมี่ ีมำแตค่ ร้ังโบรำณได้สูญหำยเกอื บหมดแล้ว ตวั อยา่ งหนังสือราชการ
บันทึกของชาวต่างชาติ • เป็นเอกสำรของชำวตำ่ งชำติทีเ่ ขยี นหรือบนั ทึกเก่ยี วกับเมืองไทย • อำจอยูใ่ นรูปของบันทึกประจำวัน กำรเลำ่ เร่อื ง หรอื จดหมำยเหตุ • มีคณุ คำ่ มำกในทำงประวัติศำสตร์ โดยบำงเรื่องอำจใหข้ อ้ มลู นอกเหนือจำกทม่ี อี ยแู่ ล้ว หรือบำงเร่อื งอำจเปน็ กำรเสรมิ ข้อมลู ที่ไทยมีอยู่ เชน่ จดหมำยเหตลุ ำลูแบร์ ของซมิ ง เดอ ลำลแู บร์ รำชทูตฝรง่ั เศส สมัยสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำช จดหมายเหตลุ าลแู บร์ ของซิมง เดอ ลา ลแู บร์ ราชทูตฝร่งั เศสในสมัยอยุธยา
หลักฐานทีไ่ ม่เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร • ส่วนใหญ่เป็นหลกั ฐำนประเภทโบรำณสถำน โบรำณวตั ถุ เชน่ โบสถ์ วหิ ำร โครงกระดกู มนุษย์ เครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้ตำ่ งๆ ปัจจุบันมีกำรบนั ทึกเหตกุ ำรณ์ สถำนท่ี ทงั้ ท่ีเป็นภำพเสียง หรือทั้งภำพและเสยี ง เช่น ภำพถำ่ ย แถบบันทกึ เสียง วีดิทัศน์ รำยงำนขำ่ วของสอ่ื มวลชน
ประเภทของของหลกั ฐำนทำงประวัติศำสตรไ์ ทย หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรเ์ ปน็ รอ่ งรอยของมนุษย์ทห่ี ลงเหลืออยจู่ ากอดีต หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์มีทง้ั วตั ถุ เอกสาร จารกึ โดยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท หลักฐานชน้ั ต้น • หรือหลักฐานปฐมภูมิ คอื หลกั ฐำนทีเ่ ปน็ ของร่วมสมัย เช่น เอกสำรหรือบนั ทกึ ท่เี ขียนขนึ้ โดย บุคคลที่เก่ียวข้องหรือรู้เหน็ เหตกุ ำรณ์ เชน่ ภำพถำ่ ย วัตถุร่วมสมัย เช่น โบรำณวตั ถุ เครอื่ งมือ เคร่ืองใช้ จำรกึ ผู้ศกึ ษำควรมคี วำมระมดั ระวัง เน่ืองจำกหลกั ฐำนบำงอยำ่ งมักจะกลำ่ วถงึ แต่ เรือ่ งรำวในด้ำนดีหรือไมเ่ ปน็ กลำง เพือ่ ให้เร่ืองรำวมคี วำมน่ำเชื่อถือยิง่ ข้นึ จึงตอ้ งมกี ำรตรวจสอบ ประเมินหลักฐำน โดยใชว้ ธิ กี ำรทำงประวตั ิศำสตร์ หลกั ฐานชั้นรอง • หรอื หลักฐานทตุ ยิ ภูมิ คอื หลักฐำนท่ีเขยี นขึ้นภำยหลังจำกเหตกุ ำรณ์นัน้ เกดิ ขึ้น โดยผู้บนั ทึก อำจได้ยินคำบอกเล่ำผ่ำนบคุ คลอื่น หรอื เป็นหลักฐำนที่เขียนขึน้ โดยบคุ คลทอ่ี ำศัยข้อมูลจำก หลักฐำนชัน้ ต้น เช่น หนังสอื งำนวจิ ัย บทควำม รวมทง้ั หลกั ฐำนที่ไม่เปน็ ลำยลักษณ์อกั ษร เช่น ภำพยนตร์ ละคร ขำ่ วโทรทัศน์
ควำมสำคญั ของของหลกั ฐำนทำงประวัตศิ ำสตร์ไทย ๑ มคี วามสาคัญตอ่ การศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ไทยมาก เพราะหลกั ฐานข้อมลู ทั้งหลายทาหรือเขยี นขนึ้ โดยผู้เกี่ยวขอ้ งโดยตรง หรอื มีความใกล้ชดิ กับเหตกุ ารณ์หรอื เรอื่ งราวทง้ั หลายทเ่ี กิดข้ึน ๒ หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์สะทอ้ นใหเ้ ห็นโลกทัศน์ วฒั นธรรมประเพณี ตลอดจนความเชื่อของ คนในสมยั กอ่ น ๓ หลักฐานควรได้รบั เกบ็ รกั ษาให้ดี เพอื่ จะได้นามาศึกษาคน้ คว้าเผยแพรต่ อ่ ไป อนั จะช่วยให้ ประวตั ิศาสตร์ไทยมีความชดั เจน ถกู ตอ้ งมากข้นึ ๔ การใช้หลักฐานของชาวตา่ งชาติ ผูศ้ กึ ษาควรมีความระมัดระวัง เน่ืองจากชาวตา่ งชาตมิ ีพื้นฐาน ความคดิ และวัฒนธรรมทีแ่ ตกต่างจากคนไทย
แหลง่ รวบรวมหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์ไทยท่สี ำคญั สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ หอสมุดกลางของมหาวิทยาลัยต่างๆ
ตัวอยำ่ งกำรนำวิธกี ำรทำงประวตั ศิ ำสตรม์ ำใชใ้ นกำรศึกษำประวัติศำสตร์ไทย ๑ การกาหนดหวั เรือ่ งที่จะศกึ ษา • หัวข้อทสี่ นใจ คือ การฟนื้ ฟูบา้ นเมืองในสมัยรชั กาลที่ ๑ ๒ การรวบรวมหลกั ฐาน หลักฐานชั้นตน้ หลกั ฐานชั้นรอง • พระรำชพงศำวดำรกรุงรัตนโกสนิ ทร์ รชั กำลที่ ๑ • หนงั สือหรอื บทควำมที่เขยี นขึ้นเก่ยี วกับสมัยรชั กำลท่ี ๑ • จดหมำยเหตุควำมทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี หรอื สมยั รัตนโกสินทรต์ อนต้น • พระรำชนพิ นธใ์ นรัชกำลที่ ๑ เชน่ กลอน เพลงยำวนริ ำศ เรอ่ื งรบพม่ำที่ท่ำดินแดง
๓ การประเมนิ คณุ ค่าของหลักฐาน • ตรวจสอบควำมน่ำเชอ่ื ถอื ของเร่อื งรำวทปี่ รำกฏในพระรำชพงศำวดำร โดยเปรียบเทยี บกบั พระรำชพงศำวดำรของรัฐ เพอื่ นบำ้ นทมี่ ีฉบบั แปลเปน็ ภำษำไทย เชน่ พระรำชพงศำวดำรลำว เขมร พมำ่ หรอื ตรวจสอบกบั หลกั ฐำนไทยร่วมสมยั เชน่ จดหมำยเหตคุ วำมทรงจำของกรมหลวงนรนิ ทรเทวี ตรวจสอบ พระบรมรำชโองกำรในพระรำชพงศำวดำรกบั กฎหมำยทอี่ อกในสมยั รชั กำลที่ ๑ ๔ การวิเคราะห์ สงั เคราะห์ และจดั หมวดหม่ขู ้อมลู • ศึกษำจุดมุ่งหมำยเบื้องตน้ และจดุ มุง่ หมำยแฝงของหลกั ฐำน เชน่ จุดมงุ่ หมายเบ้อื งต้น คอื พระรำชพงศำวดำรตอ้ งกำร บอกใหท้ รำบเร่อื งรำวกำรทำสงครำมกับเพอ่ื นบำ้ นในสมัยรัชกำลที่ ๑ สว่ นจดุ ม่งุ หมายแฝง คือ กำรยกยอ่ งเชิดชู พระปรีชำสำมำรถทำงกำรทหำรของรชั กำลที่ ๑ ควำมเป็นผู้นำและสมมติเทพของพระมหำกษตั รยิ ์ เปน็ ต้น
• นอกจำกน้ยี ังต้องคำนงึ วำ่ ขอ้ มลู ในหลักฐำนน้นั มีควำมเปน็ กลำงหรือไม่ เชน่ พระรำชพงศำวดำรเปน็ หนังสอื ที่เขียนข้นึ เพอ่ื ยกย่องพระมหำกษัตรยิ ์ จงึ มเี น้ือหำเชดิ ชูยกย่องพระมหำกษัตริย์ ขณะเดียวกนั กอ็ ำจใหข้ อ้ มลู ด้ำนลบเก่ยี วกับขำ้ ศกึ ศัตรู ในกำรเลอื กใชข้ อ้ มูลตำ่ ง ๆ จงึ ควรพิจำรณำถึงประเดน็ เหลำ่ นี้และควรศกึ ษำคน้ คว้ำจำกหลักฐำนท่หี ลำกหลำย เพ่ือให้ได้ขอ้ มูลครบถ้วน จะทำใหเ้ รือ่ งรำวประวตั ิศำสตรท์ ่ีค้นคว้ำมีควำมน่ำเชือ่ ถอื และใกลเ้ คยี งควำมจริงมำกทส่ี ุด ๕ การเรียบเรียงและนาเสนอข้อมลู • นำขอ้ มูลทีต่ ีควำมได้มำนำเสนอ โดยมีกำรเรียบเรียงอย่ำงเป็นระบบ เชน่ มีหัวข้อใหญ่ หวั ขอ้ ย่อย มีกำรลำดบั หวั ข้อ กำรใชห้ ลักฐำนประกอบกำรอ้ำงองิ กำรอธบิ ำยตำมลำดบั เหตุกำรณ์หรืออธบิ ำยตำมประเดน็ เชน่ อธิบำยกำรฟน้ื ฟู บ้ำนเมอื งของรัชกำลที่ ๑ เรยี งตำมปี หรอื อธิบำยกำรฟนื้ ฟูบ้ำนเมอื งของรชั กำลท่ี ๑ ตำมประเด็น เชน่ ด้ำนกำรเมือง กำรปกครอง ด้ำนสงั คมและวัฒนธรรม ดำ้ นเศรษฐกิจ ดำ้ นกำรตำ่ งประเทศ เปน็ ตน้
Search
Read the Text Version
- 1 - 22
Pages: