พนั ธกจิ 1. ผลติ บณั ฑติ สาขามนษุ ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ใหม้ ีความรู้ทัง้ ด้านทฤษฏีและปฏิบัตมิ คี ุณธรรม 2. นำ� วิชาการไปพฒั นาทอ้ งถิ่นใหเ้ จรญิ กา้ วหน้า 3. ทำ� การวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนการสอน พัฒนาคณะ สถาบนั ทอ้ งถิ่น สังคมและประเทศชาติ 4. ใหบ้ ริการทางวิชาการแกส่ ังคม 5. ทำ� นุบำ� รงุ ส่งเสรมิ ศิลปวฒั นธรรมไทยและภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ สีประจ�ำคณะ สชี มพู ธงประจ�ำคณะ/ตราสญั ลักษณป์ ระจำ� คณะ คณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ที่พึงประสงคข์ องคณะ บัณฑิตเปน็ ผมู้ จี ิตอาสา คมู่ ือนักศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 49
ผู้บรหิ ารคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ผศ.ดร.สกลุ วงษ์กาฬสินธุ์ คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ ผศ.สายยนต์ ชาวอบุ ล ผศ.ดร.มาลินี ไพบลู ย์นกุ ลู กิจ ผศ.ตุลา คมกฤต มโนรัตน์ อาจารยว์ ุฒิไกร ไชยมาลี รองคณบดีฝ่ายบริหารและศิลปวัฒนธรรม รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวเิ ทศสัมพนั ธ์ รองคณบดีฝ่ายวจิ ยั และมาตรฐานการศึกษา รองคณบดฝี า่ ยกจิ การนกั ศึกษาและศษิ ยเ์ ก่าสัมพันธ์ อาจารย์สริ ิกร บญุ สงั ข์ ผศ.ทิพยว์ ารี สงนอก นางปนัดดา แกว้ กูล ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายวางแผนและงบประมาณ ผชู้ ่วยคณบดีฝ่ายบรกิ ารวชิ าการ รกั ษาราชการแทนหัวหนา้ ส�ำนักงานคณบดี 50 คมู่ ือนกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
ประธานหลกั สูตร ผศ.สุธดิ า วรรธนะปกรณ์ อาจารย์ธนชยั พรหมรตั น์ ผศ.ดร.กนกพร ฉิมพลี อาจารยร์ ุจเิ รข บญุ ญราศรี หลักสตู รศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑติ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาออกแบบนเิ ทศศิลป์ สาขาวิชาทศั นศลิ ป์ สาขาวิชาการพฒั นาสังคม สาขาวชิ าภาษาไทย ดร.สุชาวดี โหมกลาง ดร.ทัศน์วรรณ จงเปน็ สุขเลิศ อาจารยพ์ ิชญาภา ชะวางกลาง ดร.รจุ ริ า ศรสี ุภา ผศ.ดร.บษุ กร จันทเ์ ทวนมุ าส หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑิต หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ หลักสตู รศิลปศาสตรบณั ฑิต หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต หลักสตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ สาขาวิชาภาษาญป่ี ุ่น สาขาวิชาภาษาอังกฤษธรุ กิจ สาขาวิชาภาษาจนี สาขาวชิ าสารสนเทศศาสตรแ์ ละ บรรณารักษศาสตร์ ผศ.พทิ กั ษช์ ยั เดชอดุ ม อาจารยโ์ สฬส ประสิทธนิ์ อก อาจารย์รุ้งเพชร วรพงศาทติ ย์ ดร.ปยิ ะนันท์ ทรงสนุ ทรวัฒน์ หลักสูตรนติ ิศาสตรบัณฑิต หลักสตู รรฐั ประศาสนศาสตรบณั ฑิต หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ หลักสตู รรัฐศาสตรบัณฑติ สาขาวิชานติ ิศาสตร์ สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวชิ ารัฐศาสตร์ เพอ่ื การสื่อสารส�ำหรับชาวตา่ งประเทศ คู่มือนักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 51
ประธานหลักสตู ร ดร.วุธยา สบื เทพ ดร.วรศิ รา ยางกลาง อาจารยศ์ ศพิ งษ์ วงศษ์ า ผศ.นยั นป์ พร ชุติภาดา หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑิต หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต หลักสตู รครุศาสตรบณั ฑิต หลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าภาษาไทย สาขาวชิ าภาษาองั กฤษ สาขาวชิ าดนตรี สาขาวชิ านาฏศิลป์ไทย ผศ.ดร.สืบศกั ด์ิ สิริมงคลกาล ผศ.ตุลา คมกฤต มโนรัตน์ อาจารยม์ านิตย์ อรรคชาติ ผศ.ดร.ธนชาติ หลอ่ นกลาง หลักสูตรครุศาสตรบณั ฑติ หลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑติ หลักสตู รครุศาสตรบณั ฑิต หลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวิชาศลิ ปศกึ ษา สาขาวิชาสงั คมศึกษา สาขาวิชาพทุ ธศาสนศึกษา สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ ผศ.ดร.พมิ พพ์ จี บรรจงปรุ ผศ.ดร.จริ ัฐิพร ไทยงูเหลือม รศ.ดร.ประยุทธ ไทยธานี รศ.ดร.ชคตั ตรยั รยะสวสั ดิ์ อาจารย์มยรุ ี แคนตะ หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑิต หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑติ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑติ กลุม่ วิชาภาษาฝรง่ั เศส สาขาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย สาขาวิชาการพัฒนาศักยภาพมนษุ ย์ สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน 52 คู่มอื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
สาขาวิชาท่ีเปิดสอน 3.สาขาวชิ าศลิ ปศึกษา 6.สาขาวิชานาฏศลิ ปไ์ ทย 1.ระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต 1.สาขาวิชาภาษาไทย 2.สาขาวชิ าภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สารส�ำหรบั ชาวตา่ งประเทศ 3.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 4.สาขาวิชาภาษาอังกฤษธุรกิจ 5.สาขาวิชาภาษาญป่ี ุ่น 6.สาขาวิชาภาษาจีน 7.สาขาวิชาสารสนเทศศาสตรแ์ ละบรรณารกั ษศาสตร์ 8.สาขาวชิ าการพัฒนาสังคม หลกั สูตรนิตศิ าสตรบัณฑติ 1.สาขาวชิ านิตศิ าสตร์ หลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรบัณฑติ 1.สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ หลักสูตรรัฐศาสตรบณั ฑิต 1. สาขาวิชารัฐศาสตร์ หลักสูตรศลิ ปกรรมศาสตรบัณฑิต 1.สาขาวชิ าออกแบบนิเทศศลิ ป์ 2.สาขาวิชาทศั นศิลป์ หลกั สูตรครศุ าสตรบณั ฑติ 1.สาขาวิชาภาษาไทย 2.สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 4.สาขาวชิ าสงั คมศึกษา 5.สาขาวชิ าดนตร ี 7.สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา คมู่ ือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 53
กล่มุ วชิ า 1.กลมุ่ วิชาภาษาฝร่ังเศส 2.ระดบั ปริญญามหาบัณฑิตศึกษา หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต 1.สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ 1.สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ 1. สาขาวิชาภาษาไทย 3. ระดบั ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต 1 สาขาวิชาการจดั การภาครัฐและภาคเอกชน งานที่ให้บรกิ าร - งานบรกิ ารวชิ าการและสง่ เสรมิ การเรียนการสอน - งานการเงินและพสั ดุ - งานโสตทัศนปู กรณ์ - งานธุรการและสารบรรณ - งานบรกิ ารนกั ศึกษา - งานประชาสมั พันธ์ - งานบุคลากรและสวสั ดิการ - งานวิจยั และบรกิ ารวิชาการสังคม 54 คมู่ อื นักศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ภาพถา่ ยอาคาร/ส�ำนักงาน สถานทตี่ ้ัง อาคาร 36 ชน้ั 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หมายเลขโทรศพั ท์ 0-4400-9009 หมายเลขภายใน 3620, 3621, 3622, 3625, 3628 เว็บไซต ์ www.human.nrru.ac.th คูม่ อื นกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 55
คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี www.sciencetech.nrru.ac.th
ประวัติโดยยอ่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ก�ำเนิดขึ้นมาเม่ือมีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติวิทยาลัยครูพุทธศักราช 2518 เมื่อวันท่ี 19 สิงหาคม 2518 ท�ำให้วิทยาลัยครูนครราชสีมาได้รับ การยกฐานะเปน็ สถาบันอดุ มศึกษา และมีการแบง่ สว่ นราชการเป็น 4 สว่ น คือ ส�ำนักงานอธิการ คณะวิชาครุศาสตร์ คณะวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และคณะวิชาวิทยาศาสตร์ แต่การผลิตก�ำลังคนยังคงผลิตเฉพาะสาขา การศกึ ษา ตอ่ มาไดม้ กี ารประกาศใชพ้ ระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครฉู บบั ที่ 2 พทุ ธศกั ราช 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครผู ลติ บณั ฑติ สาขาวชิ าชพี อนื่ ทไ่ี มใ่ ชว่ ชิ าชพี ครไู ด้ คณะวทิ ยาศาสตรไ์ ดเ้ ปดิ สอนสาขาวชิ าดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ หลายสาขาวชิ า เช่น คอมพิวเตอร์ วิทยาการคอมพวิ เตอร์ เคมีปฏิบตั ิ เคมี พืชศาสตร์ เทคโนโลยกี ารเกษตร สง่ เสริม และส่อื สารการเกษตร คหกรรมศาสตร์ทวั่ ไป เปน็ ตน้ เมอ่ื มกี ารประกาศใชพ้ ระราชบัญญตั สิ ถาบนั ราชภฏั ในวันที่ 25 มกราคม 2538 วิทยาลยั ครูนครราชสมี า เปลี่ยนเป็นสถาบันราชภัฏนครราชสีมา คณะวิชาวิทยาศาสตร์เปล่ียนช่ือเป็นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีภาควชิ าและโปรแกรมวิชาในสงั กดั 9 ภาควิชา และ 1 โปรแกรมวชิ า ไดแ้ ก่ 1. ภาควชิ าเกษตรศาสตร ์ 2. ภาควชิ าคณติ ศาสตรแ์ ละสถิติ 3. ภาควิชาเคม ี 4. ภาควชิ าชวี วิทยา 5. ภาควชิ าฟิสิกส์และวทิ ยาศาสตร์ทั่วไป 6. ภาควชิ าคหกรรมศาสตร์ 7. ภาควิชาคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 8. ภาควิชาหัตถศึกษาและอตุ สาหกรรมศิลป์ 9. ภาควิชาวทิ ยาศาสตร์สขุ ภาพ 10. โปรแกรมวิชาวิทยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม ในปลายปกี ารศกึ ษา 2541 ไดม้ พี ระราชบญั ญตั กิ ารแบง่ สว่ นราชการของสถาบนั ราชภฏั ฉบบั ใหมแ่ ตล่ ะคณะ ไมม่ ีภาควิชา ทำ� ให้มกี ารเปลี่ยนแปลงโครงสรา้ งการบริหารงานวิชาการของคณะจากแบบมภี าควิชาเป็นการบรหิ าร แบบโปรแกรมวชิ า จงึ ไดม้ กี ารแตง่ ตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารโปรแกรมวชิ าชดุ แรกตามคำ� สงั่ สถาบนั ราชภฏั นครราชสมี า 452/2542 ลงวนั ที่ 19 พฤษภาคม 2542 มคี ณะกรรมการโปรแกรมวชิ าทง้ั หมด 25 ชดุ หลงั จากนัน้ ได้มคี �ำส่ังเพ่ิม เติมและเปล่ียนแปลงตามวาระของคณะกรรมการ ต่อมาได้มีการรวมคณะกรรมการของบางโปรแกรมวิชาเข้าเป็น ชดุ เดียวกนั ตามคำ� สง่ั สถาบันราชภฏั นครราชสมี า 760/2544 ลงวันท่ี 18 พฤษภาคม 2544 ทำ� ใหม้ คี ณะกรรมการ โปรแกรมวิชา 15 ชุด ได้แก่ คมู่ อื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 57
1. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์และสถติ ิประยุกต์ 2. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาเคมีและเคมีปฏบิ ัติ 3. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาชีววทิ ยาและชวี วทิ ยาประยุกต์ 4. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาฟสิ กิ ส์และวิทยาศาสตร์ทัว่ ไป 5. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา 6. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าคหกรรมศาสตร์ 7. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาสขุ ศึกษา 8. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม 9. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเกษตรศาสตร์ 10. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาเทคโนโลยกี ารเกษตรและเกษตรกรรม 11. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร 12. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าอุตสาหกรรมศลิ ป์ 13. คณะกรรมการโปรแกรมวิชากอ่ สรา้ งและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ก่อสร้าง) 14. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมและเซรามิกส์ 15. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าอิเล็กทรอนิกสแ์ ละเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (อเิ ลก็ ทรอนกิ ส)์ ระยะตอ่ มาในเดอื นกรกฎาคม 2545 สถาบนั ไดอ้ นุมัติใหม้ ีโครงการจัดตงั้ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมและ ไดแ้ ยกโปรแกรมวิชาในกลมุ่ วิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมและวิศวกรรม 4 โปรแกรมวิชาออกไป จงึ มคี ณะกรรมการ โปรแกรมวชิ าคงเหลอื อย่ทู ั้งหมด 11 ชุด ได้แก่ 1. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาคณิตศาสตร์และสถิติประยกุ ต์ 2. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเคมแี ละเคมีปฏิบัติ 3. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาชีววิทยาและชวี วทิ ยาประยกุ ต์ 4. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาฟสิ กิ สแ์ ละวิทยาศาสตรท์ ่วั ไป 5. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวิทยาการคอมพิวเตอรแ์ ละคอมพิวเตอร์ศกึ ษา 6. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาคหกรรมศาสตร์ 58 ค่มู อื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
7. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าสุขศกึ ษา 8. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 9. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาเกษตรศาสตร์ 10. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเทคโนโลยีการเกษตรและเกษตรกรรม 11. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร ตอ่ มาตงั้ แตป่ ี 2542 จนถงึ วนั ที่ 30 กนั ยายน 2559 คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณะกรรมการ บริหารวิชาการแบบโปรแกรมวชิ าทั้งหมด 13 ชดุ ปฏบิ ัติหน้าท่ี 1. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเกษตรศาสตร์ 2. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละสถติ ิประยกุ ต์ 3. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเคมี 4. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาคหกรรมศาสตร์ 5. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา 6. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาชวี วทิ ยา 7. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าฟิสกิ สแ์ ละวิทยาศาสตร์ทัว่ ไป 8. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาภมู สิ ารสนเทศ 9. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร 10. คณะกรรมการโปรแกรมวิชาวทิ ยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ ม 11. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าวทิ ยาศาสตรก์ ารกฬี าและการออกกำ� ลังกาย 12. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าวิทยาการสารสนเทศ 13. คณะกรรมการโปรแกรมวชิ าเทคนคิ การสตั วแพทย์ ปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ปรบั การบรหิ ารงานวชิ าการเปน็ แบบหลกั สตู ร คณะวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จงึ ไดแ้ ตง่ ตงั้ กรรมการบรหิ ารวชิ าการแบบหลกั สตู รในระดบั ปรญิ ญาตรี หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) และครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.) รวมทงั้ สิ้น จ�ำนวน 20 หลักสตู ร ดงั น้ี คมู่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 59
1. หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาเกษตรศาสตร์ 2. หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สาขาคหกรรมศาสตร์ 3. หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สาขาเคมี 4. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สาขาชีววิทยา 5. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) สาขาเทคนคิ การสัตวแพทย์ 6. หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑติ (วท.บ.) สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) สาขาวทิ ยาการคอมพวิ เตอร์ 8. หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สาขาระบบสารสนเทศเพ่อื การจัดการ 9. หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สาขาฟิสกิ ส์ 10. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาภมู สิ ารสนเทศ 11. หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) สาขาวิทยาศาสตร์การกฬี าและการออกกำ� ลังกาย 12. หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ (วท.บ.) สาขาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการอาหาร 13. หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) สาขาวิทยาศาสตร์สงิ่ แวดลอ้ ม 14. หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) สาขาสถติ ปิ ระยกุ ต์ 15. ครุศาสตรบัณฑติ (ค.บ.) สาขาคณติ ศาสตร์ 16. ครศุ าสตรบณั ฑิต (ค.บ.) สาขาคอมพวิ เตอรศ์ กึ ษา 17. ครศุ าสตรบณั ฑิต (ค.บ.) สาขาเคมี 18. ครุศาสตรบัณฑติ (ค.บ.) สาขาชีววิทยา 19. ครุศาสตรบัณฑติ (ค.บ.) สาขาฟิสกิ ส์ 20. ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิทยาศาสตรท์ ัว่ ไป 60 คูม่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ปรัชญา คุณธรรมนำ� ความรูส้ ทู่ ีพ่ ึง่ ของทอ้ งถ่ิน วิสยั ทัศน ์ เป็นผู้น�ำด้านการผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีท่ีมีคุณภาพเป็นเลิศ โดยกระบวนการ จัดการเรียนการสอน เพื่อการพัฒนาชมุ ชนและท้องถนิ่ ใหม้ ีความเข้มแข็งและยงั่ ยนื พันธกิจ 1. ผลิตบัณฑิตด้านวิทยาศาสตร์ที่มีความรู้เป็นสากล มีความคิดสร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิต สาธารณะ มีความรกั และความผกู พันตอ่ ท้องถนิ่ เปน็ ท่ีพง่ึ ทางปัญญาของสงั คม 2. สรา้ งงานวจิ ยั อนั เปน็ ประโยชน์ทางวชิ าการ และสนองความต้องการของสงั คม 3. ใหบ้ รกิ ารวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยที เ่ี หมาะสมสชู่ มุ ชน โดยบรู ณาการภมู ปิ ญั ญาสากลกบั ภมู ปิ ญั ญา ทอ้ งถน่ิ เพ่อื การพฒั นาท่ยี ่ังยืน 4. สร้างจิตส�ำนกึ ในการท�ำนบุ �ำรงุ ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรมไทย และภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ 5. ส่งเสรมิ และสืบสานโครงการอนั เนื่องมาจากแนวพระราชดำ� ริเพอื่ พัฒนาท้องถ่ิน สีประจำ� คณะ สเี หลือง คณุ ลกั ษณะบณั ฑิตทพี่ งึ ประสงค์ของคณะ บณั ฑิตมีความร้เู ป็นสากล มคี วามคิดสร้างสรรค์ มคี ุณธรรม จริยธรรม มีจิตสาธารณะ มคี วามรกั และความ ผกู พนั ต่อท้องถิ่น เปน็ ที่พึ่งทางปญั ญาของสังคม ค่มู อื นกั ศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 61
ผบู้ รหิ ารคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ผศ.ดร.พิเศษ ตู้กลาง คณบดีคณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผศ.ดร.พฒั นพงษ์ จ�ำรสั ประเสรฐิ ผศ.น.สพ.ประยทุ ธ กุศลรตั น์ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการและวเิ ทศสัมพันธ์ รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ อาจารยธ์ ชั วสั ส์ ต้ังตรงขนั ติ ผศ.น�ำสขุ นวพงษ์พิพฒั น์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศกึ ษา รกั ษาราชการแทนหัวหน้าสำ� นกั งานคณบดี ผศ.ดร.ขนิษฐา กุลนาวิน รองคณบดฝี า่ ยแผนงานงบประมาณและประกนั คุณภาพการศึกษา 62 คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประธานหลักสูตร ดร.ศวิ พร แพงค�ำ อาจารยเ์ มลดา อภยั รัตน์ ดร.สายฝน อาชนะชัย คอหน์ ฮอร์สต์ ดร.วชั รพงษ์ วงคเ์ ขยี ว หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาเกษตรศาสตร์ สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ สาขาวชิ าเคมี สาขาวิชาฟิสกิ ส์ ดร.ชายฉัตร บญุ ญานุสทิ ธ์ิ ผศ.ดร.วาสนา ภานรุ กั ษ์ ผศ.น.สพ.สมพงษ์ วงศม์ า หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าชวี วิทยา สาขาวิชาภมู ิสารสนเทศ สาขาวชิ าเทคนิคการสตั วแพทย์ ดร.พชั นา สวุ รรณ ผศ.ดร.หฤษฎส์ ลกั ษณ์ วริ ยิ ะ ผศ.ดร.ทิพยา ถินสูงเนิน อาจารย์ยศพร การงาน หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ หลักสตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าสถิตปิ ระยกุ ต์ สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์สง่ิ แวดลอ้ ม สาขาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ สาขาวชิ าระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ ผศ.ดร.รณชยั ช่ืนธวชั อาจารยส์ มยศ บอ่ น้อย อาจารย์จิติวัฒนา ค�ำกลง้ิ หลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต หลักสูตรวทิ ยาศาสตร์บัณฑิต หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิทยาศาสตรก์ ารกีฬาและการออกก�ำลงั กาย สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คู่มือนกั ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 63
ประธานหลกั สูตร ผศ.ดร.มณฑล วิสิทธิ ผศ.ดร.กมณชนก วงศ์สุขสิน ผศ.ธนวัฒน์ รังสงู เนิน หลักสตู รครุศาสตรบณั ฑิต หลักสตู รครศุ าสตรบัณฑติ หลักสตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าชวี วิทยา สาขาวิชาเคมี สาขาวิชาฟสิ กิ ส์ ผศ.ดร.สายใจ ปอสูงเนนิ ผศ.นำ� สขุ นวพงษ์พิพฒั น์ ดร.อภสั รา ไชยจติ ร์ หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑติ หลักสูตรครศุ าสตรบณั ฑติ หลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ท่ัวไป สาขาวชิ าคณิตศาสตร์ สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศ์ ึกษา ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง ผศ.ดร.ณพฐ์ โสภพั ันธ์ ผศ.ดร.สายสนุ ีย์ จับโจร หลักสูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต หลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑติ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรศึกษา สาขาวชิ าคณติ ศาสตรศ์ ึกษา สาขาวชิ าระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ทิ ลั ผศ.ดร.นริ ันดร์ คงฤทธิ์ หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต/ปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยกี ารจดั การสง่ิ แวดล้อม 64 คู่มือนักศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
สาขาวิชาท่เี ปิดสอน 1.ระดบั ปริญญาตรี หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าเกษตรศาสตร์ 2. สาขาวชิ าคหกรรมศาสตร์ 3. สาขาวิชาเคมี 4. สาขาวิชาชีววิทยา 5. สาขาวชิ าเทคนคิ การสตั วแพทย์ 6. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 7. สาขาวชิ าวิทยาการคอมพวิ เตอร์ 8. สาขาวชิ าระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 9. สาขาวิชาฟิสกิ ส์ 10. สาขาวิชาภูมิสารสนเทศ 11. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกฬี าและการออกก�ำลังกาย 12. สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร 13. สาขาวิชาวิทยาศาสตรส์ ่ิงแวดลอ้ ม 14. สาขาวชิ าสถติ ิประยุกต์ หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ 2. สาขาวชิ าคอมพิวเตอรศ์ กึ ษา 3. สาขาวิชาเคมี 4. สาขาวิชาชีววิทยา 5. สาขาวิชาฟสิ กิ ส์ 6. สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป คมู่ อื นกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 65
2.ระดับบัณฑิตศึกษา หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต 1. สาขาวชิ าวิทยาศาสตรศึกษา 2. สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ศึกษา 3. สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารจัดการส่งิ แวดลอ้ ม 4. สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ 5. สาขาวชิ าระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดิจทิ ลั หลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ 1. สาขาวิชาเทคโนโลยีการจัดการสงิ่ แวดล้อม งานท่ีให้บรกิ าร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1 ผลติ บัณฑิตด้านวทิ ยาศาสตร์ 2 สร้างงานวจิ ยั และใหบ้ ริการวิชาการ รวมทง้ั ถ่ายทอดเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมส่ชู มุ ชน ศูนย์วิทยาศาสตร์ 1 ใหบ้ รกิ ารตอ่ การเรยี นการสอนและการทำ� งานวิจยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ ในการพัฒนาท้องถ่นิ 2 ใหบ้ รกิ ารอบรมครแู ละนกั เรยี นดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละคณติ ศาสตรข์ องโรงเรยี นทเี่ ปดิ สอนในระดบั มัธยมศึกษาและระดบั ประถมศกึ ษาในทอ้ งถิน่ 3 ใหบ้ ริการตรวจวเิ คราะหว์ สั ดตุ วั อย่างทางวทิ ยาศาสตร์แกช่ ุมชนดว้ ยวธิ กี ารมาตรฐานสากล 66 คมู่ อื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ภาพถา่ ยอาคาร/ส�ำนกั งาน สถานท่ตี ง้ั อาคาร 32 ชนั้ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า หมายเลขโทรศพั ท ์ 044 272939, 0-4400-9009 หมายเลขภายใน 3200, 3223, 3222 เว็บไซต ์ www.sciencetech.nrru.ac.th ค่มู อื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 67
คณะวทิ ยาการจัดการ www.fms.nrru.ac.th
ประวัตโิ ดยยอ่ คณะวทิ ยาการจดั การ ถอื กำ� เนดิ ขน้ึ ในชว่ ง วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี าไดร้ บั การสถาปนาจากโรงเรยี นฝกึ หดั ครู นครราชสีมา และได้เปลย่ี นชื่อและสถานภาพเป็น สถาบันราชภฏั นครราชสีมา ตามพระราชบญั ญตั ิสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 ตั้งแต่วันที่ 25 มกราคม 2538 และเปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลยั ราชภฏั พ.ศ. 2547 เมอ่ื วันท่ี 10 มิถุนายน 2547 ภูมิหลัง : คณะวิทยาการจัดการ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า กอ่ ตงั้ ขน้ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2529 ซง่ึ ขณะนนั้ ยงั มสี ถานภาพ เป็นวิทยาลัยครู สังกัดกรมฝึกหัดครู ใช้ช่ือว่า “คณะวิชาวิทยาการจัดการ” โดยเร่ิมเปิดสอนระดับอนุปริญญา ศลิ ปศาสตร์ (อ.ศศ) หลกั สูตร 2 ปี จ�ำนวน 2 สาขาวชิ า คือ สาขาบรหิ ารธุรกิจ สาขาวชิ าการท่องเที่ยว และระดับ ปริญญาตรี 1 สาขา คอื สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์ และทำ� การเปดิ เรยี นเมื่อวันที่ 1 มิถนุ ายน 2529 ในการก่อตั้งคณะวทิ ยาการจดั การ รองศาสตราจารย์ ดร.อนิ ทร์ ศรีคณุ อธกิ ารบดวี ิทยาลัยครูนครราชสมี า ได้อนุมัติงบประมาณแผ่นดินและเงินบ�ำรุงการศึกษา โดยให้ใช้อาคาร 13 เป็นอาคารเรียนและที่ท�ำการคณะ วิทยาการคณะวิชา ท้ังนี้ได้แบ่งส่วนราชการในคณะวิชาวิทยาการจัดการตามประกาศแบ่งส่วนราชการในวิทยาลัย ครนู ครราชสมี า กระทรวงศกึ ษาธกิ ารออกเปน็ 5 ภาควิชา ดงั นี้ 1. ภาควิชาการเงินและการบัญชี 2. ภาควิชาการตลาด 3. ภาควิชาการสือ่ สารและการประชาสมั พันธ์ 4. ภาควชิ าบริหารธรุ กจิ และสหกรณ์ 5. ภาควิชาเศรษฐศาสตร ์ คณะวชิ าวทิ ยาการจดั การ เปลย่ี นชอ่ื เปน็ คณะวทิ ยาการจดั การ ตามการพระราชทานนามใหมจ่ าก สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา เป็น มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า เมอื่ วันที่ 15 มิถนุ ายน 2547 เปน็ ตน้ มา และในวนั ท่ี1สงิ หาคม2529ไดม้ กี ารสถาปนาคณะวชิ าวทิ ยาการจดั การณอาคาร13โดยมนี ายจรญู หลงั่ นำ�้ สงั ข์ ดำ� รงต�ำแหน่งหัวหน้าคณะวิชาวทิ ยาการจดั การคนแรก จงึ ทำ� ใหค้ ณะวิทยาการจัดการถือเอา วันท่ี 1 สงิ หาคม 2529 เปน็ วนั สถาปนาคณะวทิ ยาการจดั การนับจากนน้ั เปน็ ต้นมา คมู่ ือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 69
ปรัญชา แหล่งรวมศาสตร์และศิลป์ของสหวิทยาการ เพื่อการผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการท่ี ตอบสนองสงั คมด้วยความรู้คูค่ ณุ ธรรม ทง้ั ชุมชนท้องถิน่ และสากล วสิ ัยทศั น ์ “องค์กรแห่งความเป็นเลิศในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติและสร้างสรรค์นวัตกรรมด้านวิทยาการ จดั การเพอื่ การพัฒนาทอ้ งถิน่ ” “The organization of excellence for producing hand-on graduates and creative innovators in Management Science for local development” พนั ธกิจ 1. พฒั นาการเรยี นการสอน ผลติ บณั ฑติ ทม่ี คี ณุ ภาพสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงานและสงั คม รวมทัง้ มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสอดคล้องกับระบบคณุ ค่า (Value) และวัฒนธรรมของคนไทย 2. ท�ำการวิจัยเพ่ือขยายฐานความรู้เดิมและสร้างองค์ความรู้ใหม่ ทั้งเชิงแนวคิดทฤษฎีและการประยุกต์ โดยใช้ศักยภาพของอาจารย์ภายในคณะ และจากภายนอก ท้ังในด้านผู้เช่ียวชาญและทรัพยากรต่างๆ ท่ีเกิดจากผลของเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยราชการ สถาบันการศึกษา และภาคธุรกิจเอกชน ท้ังในและนอกจังหวัด 3. ให้บรกิ ารวิชาการแกส่ งั คมโดยยดึ หลกั จิตสำ� นกึ ต่อสว่ นรวม (Public mind) และการไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ 4. ทำ� นุบ�ำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทย โดยดำ� เนนิ การปฏบิ ัติทัง้ คณาจารย์ บุคลากร และนกั ศกึ ษา 5.บรหิ ารจดั การองคก์ ารโดยยดึ หลกั ธรรมาภบิ าลความสมั พนั ธฉ์ นั ทเ์ พอื่ นพ่ีนอ้ งความซอ่ื สตั ย์ความรบั ผดิ ชอบ ความเป็นหนงึ่ เดยี วกนั และการพึง่ ตนเอง สีประจ�ำคณะ สแี สด ธงประจ�ำคณะ/ตราสัญลักษณ์ประจ�ำคณะ คณุ ลักษณะบณั ฑติ ที่พงึ ประสงค์ ซือ่ สตั ย์ สามัคคี มีวินัย ใจอาสา 70 คูม่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
ผบู้ รหิ ารคณะวทิ ยาการจัดการ ดร.ยุทธกร ฤทธิ์ไธสง คณบดคี ณะวทิ ยาการจัดการ ผศ.ดร.สุธาสินี โพธิ์ชาธาร ผศ.ดร.จฑุ าทพิ ย์ สทุ ธิเทพ อาจารยอ์ ิศรยิ ์ เดชตานนท์ รองคณบดีฝา่ ยวิชาการ รองคณบดีฝ่ายบริหาร รองคณบดีฝ่ายวางแผน และประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา อาจารย์ชษิ ณุพงศ์ ธนพบิ ลู พงศ์ ดร.พวงพรภสั สร์ วริ ิยะ นางชญานน์ นั ท์ ฉิมนาคพันธุ์ รองคณบดีฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษา ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยวจิ ัย และบริการวิชาการ รักษาการหวั หน้าส�ำนกั งานคณบดี คมู่ ือนกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 71
ประธานหลกั สตู ร ผศ.ดร.ศิริพร เลศิ ยิง่ ยศ ดร.เกศนิ ี ถนอมพลกรงั ดร.จารวุ รรณ พนมจีระสวสั ดิ์ ดร.ปิยะมาศ สรุ ภพพศิ ิษฐ์ หลกั สูตรบริหารธุรกจิ บัณฑติ หลกั สูตรบริหารธุรกิจบณั ฑิต หลกั สตู รบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑติ หลักสตู รบริหารธุรกิจบัณฑติ สาขาวชิ าการจดั การ สาขาวิชาการเงนิ และการธนาคาร สาขาวชิ าการตลาด สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ ดร.ศภุ ชานันท์ วนภู ผศ.ดร.โชติมา ไชยวงศ์เกยี รติ ผศ.เอกราช หนูแกว้ อาจารยส์ ภุ าพร ล�้ำวรรณวงศ์ หลกั สูตรบรหิ ารธุรกจิ บณั ฑิต หลักสตู รบริหารธุรกจิ บณั ฑติ หลักสูตรบริหารธรุ กจิ บณั ฑิต หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาคอมพิวเตอรธ์ รุ กจิ สาขาวชิ าการจัดการโลจิสตกิ ส์และโซ่อุปทาน สาขาวชิ าการจัดการธรุ กิจการคา้ สมัยใหม่ สาขาวิชาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว อาจารย์ขวัญอสิ รา ภูมศิ ิรไิ พบูลย์ ดร.จิรพฒั น์ โทพล ดร.อัญรัตน์ วิเชยี ร ดร.สกุ ฤตา บรุ ินทร์วฒั นา ผศ.ดร.สธุ าสินี โพธ์ิชาธาร หลกั สตู รศิลปศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รเศรษฐศาสตรบัณฑิต หลกั สูตรบญั ชบี ณั ฑิต หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กจิ มหาบณั ฑิต/ดุษฎีบณั ฑติ สาขาวิชาการจดั การโรงแรม สาขาวชิ านเิ ทศศาสตร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ สาขาวิชาบัญชี สาขาวิชาบริหารธรุ กิจ 72 คมู่ ือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
สาขาวชิ าทเ่ี ปิดสอน 1.ระดับปริญญาตรี หลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจบณั ฑิต 1. สาขาวชิ าการจัดการ 2. สาขาวิชาการเงินและการธนาคาร 3. สาขาวิชาการตลาด 4. สาขาวชิ าการจัดการทรัพยากรมนุษย์ 5. สาขาวชิ าคอมพิวเตอรธ์ รุ กิจ 6. สาขาวิชาการจดั การโลจสิ ตกิ และโซอ่ ุปทาน หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าการจดั การโรงแรม 2. สาขาวิชาอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวและธุรกจิ บรกิ าร หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ 1. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ หลักสตู รบัญชบี ัณฑิต 1. สาขาวิชาบญั ชี 2.ระดับบัณฑติ ศกึ ษา หลกั สูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ 1. สาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ หลักสตู รบริหารธุรกจิ ดุษฎบี ณั ฑติ 1. สาขาวชิ าบรหิ ารธุรกิจ คู่มือนกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 73
ภาพถ่ายอาคาร/ส�ำนกั งาน สถานท่ีตง้ั อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 50 พรรษา มหาวชิราลงกรณ อาคาร 22 ชน้ั 1 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 044-009-009 หมายเลขภายใน 2200, 2210 และ 044-257789 โทรสาร 044-272-940 www.fms.nrru.ac.th หมายเลขโทรศพั ท ์ เวบ็ ไซต์ 74 คมู่ ือนักศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ www.old.nrru.ac.th/phnrru/
ประวตั ิโดยย่อ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามีความตระหนักและเห็นความส�ำคัญในการผลิตบัณฑิตสาขาวิชา สาธารณสุขศาสตร์ เพื่อตอบสนองนโยบายการพัฒนาสุขภาพประชาชนจึงได้เปิดสอนหลักสูตรสาธารณสุข ศาสตร มหาบณั ฑติ สาขาการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชนตง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2546 และเปดิ สอนหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2552 โดยอยใู่ นความรับผดิ ชอบของโปรแกรมวิชาสาธารณสขุ ศาสตรส์ งั กัดคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี พ.ศ. 2556 หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบัณฑิตมนี ักศึกษารวมทกุ ชัน้ ปีประมาณ 1,200 คนมหาวิทยาลยั จึงมีนโยบายยกฐานะโปรแกรมวิชาสาธารณสุขศาสตร์ให้เป็นคณะสาธารณสุขศาสตร์โดยได้แต่งต้ังคณะกรรมการ โครงการจัดตั้งคณะสาธารณสุขศาสตร์ข้ึน และนาเสนอขออนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยโดยมีประกาศจัดต้ังคณะ สาธารณสขุ ศาสตร์เม่อื วนั ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556 ปี พ.ศ. 2561 มีการเปิดสอนหลกั สูตรระดบั ปริญญาเอก 1 หลกั สตู ร คือ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดษุ ฎี บณั ฑติ และ ปี พ.ศ. 2562 มีการเปดิ สอนหลกั สูตรระดับปริญญาตรีเพม่ิ อีก 1 หลกั สตู ร คือ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาอนามยั สิง่ แวดล้อม ปรชั ญา ความรู้ค่คู ณุ ธรรม นำ� สรา้ งเสริมสุขภาพและความปลอดภัย วิสัยทัศน ์ เป็นสถาบนั การศกึ ษาด้านสาธารณสุขเพ่อื พัฒนาทอ้ งถ่นิ ในระดับอาเซยี น พันธกิจ 1) ผลติ บณั ฑติ ทมี่ ีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานวิชาชพี ดา้ นสาธารณสุข 2) สร้างองคค์ วามรู้ใหม่ในดา้ นสาธารณสุขศาสตร์ 3) บรกิ ารวิชาการดา้ นสุขภาพแก่ชุมชน 4) ทำ� นบุ ำ� รุงศลิ ปวัฒนธรรม และภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ด้านสขุ ภาพ 5) บริหารจดั การภายใต้การก�ำกบั ดแู ลกจิ การท่ดี ี สีประจ�ำคณะ ชมพูโอรส 76 คมู่ ือนักศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
คุณลักษณะบัณฑติ ท่พี งึ ประสงค์ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑิต (สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน) หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน) ได้ก�ำหนดคุณลักษณะบัณฑิตที่ พึงประสงค์ไวด้ งั นี้ 1 เปน นกั วชิ าชพี สาธารณสขุ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทด่ี ว้ ยความรบั ผดิ ชอบ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี สาธารณสขุ เคารพในศกั ดิ์ศรขี องความเปน มนุษย 2 คิดอยางเปนระบบ มีเหตุผล และวิเคราะหสถานการณดานสุขภาพของชุมชนชนบท ชุมชนเมือง และ ชมุ ชนอตุ สาหกรรมไดอ ยา งเปนองครวม 3 วางแผนแกปญหา และปฏิบัติงานสาธารณสุขและส่ิงแวดลอมไดอยางสรางสรรคและมีประสิทธิภาพ รว มกับชุมชนและหนว ยงานที่เก่ียวขอ งตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด 4 ใหบ ริการวิชาการสาธารณสขุ และสรางเสริมสุขภาพแกป ระชาชนและหนวยงานอน่ื ๆ ได 5 ทํางานเปนทีม มีมนุษยสัมพันธ มีทักษะการสื่อสาร และใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางเหมาะสมมี ประสิทธภิ าพ หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ (สาขาวิชาอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ) หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (สาขาวชิ าอาชีวอนามยั และความปลอดภยั ) ไดก้ �ำหนดคณุ ลกั ษณะบัณฑติ ท่ี พงึ ประสงค์ไวด้ งั นี้ 1 มคี วามรู้ ความสามารถ และทักษะ การคาดการณ์ ตระหนัก ประเมนิ และควบคุม ปัจจยั สงิ่ แวดลอ้ ม ในการท�ำงาน รวมท้งั ควบคุมอบุ ัตเิ หตแุ ละอบุ ัติการณ์ โดยสามารถประยุกต์องคค์ วามรู้ไปใชใ้ นการประกอบวิชาชีพ ได้ เพือ่ ให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพท่ีดี มคี วามปลอดภัยไม่เกดิ ความเจบ็ ป่วยหรือโรคจากการท�ำงานสอดคลอ้ งตาม กฎหมายหรอื มาตรฐานทางวชิ าการ 2 มีความรู้ความเข้าใจในประเด็นปัญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย สามารถเลือกใช้เทคนิคทาง ระบบการจัดการที่เก่ียวขอ้ งกับอาชีวอนามัย ความปลอดภัยและสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน สามารถใช้ข้อมลู สถิติ ระบาดวทิ ยามาวิเคราะห์หาปัจจัยเสีย่ ง และผลกระทบต่อสุขภาพอย่างเหมาะสม คู่มือนักศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 77
3 เป็นผนู้ �ำทางวชิ าการด้านอาชวี อนามัยและความปลอดภัย มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่ มีความ สามารถในการท�ำงานรว่ มกับผอู้ ่นื ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิผล 4 มีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ และสามารถสื่อสารกับบุคคลกลุ่ม ต่างๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม รวมทงั้ สอื่ สารดว้ ยภาษาสากล 5 มคี วามรคู้ วามสามารถดา้ นกฎหมายอาชวี อนามยั ความปลอดภยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน กฎหมาย สาธารณสุข และกฎหมายอ่ืนๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 6 มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมในการดำ� รงชวี ติ มคี วามรบั ผดิ ชอบในการปฏบิ ตั งิ าน โดยคำ� นงึ ถงึ จรรยาบรรณวชิ าชพี ดา้ นอาชีวอนามัยความปลอดภยั และดา้ นสาธารณสขุ หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต (สาขาวิชาอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม) หลักสูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต (สาขาวิชาอนามัยสง่ิ แวดลอ้ ม) ไดก้ ำ� หนดคุณลกั ษณะบณั ฑติ ทีพ่ งึ ประสงคไ์ ว้ ดังน้ี 1 มคี วามรอบรใู้ นศาสตรด์ า้ นอนามยั สง่ิ แวดลอ้ มและศาสตรท์ เี่ กย่ี วขอ้ ง สามารถบรู ณาการองคค์ วามรใู้ นการ รกั ษาคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มและป้องกนั การเสื่อมคณุ ภาพสิ่งแวดลอ้ ม อนั สง่ ผลกระทบตอ่ สุขภาพอนามยั ของมนุษย์ 2 ส�ำรวจวินิจฉัยและวิเคราะห์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเพื่อบ่งชี้ และประเมินผลกระทบรวมทั้ง ความเสี่ยงด้านต่างๆ 3 เกบ็ ตวั อยา่ งวเิ คราะหแ์ ละวางแผนเฝา้ ระวงั คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ตลอดจนดแู ลควบคมุ ระบบควบคมุ มลพษิ ส่ิงแวดล้อม และเลือกใช้เทคโนโลยีทเี่ หมาะสมในการรักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดล้อมได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 4 ศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรแู้ ละประสบการณจ์ ากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และแหลง่ ความรอู้ น่ื ๆ โดยใชก้ ระบวนการ วิจัยในการพัฒนางาน และองคค์ วามรู้ด้านอนามยั สิ่งแวดล้อม 5 บริหารจัดการและให้การอบรมทางวิชาสุขาภิบาลและอนามัยส่ิงแวดล้อมท่ีทันสมัย และเท่าทันการ เปลี่ยนแปลง เพือ่ ให้เกดิ การพฒั นาอนามยั สิง่ แวดล้อมอยา่ งยั่งยืน ตลอดจนดำ� เนินการตามกฎหมาย 6 ควบคมุ คณุ ภาพของสภาพแวดลอ้ มใหอ้ ยใู่ นเกณฑม์ าตรฐานคณุ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มและการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ดา้ นต่างๆ ได้ 78 ค่มู อื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
7 ประเมนิ การเปลย่ี นแปลงของสง่ิ แวดลอ้ มอนั เนอ่ื งจากการกระทำ� ของมนษุ ย์ และผลกระทบตอ่ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มและสขุ ภาพอนามยั ของมนษุ ยอ์ นั เป็นผลสืบเนือ่ งจากกจิ กรรมนน้ั ๆ 8 ดำ� เนินงานเป็นระบบตามจรรยาบรรณวชิ าชีพ มมี นุษยสัมพันธ์ คณุ ธรรม และจริยธรรม และดำ� รงตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ีในการสรา้ งระบบส่งิ แวดล้อมทเ่ี ออื้ หนุนสุขภาพได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบณั ฑติ ไดก้ ำ� หนดคณุ ลกั ษณะบัณฑติ ท่ีพึงประสงคไ์ ว้ดังน้ี 1 มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถจัดการแก้ไขปัญหา และตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติงาน ภายใต้ กรอบจรรยาบรรณวิชาชีพ และกฎหมาย 2 มคี วามสามารถค้นหาและแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพของประชาชน โดยใชค้ วามร้ทู างสาธารณสุขและศาสตรท์ ี่ เกี่ยวข้องในการประเมินความจ�ำเป็นด้านสขุ ภาพ สถานการณป์ ญั หา วเิ คราะหป์ จั จัยที่ท�ำให้เกดิ ปญั หาสุขภาพ และ วางแผนแกป้ ัญหาสาธารณสุขได้ 3 วิเคราะห์ และสังเคราะหผ์ ลงานวจิ ยั หรอื ด�ำเนินการวิจยั ได้อยา่ งถกู ตอ้ งตามระเบยี บวิธีวิจยั และวางแผน พัฒนาระบบสุขภาพที่สอดคล้องกบั บริบทสังคม 4 สามารถประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ วางแผน บริหารจัดการ ก�ำกับดูแลโครงการ เพื่อแก้ไขปัญหา สาธารณสขุ สิง่ แวดลอ้ มและอาชวี อนามยั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทฺธิภาพ 5 มที กั ษะในการสอ่ื สารและใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศดา้ นสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และเหมาะสม กับบรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรม 6 มีภาวะผู้น�ำ มีมนุษยสัมพันธ์ดี ท�ำงานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ ภาคีเครือข่ายและผู้เกี่ยวข้อง เพอ่ื แก้ไขปัญหาสาธารณสุขระดบั ท้องถ่ินประเทศ และนานาประเทศได้ คมู่ อื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 79
หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบณั ฑิต หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต ได้ก�ำหนดคุณลกั ษณะบัณฑิตท่ีพงึ ประสงค์ไว้ดังน้ี 1 มคี ณุ ธรรมและจรรยาบรรณวชิ าชพี มดี ลุ ยพนิ จิ เชงิ จรยิ ธรรมทเ่ี หมาะสมกบั บรบิ ททางสงั คมและวฒั นธรรม 2 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึงในเน้ือหาทางวิชาชีพ มีความช�ำนาญในการปฏิบัติวิชาชีพสาธารณสุข เฉพาะด้าน 3 สามารถประเมิน วเิ คราะห์ สังเคราะห์ บูรณาการ และจดั การแกไ้ ขปญั หาสาธารณสุขทีม่ ีความซบั ซ้อนได้ โดยใชข้ ้อมูลหลักฐานเชิงประจกั ษ์ ความรู้ และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎีบนพ้ืนฐานขององคค์ วามรู้ระดับสูงและ ความเข้าใจในปัญหาอยา่ งถูกต้อง 4 สามารถท�ำวิจัย และเผยแพร่ผลงานผ่านกระบวนการจัดการความรู้ บูรณาการสร้าง องค์ความรู้และ นวตั กรรมด้านวชิ าชพี สาธารณสขุ และสิ่งแวดลอ้ ม 5 สามารถบรหิ ารจดั การทรพั ยากร ระบบบรกิ ารสขุ ภาพขององคก์ ร เพอื่ สง่ เสรมิ การเขา้ ถงึ บรกิ ารสาธารณสขุ ที่มคี ณุ ภาพส�ำหรับประชากรทุกกลุม่ 6 เป็นผู้น�ำการเปล่ียนแปลงท่ีมีความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ และสังคม ใช้การส่ือสารและถ่ายทอด องค์ความรู้ โดยใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสม เพ่ือยกระดับคุณภาพชีวิตของประชากร 80 คมู่ ือนักศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
ผูบ้ ริหารคณะสาธารณสขุ ศาสตร์ รศ.ดร.พุฒพิ งศ์ สัตยวงศ์ทพิ ย์ คณบดคี ณะสาธารณสขุ ศาสตร์ ดร.ทองทิพย์ สละวงษล์ กั ษณ์ ดร.ทวิ ากรณ์ ราชูธร ดร.พชั รี ศรีกตุ า ดร.อรรถวิทย์ สิงห์ศาลาแสง รองคณบดี ฝ่ายวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ รองคณบดี ฝา่ ยกิจการนักศึกษา รองคณบดี ฝ่ายวางแผนและบริหาร รองคณบดี ฝา่ ยวิชาการศกึ ษา และวเิ ทศสมั พนั ธ์ และจัดการความรู้ อาจารยว์ รลักษณ์ สมบูรณน์ าดี นางปัทมาภรณ์ อำ� ไพกูล ผูช้ ว่ ยคณบดี รกั ษาการหวั หน้าสำ� นกั งานคณบดี คู่มอื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 81
ประธานหลกั สูตร อาจารยฐ์ ิติมา โพธชิ์ ยั อาจารยพ์ นดิ า เทพชาลี อาจารยน์ รา ระวาดชยั รศ.ดร.ธนดิ า ผาติเสนะ หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑิต หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต หลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสาธารณสขุ ชุมชน สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภยั สาขาวิชาอนามัยสิง่ แวดล้อม สาขาวชิ าสาธารณสขุ สาขาวชิ าที่เปดิ สอน 2. ระดับบณั ฑติ ศึกษา หลกั สตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑติ 1. ระดบั ปริญญาตรี 1.สาขาวิชาสาธารณสขุ หลักสตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑิต หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาดุษฎบี ณั ฑติ 1.สาขาวิชาสาธารณสุขชุมชน 1.สาขาวชิ าสาธารณสขุ หลักสตู รวทิ ยาศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าอาชวี อนามัยและความปลอดภัย 2. สาขาวชิ าอนามัยส่ิงแวดลอ้ ม งานที่ให้บริการ 1 งานบริหารท่ัวไป 2 งานบริการการศึกษา 3 งานวจิ ยั และบริการวิชาการ 5 งานกจิ การนักศึกษาและวเิ ทศสัมพนั ธ์ 82 ค่มู อื นักศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ภาพถา่ ยอาคาร/ส�ำนักงาน สถานทีต่ ้ัง อาคารปฏบิ ัติการรวม อาคาร 38 ชัน้ 3 มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสมี า หมายเลขโทรศพั ท์ 044-009-009 หมายเลขภายใน 3831, 3832, 3839 โทรสาร 044-259-009 เวบ็ ไซด ์ www.old.nrru.ac.th/phnrru/ คูม่ ือนกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 83
คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม www.nrru-techno.com/
ประวตั ิโดยย่อ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานทางวิชาการในมหาวิทยาลัย ท่ีรับผิดชอบในการผลิตบัณฑิต ด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ และด้านเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ซ่ึงสอดคล้องกับแผนพัฒนาของสถาบัน ที่มุ่งเน้นการ ผลติ บัณฑิตดา้ นวิทยาศาสตรป์ ระยุกต์ และด้านเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมมากข้ึน เพอ่ื สนองความต้องการของท้องถน่ิ นโยบายของรฐั บาล และแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ทมี่ งุ่ เนน้ พฒั นาคนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มีประวตั ิความเปน็ มา ดังน้ี พ.ศ. 2502 วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี า และเรม่ิ เปดิ หลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าการศกึ ษาชนั้ สงู (ป.กศ. ชนั้ สงู ) ต่อจากระดบั ป.กศ. พ.ศ. 2510 เริ่มผลิตครูประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) โดยรับผู้ส�ำเร็จช้ันเตรียมอุดมศึกษา หรอื มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หรอื เทยี บเทา่ เขา้ เรยี น เปน็ หลกั สตู รการเรยี น 1 ปมี หี มวดวชิ าศลิ ปหตั ถกรรม รบั ผดิ ชอบ การสอนสาขาวิชาศลิ ปหัตถกรรม สอนด้านงานปั้นงานจักสานงานถักทองานประดิษฐ์งานหวายและงานชา่ งตา่ งๆ พ.ศ. 2517 ไดแ้ ยกหมวดวชิ าศลิ ปหตั ถกรรมออกเปน็ 2 หมวด คอื หมวดวชิ าศลิ ปะ และหมวดวชิ าหตั ถศกึ ษา หมวดวชิ าหัตถศกึ ษาสอนเฉพาะกลุ่มงานชา่ งไดแ้ ก่ วชิ าเขียนแบบชา่ งไม้ ชา่ งปูน ชา่ งไฟฟา้ ชา่ งโลหะ ชา่ งยนต์ และ ชา่ งปน้ั จดั สอนในกลมุ่ วชิ าพน้ื ฐานและวชิ าโท ตอ่ มาไดเ้ ปลย่ี นชอื่ จากหมวดวชิ า หตั ถศกึ ษา เปน็ หมวดวชิ าหตั ถศกึ ษา และอตุ สาหกรรมศลิ ป์ สังกดั คณะวิชาวิทยาศาสตร ์ พ.ศ. 2518 มพี ระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครขู น้ึ เปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร สอนถงึ ระดบั ปริญญาตรีแบ่งส่วนราชการในวิทยาลัย คือ ส�ำนักงานอธิการบดี คณะวิชาครุศาสตร์ คณะวิชา มนุษย์ศาสตร์และ สงั คมศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. 2519 สภาการฝกึ หดั ครู เปดิ หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศลิ ปใ์ นระดบั ปรญิ ญาตรี จดั เปน็ วชิ าเอกแบบกวา้ ง ไมม่ วี ิชาโท รบั ผิดชอบโดยภาควชิ าหัตถศกึ ษาและอุตสาหกรรมศิลป์ สงั กัดอย่กู บั คณะวิชาวทิ ยาศาสตร์ พ.ศ. 2524 ภาควิชาหัตถศกึ ษา และอุตสาหกรรมศลิ ปไ์ ดเ้ ปิดสอนหลักสูตรเทคนคิ การอาชีพ (ทอ.) สาขา ก่อสรา้ งและสาขาช่างยนต์ ระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชน้ั สงู พ.ศ. 2538 เรมิ่ ใช้พระราชบัญญัติสถาบันราชภฏั ภาควชิ าหตั ถศกึ ษาและอุตสาหกรรมศลิ ปเ์ ปล่ียนชอื่ เป็น ภาควชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ป์ สงั กดั คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และมกี ารปรบั จากระบบภาควชิ าเปน็ โปรแกรมวชิ า ค่มู ือนกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 85
โดยภาควชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ปแ์ บง่ เปน็ 5 โปรแกรมวชิ า คอื โปรแกรมวชิ าอตุ สาหกรรมศลิ ปโ์ ปรแกรมวชิ าเทคโนโลยี อุตสาหกรรม (ก่อสร้าง) โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (เซรามิกส์) โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (อิเลก็ ทรอนิกส์) และโปรแกรมวชิ าเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (ออกแบบผลิตภัณฑอ์ ุตสาหกรรม) พ.ศ. 2543 สถาบันราชภัฏนครราชสีมา แต่งต้ังคณะกรรมการจัดท�ำโครงการเพื่อจัดตั้งคณะเทคโนโลยี อุตสาหกรรมและวิศวกรรมศาสตร์ ในภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2544 เสนอโครงการต่อสภากรรมการวชิ าการ และ สภาประจ�ำสถาบัน ซ่งึ ไดร้ ับอนุมตั ใิ ห้ด�ำเนินการโครงการจดั ตัง้ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรมในปีการศึกษา 2545 พ.ศ. 2545 สถาบันราชภฏั นครราชสีมา มีคำ� ส่งั ท่ี 371/2545 แตง่ ตง้ั คณะกรรมการเตรียมการโครงการ จัดต้ังคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพ่ือเตรียมความพร้อมก่อนท�ำการเปิดสอนในปีการศึกษา 2545 และมีค�ำส่ังที่ 1033/2545 แต่งต้ังคณะกรรมการด�ำเนินการโครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เพื่อด�ำเนินการใน ปีการศึกษา 2545 มี 6 โปรแกรมวิชาคือ โปรแกรมวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ก่อสร้าง) โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม (เซรามิกส)์ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม (อิเล็กทรอนิกส์ และโทรคมนาคม) โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม (ออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม) และ โปรแกรมวิชา เทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม (สถาปัตยกรรม) พ.ศ. 2547 มีการปรับปรุงกฎหมายว่าด้วยสถาบันราชภัฏ โดยประกาศใช้พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ราชภฏั พ.ศ. 2547 พ.ศ. 2548 มปี ระกาศกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จดั ตง้ั สว่ นราชการในมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า และ ยกฐานะโครงการจดั ตง้ั คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เปน็ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม เปดิ สอนระดบั อนปุ รญิ ญา และ ระดับปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสโ์ ทรคมนาคม สถาปัตยกรรม กอ่ สรา้ ง เซรามิกส์ และออกแบบ ผลติ ภณั ฑ์อตุ สาหกรรม พ.ศ. 2552 คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม มกี ารบรหิ ารงานรูปแบบโปรแกรมวชิ าโดยแบ่งเปน็ 4 โปรแกรม วชิ า คอื โปรแกรมวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคมโปรแกรมวชิ าเทคโนโลยกี อ่ สรา้ ง โปรแกรมวชิ าการ จัดการอุตสาหกรรม และโปรแกรมวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม และ 3 โครงการหลักสูตร คือ หลักสูตร สถาปัตยกรรม หลกั สูตรอตุ สาหกรรมศึกษา และหลักสูตรเทคโนโลยีเซรามิกส์ พ.ศ. 2554 เปิดรับนักศึกษาหลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม 86 คู่มอื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
พ.ศ. 2555 เปิดรบั นกั ศึกษาหลักสตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศึกษา พ.ศ. 2557 เปดิ รบั นกั ศกึ ษาหลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ซรามกิ ส์ พ.ศ. 2558 คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมมีการบริหารงานรูปแบบโปรแกรมวชิ า จ�ำนวน 7 โปรแกรมวชิ า ได้แก่ โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง โปรแกรมวิชา เทคโนโลยเี ซรามกิ ส์ โปรแกรมวชิ าการจดั การอตุ สาหกรรม โปรแกรมวชิ าออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม โปรแกรม วิชาสถาปตั ยกรรม และโปรแกรมวชิ าอุตสาหกรรมศกึ ษา และเปดิ รับนักศกึ ษาจำ� นวน 10 หลักสูตร พ.ศ. 2559 คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรมมีการบรหิ ารงานรูปแบบหลกั สูตร มีหลักสูตรท่เี ปิดสอน จ�ำนวน 9 หลกั สตู ร ไดแ้ ก่ หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ จำ� นวน 7 สาขาวิชา ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าเทคโนโลยีกอ่ สร้าง (4 ปี) สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรม (4 ปี) สาขาวชิ าการจัดการอุตสาหกรรม (ต่อเนือ่ ง) สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ซรามกิ ส์ (4 ป)ี สาขาวชิ าออกแบบผลติ ภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม 4 ปี สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม (4 ป)ี และ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม (ตอ่ เนอื่ ง) หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ จำ� นวน 1 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมศกึ ษา และหลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบณั ฑติ จำ� นวน 1 สาขาวชิ า สาขาวชิ าสถาปตั ยกรรม พ.ศ. 2560 หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการจดั การอตุ สาหกรรม มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู ร และเปิดรบั นักศกึ ษาในหลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมการจดั การอตุ สาหกรรม พ.ศ. 2561 หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยเี ซรามกิ ส์ มกี ารปรบั ปรงุ หลกั สตู รและ เปิดรบั นกั ศึกษาในหลักสตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ านวตั กรรมเซรามกิ ส์ พ.ศ. 2562 คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ไดป้ รบั ปรงุ เปลยี่ นแปลงหลกั สตู ร จำ� นวน 3 หลกั สตู ร คอื หลกั สตู ร อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง (4 ปี) ปรับปรุงหลักสูตรเป็น หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร บณั ฑติ สาขาวชิ าวศิ วกรรมการกอ่ สรา้ ง หลกั สตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละ โทรคมนาคม (4 ป)ี ปรับปรงุ หลกั สูตรเป็น หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาวศิ วกรรมไฟฟ้าอตุ สาหกรรม และ หลกั สตู รครศุ าสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าอตุ สาหกรรมศกึ ษา ปรบั ปรงุ หลกั สตู รเปน็ หลกั สตู รครศุ าสตรอตุ สาหกรรม บัณฑิต สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ ค่มู ือนกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า 87
ปรชั ญา แหลง่ ความร้ทู างวชิ าชีพและวชิ าการ ผสานเทคโนโลยคี คู่ ณุ ธรรม นำ� สชู่ ุมชน วสิ ยั ทัศน ์ มงุ่ ผลติ บณั ฑติ ดา้ นเทคโนโลยแี ละการออกแบบ สมู่ าตรฐานวชิ าชพี และบรกิ ารวชิ าการเพอ่ื พฒั นา ท้องถน่ิ พันธกิจ 1) ผลิตบัณฑิตด้านเทคโนโลยีและการออกแบบสู่มาตรฐานวชิ าชีพท่มี คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม 2) ผลติ ครทู ี่มคี วามเชย่ี วชาญทางดา้ นอุตสาหกรรม 3) วิจยั สรา้ งองคค์ วามรู้ พัฒนาเทคโนโลยี และสง่ิ ประดษิ ฐ์ บนพื้นฐานของภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ และสากล 4) เป็นแหลง่ บรกิ ารวิชาการและถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ูท่ ้องถนิ่ 5) สง่ เสริมการอนุรกั ษ์ศลิ ปะและวัฒนธรรม 6) บรหิ ารจัดการภายใต้การกำ� กับดแู ลกิจการท่ดี ี สีประจำ� คณะ สีเปลอื กมังคุด ตราสญั ลักษณ์ประจำ� คณะ คณุ ลักษณะบัณฑิตทพ่ี ึงประสงค์ของคณะ มีความรู้และคุณธรรมท่ีเป็นสากล มีทักษะทางวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต มีความสามารถทางภาษา ตา่ งประเทศและเทคโนโลยสี ารสนเทศในระดบั ทใี่ ชง้ านได้ 88 คมู่ อื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ผบู้ ริหารคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม ดร.ดวงธดิ า โคตรโยธา คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม อาจารยร์ ัฐพล เขม็ ทอง ดร.วรุทยั เดชตานนท์ อาจารยแ์ สงเพช็ ร งอนชัยภูมิ รองคณบดีฝา่ ยบริหารและแผนงาน รองคณบดีฝ่ายวชิ าการและวเิ ทศสัมพันธ์ รองคณบดฝี า่ ยพัฒนานกั ศกึ ษาและบรกิ ารชมุ ชน ดร.ปรัชญ์ บญุ แซม ผศ.ธรี พันธ์ุ สุทธิเทพ ดร.อ่อนลมี กมลอินทร์ อาจารยศ์ ราวฒุ ิ ใจอดทน นางศิรวิ รรณ อนิ ทเศยี ร ผชู้ ่วยคณบดีฝา่ ยะประกันคณุ ภาพการศึกษา ผชู้ ว่ ยคณบดีฝา่ ยบรหิ าร ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยวิเคราะหแ์ ผน ผู้ชว่ ยคณบดฝี ่ายบริหารชุมชน หวั หนา้ สำ� นกั งานคณบดี และพฒั นางานวิจยั คู่มอื นักศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 89
ประธานหลกั สูตร ผศ.ดร.อรอนงค์ แสงผอ่ ง ผศ.ชน ย่ีนาง ผศ.ดร.พงษน์ รนิ ทร์ ศรพี ลอย หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบณั ฑติ หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมกอ่ สร้าง สาขาวชิ านวตั กรรมเซรามิกส์ สาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟา้ อตุ สาหกรรม อาจารยป์ ราณี เท่ากลาง ผศ.อนชุ ติ คงฤทิ ธ์ิ หลักสตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบัณฑติ หลักสตู รอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาออกแบบผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม สาขาวิชาการจดั การอุตสาหกรรม (ตอ่ เนอ่ื ง) ผศ.สุวพชั ร คดั จนั ทึก ดร.สโุ อปอ หิรญั จริ ชีพ อาจารย์เสรี เสือกระสัง ผศ.ดร.การุณย์ ศุภมิตรโยธิน หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑติ หลกั สตู รครศุ าสตร์ศลิ ปอตุ สาหกรรมบณั ฑิต หลักสูตรวศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ หลักสูตรสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ สาขาวิชาวิศวกรรมการจดั การอุตสาหกรรม สาขาวิชาสถาปัตยกรรม (ต่อเนือ่ ง) 90 คมู่ ือนักศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
สาขาวชิ าท่เี ปดิ สอน 1.ระดับปรญิ ญาตรี หลักสตู รครศุ าสตรอุตสาหกรรมบณั ฑิต 1. สาขาวชิ าอุตสาหกรรมศลิ ป์ หลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวชิ าวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม 2. สาขาวิชาวศิ วกรรมกอ่ สร้าง 3. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าอตุ สาหกรรม หลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑติ 1. สาขาวิชาสถาปัตยกรรม หลกั สูตรอตุ สาหกรรมศาสตรบณั ฑติ 1. สาขาวิชานวตั กรรมเซรามิกส์ 2. สาขาวชิ าออกแบบผลติ ภัณฑอ์ ตุ สาหกรรม 3. สาขาวิชาการจัดการอตุ สาหกรรม (ตอ่ เนื่อง) 4. สาขาวชิ าเทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม (ตอ่ เนอ่ื ง) งานท่ีใหบ้ รกิ าร 1) หน่วยบรกิ ารส่ือการสอน 2) หน่วยบรกิ ารวิชาการชมุ ชน 3) หน่วยฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพและสหกจิ ศึกษา 4) หน่วยกจิ การนกั ศกึ ษา 5) หน่วยทดสอบวัสดกุ อ่ สร้างโยธา 6) หนว่ ยวิชาการเซรามกิ ส์ 7) หนว่ ยฝึกอบรม ค่มู อื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 91
ภาพถา่ ยอาคาร/ส�ำนักงาน สถานทตี่ ัง้ อาคาร 29 ชั้น 2 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา หมายเลขโทรศพั ท ์ 044-255-451-52 หมายเลขภายใน 2900, 2920-24 โทรสาร 044-255-451 เว็บไซต์ www.nrru-techno.com/ 92 คู่มือนักศึกษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
หนว่ ยงานสนบั สนนุ
สำ� นักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบียน www.apro.nrru.ac.th/
ประวัติ ส�ำนักส่งเสริมวิชาการจัดตั้งขึ้นตามมาตรา 7(3) แห่งพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2527 แบ่งสว่ นราชการเป็น 6 ฝ่าย ไดแ้ ก่ 1. ฝา่ ยเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยทะเบยี นและวัดผล 3. ฝา่ ยหลกั สูตรและแผนการเรยี น 4. ฝ่ายหอสมุด 5. ฝา่ ยเทคโนโลยีทางการศกึ ษา 6. ฝ่ายเอกสารตำ� รา เม่ือมีพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 ส�ำนักส่งเสริมวิชาการมีการแบ่งส่วนราชการภายใน ออกเป็น 3 หนว่ ยงาน ได้แก่ 1. ฝ่ายเลขานุการ 2. ฝา่ ยทะเบียนและวดั ผล 3. ฝ่ายหลักสูตรและแผนการเรยี น ในปี พ.ศ. 2542 ไดม้ กี ารจดั การเรยี นการสอนวชิ าพนื้ ฐานรปู แบบใหม่ โดยจดั ใหม้ รี ายวชิ าตามหลกั สตู รหมวด วิชาการศึกษาทว่ั ไปแทนวชิ าพ้นื ฐานและใหส้ �ำนักส่งเสรมิ วิชาการเป็นผู้รบั ผิดชอบ ปี พ.ศ. 2544 มกี ารปรบั เปลย่ี นการแบง่ สว่ นราชการภายในสำ� นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น โดยเพม่ิ ฝ่ายการศึกษาทวั่ ไป และแยกฝ่ายทะเบียนและวัดผลออกเปน็ ฝ่ายทะเบียนนกั ศกึ ษา และฝา่ ยประมวลผล ปี พ.ศ. 2546 สำ� นกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี นไดจ้ ดั ตง้ั ฝา่ ยพฒั นาและสง่ เสรมิ วชิ าการขน้ึ อกี 1 หนว่ ยงาน เพ่อื ดแู ลงานดา้ นศนู ยบ์ รกิ ารการศกึ ษาและการประกนั คณุ ภาพของสำ� นักฯ ดังนนั้ ในปี พ.ศ. 2546 ส�ำนักสง่ เสริมวิชาการจงึ มกี ารแบ่งสว่ นราชการออกเปน็ 6 ฝ่าย ดังนี้ 1. ฝ่ายเลขานกุ าร 2. ฝา่ ยทะเบียนนักศกึ ษา 3. ฝา่ ยหลักสตู รและแผนการเรยี น 4. ฝ่ายประมวลผล 5. ฝา่ ยวิชาการศกึ ษาท่วั ไป 6. ฝ่ายพัฒนาและส่งเสริมวิชาการ คมู่ ือนกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 95
การแบง่ ส่วนราชการภายในส�ำนักสง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น ตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการ มีเพียงหน่วยงานเดียว ได้แก่ ส�ำนักงานผู้อ�ำนวยการ แต่เพ่ือให้การบริหารจัดการและปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จึงได้จัดตั้งหน่วยงานภายในของส�ำนักส่งเสริมวิชาการและงาน ทะเบียนข้นึ เพอื่ รองรับการปฏบิ ัติงานกล ปจั จบุ ัน สำ� นักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบียน มีการแบง่ ส่วนราชการภายในเป็น 3 หน่วยงาน ดงั นี้ 1. ส�ำนักงานผู้อ�ำนวยการ 2. กลุ่มงานทะเบียน 3. กลุ่มงานสง่ เสริมวิชาการ ปรัชญา มาตรฐานวิชาการ บริการดว้ ยใจ ทนั สมัยด้วยเทคโนโลยี วสิ ัยทัศน์ ส่งเสริมหลักสูตรสู่ความเป็นเลิศ สร้างเสริมบริการการศึกษาท่ีประทับใจ โดยใช้นวัตกรรม ดจิ ทิ ลั ท่ีทันสมยั พนั ธกจิ 1. กำ� กบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ หลกั สตู รใหม้ มี าตรฐานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อดุ มศกึ ษา แห่งชาติ มมี าตรฐานหลักสูตร มาตรฐานวิชาชพี และครอบคลุมนโยบายของมหาวทิ ยาลยั รวมถงึ นโยบายของภาครัฐ 2. พฒั นาระบบ กลไก และวธิ กี ารใหบ้ รกิ ารการศกึ ษาทมี่ มี าตรฐาน ทงั้ ในดา้ นการจดั การศกึ ษางานทะเบยี น และการวดั ผลทางการศกึ ษา 3. สร้างเสรมิ การการใช้เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั ในการขบั เคลอื่ นระบบ กลไก และวิธีการ ให้ด�ำเนนิ งานได้อยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ ประสทิ ธผิ ลและประทบั ใจผู้รับบริการ 4. เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรขู้ องบคุ ลากร โดยการแลกเปลย่ี นประสบการณ์ ความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาการ ท�ำงานอย่างต่อเนอ่ื ง 5. ปฏิบัติภารกจิ ตามท่ีมหาวิทยาลยั มอบหมายอยา่ งเครง่ ครัด โดยคำ� นึงถงึ ประโยชน์และความคุ้มค่าในการ ใชท้ รพั ยากรเปน็ สงู สดุ 96 คูม่ ือนักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ผบู้ รหิ ารสำ� นกั สง่ เสริมวิชาการและงานทะเบียน ผศ.ดร.แสงเพช็ ร พระฉาย ผู้อ�ำนวยการสำ� นักส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น ดร.จินตนา โตง้ สงู เนนิ อาจารยก์ ฤตกิ า เผอ่ื นงูเหลือม ผศ.ศรายุทธ เนียนกระโทก รองผูอ้ �ำนวยการ รองผู้อ�ำนวยการ รองผู้อ�ำนวยการ ฝา่ ยพฒั นาส�ำนกั งาน ฝ่ายหลักสตู รและแผนการเรยี น ฝ่ายเทคโนโลยสี ารสนเทศ นายสมพงษ์ อนิ ทรพ์ งษ์ 97 ผชู้ ว่ ยผ้อู �ำนวยการ ฝ่ายทะเบยี นและวัดผล คูม่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
งานที่ให้บรกิ ารนกั ศึกษา 1. การรับและรายงานตัวนกั ศึกษาใหม่ 2. การใหค้ ำ� ปรกึ ษาดา้ นการลงทะเบยี นเรยี น 3. การยนื่ ค�ำรอ้ งตา่ งๆ ได้แก่ - คร.1 คำ� ร้องทวั่ ไป - คร.2 คำ� ร้องขอใบรายงานผลการศกึ ษา (ยื่นค�ำรอ้ งออนไลน์) - คร.3 คำ� ร้องขอลาพกั การเรียน - คร.4 ค�ำร้องขอลาออก - คร.5 ค�ำรอ้ งแก้ I - คร.6 ค�ำรอ้ งขอสอบปลายภาค(แก้ M) - คร.7 คำ� ร้องขอเปดิ สอนกรณีพเิ ศษ (ขอรับไดท้ ่ีงานทะเบยี นเท่านัน้ ) - คร.8 คำ� รอ้ งขอยกเลกิ รายวชิ า (ย่ืนค�ำร้องออนไลน)์ - คร.9 ค�ำรอ้ งขอย้ายสถานศึกษา - คร.10 ขอถอนรายวิชา (ส�ำหรบั นกั ศกึ ษาท่เี ทยี บโอนรายวชิ าได)้ - คร.11 คำ� รอ้ งขอยา้ ยโอนหลกั สูตรหรือสาขาวชิ า (ขอรับไดท้ ่งี านทะเบยี นเทา่ น้นั ) - คร.12 ค�ำร้องขอเรยี นรว่ ม (ย่ืนคำ� รอ้ งออนไลน์) - คร.13 ค�ำรอ้ งขอยกเว้นหมวดวิชาศึกษาทวั่ ไป (ทกุ สถานศกึ ษา) - คร.16 คำ� รอ้ งขอเทยี บและเปลี่ยนรหัสวชิ า - คร.17 ค�ำร้องขอทำ� บัตรประจ�ำตวั นกั ศกึ ษา - คร.18 คำ� รอ้ งขอเรยี นเกินหนว่ ยกิตท่ีกำ� หนด (ขอรับได้ท่งี านทะเบียนเท่านน้ั ) - คร.19 คำ� รอ้ งขอหนังสอื รับรอง (ย่นื คำ� ร้องออนไลน์) - คร.20 ค�ำร้องขอเทยี บโอนผลการเรยี น - คร.24 คำ� รอ้ งขอยืนยันการลงทะเบยี นชา้ กว่าก�ำหนด - คร.25 ค�ำร้องขอเทยี บโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ 98 คู่มือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312